You are on page 1of 2

เล่าเร่ ืองจากโรงเรียน (หนังสือพิมพ์เนชัน่สุดสัปดาห์/1 พฤษภาคม 2552)

สุกัญญา หาญตระกูล yakansu2003@yahoo.co.uk

ภาษาไทย เป็ น ‘วิชาชีพ’ หรือ ‘วิชาการ’?


ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรัง่เศส ภาษาเยอรมัน ภาษาจีน ภาษาญ่ป ี ่ ุน
ภาษาบาลี ภาษาอาหรับ มีอยู่ในการสอบความถนัดทางวิชาชีพ (แพท) อัน
เป็ นองค์ประกอบหน่ ึงในการเข้าเรียนมหาวิทยาลัย
แต่เหตุใดสำาหรับภาษาไทย เม่ ือมีข้อเสนอว่าควรจะจัดสอบในกลุ่ม
การสอบความถนัดทางวิชาชีพ (แพท) ด้วย จึงมีเสียงคัดค้านว่าจะจัดสอบใน
กลุ่มการสอบความถนัดทางวิชาชีพ (แพท) ไม่ได้ เพราะเน้ือในของวิชา
ภาษาไทย เก่ียวข้องกับวิชาการเป็ นหลัก
ในขณะท่ีการสอบความถนัดทางวิชาชีพ (แพท) ต้องการคัดคนให้
เหมาะกับวิชาชีพ?
อนิจจา คงไม่ถึงกับต้องเป็ นนักวิชาการอะไรกระมังท่ีจะรู้ว่าไม่ใช่แค่
เป็ นคนไทยพูดอ่านเขียนไทยได้ทัว่ไปทุกคนจะทำาอาชีพด้านภาษาไทยได้และ
ดี เช่น ไปเป็ นครูสอนภาษาไทยให้คนไทย ครูสอนภาษาไทยให้ชาวต่าง
ประเทศ นักแปล ล่าม นักเขียน นักวิจัย ค้นคว้าทางภาษาไทยฯ
เช่นเดียวกัน ใช่วา่ ชาวอังกฤษพูดอ่านเขียนอังกฤษได้ทัว่ไปทุกคน
จะมาทำาอาชีพด้านภาษาดังกล่าวได้และดีโดยปราศจากความรูด ้ ้าน ‘วิชาการ’
ในระดับอุดมศึกษาเป็ นพ้ืนฐาน หรือมิฉะนัน ้ อย่างน้อยก็ต้องมีประสบการณ์
ในวิชาชีพด้านนัน ้ อย่างมากๆ จนเป็ นท่ียอมรับของทาง ‘วิชาการ’ ภาษา
นัน้ ๆ
‘วิชาชีพ’ หรือ ‘วิชาการ’ จึงเป็ นสองด้านของเหรียญเดียวกัน ไม่
ต้องไปถามหรือเถียงนักวิชาการทางภาษาหรอก ความถนัดทางวิชาชีพภาษา
ไทย มีอยู่แน่ๆ เช่นเดียวกับภาษาอ่ ืนๆ จึงควรต้องจัดภาษาไทยให้มีอยู่ใน
ขอบข่ายการสอบความถนัดทางวิชาชีพ (แพท) ด้วย
หากไม่มี หรือมีไม่ได้ ก็สรุปได้เลยว่านอกจากวิกฤติทางการเมืองท่ี
เราต้องหาทางออกร่วมกันอย่างเร่งด่วนในขณะนี เ้รายังมีวิกฤติภาษาไทย
อันคุกรุ่นสะสมมานานไม่แพ้วิกฤติทางการเมือง ซ่ ึงเป็ นทัง้วิกฤติระดับ
สถาบันทางการเมือง และวิกฤติระดับความรู้ทางการเมือง (political
literacy) ของพลเมือง
กล่าวคือ อันทักษะภาษาไทยท่ีอ่านเข้าใจ ตอบคำาถามถูก เขียนย่อ
ความและเขียนข้อความท่ีต้องการส่ ือสารด้วยการเขียนได้ในระดับหน่ ึง
(Thai language literacy) ตามมาตรฐานช่วงชัน ้ นัน
้ ถือเป็ นทักษะ
ทัว่ไป จัดว่าเป็ นทักษะชีวิตขัน้ ต่ำาท่ีจำาเป็ นสำาหรับการดำารงชีวิตอย่างมี
คุณภาพ ซ่ ึงน่าจะอยู่ในกรอบของการสอบมาตรฐานช่วงชัน ้ หรือการสอบ
เอ็นที หรือโอเน็ต กล่าวคือถึงจะไม่เรียนต่อขัน ้ อุดมศึกษา ทักษะภาษาไทย
ระดับนีก้ ต็ ้องได้ตามมาตรฐานช่วงชัน ้ อยู่แล้ว ทักษะภาษาไทยระดับนีก ้ ต็ ้อง

2
ได้ตามมาตรฐานช่วงชัน ้ อยู่แล้ว ทักษะภาษาไทยระดับนีไ้ม่ควรจะใช่
มาตรฐานในการสอบ แพท หรือ แกท แต่อย่างใด
แต่หากจะศึกษาถึงขัน ้ อุดมศึกษา ความสามารถหรือทักษะด้าน
ภาษาไทยนีจ้ะต้องถึงขัน ้ ก้าวหน้า (advanced) แล้วพอสมควรคือไม่เพียง
อ่านเข้าใจ ตอบคำาถามส่ิงท่ีอ่านด้วยการเขียนได้
แต่ต้องมีทักษะการเขียนอธิบาย การเขียนโต้แย้ง การเขียนสนับสนุน การ
เขียนโน้มน้าวอ่ ืนๆ ได้อก ี คือหากสามารถคิด สามารถวิเคราะห์ ในหัวสมอง
และด้วยการพูดแล้วยังไม่พอ จะต้องมีทักษะในทางเขียนออกมาเป็ นภาษา
ไทยให้ได้ด้วยจึงจะสมกับการเรียนถึงขัน ้ อุดมศึกษา ซ่ ึงมาตรฐานทักษะ
ภาษาไทยระดับก้าวหน้านีน ้ า่ จะเป็ นมาตรฐานของการสอบความถนัดทัว่ไป (
แกท) เพราะว่าไม่ว่าจะในวิชาไหน ระดับอุดมศึกษา ย่อมจะต้องใช้ทก ั ษะการ
เขียนโดยเฉพาะในวิชาสังคมศึกษา วรรณคดี ส่ อ ื สารมวลชน การศึกษาฯ แม้
ในวิชาทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ก็ไม่ใช่ว่าจะไม่ใช้ทักษะภาษาเสียเลย
ก็ยังต้องใช้ทักษะภาษาไทยขัน ้ ก้าวหน้าด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะหากจะเน้น
การแก้โจทย์การแก้ปัญหา (problem solving)
ตลอดเวลาท่ีผ่านมา การท่ีอาจารย์มหาวิทยาลัยวิชาสังคมศาสตร์
วรรณคดี ฯลฯ ‘บ่น’ มากเร่ ืองนักศึกษา ‘อ่อน’ ภาษาไทยมากโดยเฉพาะ
ภาษาเขียน กล่าวคือ ให้เขียนภาษาไทยแบบบรรยาย
ก็เขียนไม่ดี ปะติดปะต่อไม่ค่อยได้ ย่ิงให้เขียนแบบโต้แย้งหรือเขียนโน้มน้าว
ก็จะย่ิงเขียนไม่ได้เข้าไปใหญ่ เช่นนี จ้ะนับว่าการสอบความถนัดทัว่ไป(แกท)
วิชาภาษาไทยคัดนักเรียนเข้าเรียนอุดมศึกษาของ สทศ.
ไร้ประสิทธิภาพได้หรือไม่ เพราะคัดนักเรียนได้ไม่ตรงสเปคแบบเดียวกับท่ี
อาจารย์มหาวิทยาลัย
ด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์กไ็ ด้เคย ‘บ่น’ เสียงดังมาก่อนท่ีจะมีการ
วิจัยหาเหตุผล
ย่ิงการสอบความถนัดทัว่ไปภาษาไทย ของแกทขณะนี ม ้ ักมีแต่
ข้อสอบปรนัย และถึงแม้จะมีข้อสอบอัตนัยท่ีต้องอ่าน แต่ก็ตอบแบบปรนัย
อยู่ดีนัน
้ เล่า จะถือว่าเป็ นข้อสอบท่ีวัดมาตรฐานความรู้และทักษะภาษาไทย
ขัน
้ ก้าวหน้า ได้หรือ?
ย่ิงจะมาแก้ปัญหาภาษาไทยแต่ในขอบข่ายของแพท และแกทก็
เป็ นการแก้ไขปั ญหาตรงปลายน้ำา จะกรองหรือกักอย่างไรตรงปลายน้ำาก็ช่วย
คุณภาพน้ำาได้เพียงเล็กน้อย โดยท่ีความเสียหายใหญ่อยู่ท่ีน้ำาซ่ ึงขุ่นมาตัง้แต่
ต้นน้ำานัน่ ต่างหาก และนัน ่ แหล่ะคือฝั นร้ายท่ีสุดของเรา ท่ีหากเด็กไทยอ่อน
ภาษาไทย ปั ญหาไม่ได้อยู่ท่ีเฉพาะข้อสอบและการสอบใดๆ เพียงโดดๆ แต่
ทว่า ลึกย่ิงกว่านัน้ คือหลักสูตรและการเรียนการสอนภาษาไทยทุกช่วงชัน ้
นัน่ แหล่ะท่ี ‘อ่อน’ เสียจนสับสนกันไปหมด
แม้ในระดับสถาบัน (ภาษาไทย) และโตๆ ด้วยกัน ก็คงยังจะต้อง
ปรับคล่ ืนกันเสียเหน่ ือย กว่าจะพูดกันรู้เร่ ือง

You might also like