You are on page 1of 29

Page |1

ความเคลื่อนไหวในแวดวง Web2.0 ในป 2008 และแนวโนมบริการ Web2.0 ในป 2009


โดย วรวิสุทธิ์ ภิญโญยาง และ พัฐวร ผองแผว

สรุปความเคลื่อนไหวของแวดวง Web2.0 ในรอบป 2008


ในรอบป 2008 ที่ผานมา มีบริการ Web2.0 ตางๆ เกิดขึ้นอยางมากมาย ซึ่งวัตถุประสงคของบริการ
เหลานี้ มีทั้งความตองการสราง “New Media” หรือ สื่อใหมเพื่อใชในการสื่อสารการตลาด เชน Blog และ
Social Networking หรือแมแตบริการที่ทําออกมาเพื่อชวยใหการใชงานอินเตอรเน็ตในแตละวัน มีความสะดวก
และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เชน การเก็บรูปถายออนไลน การแกไขเอกสาร Presentation ออนไลน เปนตน
บริการเหลานี้ ลวนมีอิทธิพลตอการใชชีวิตของคนเราในแตละวัน ไมวาจะเปนการอาน การเขียน การ
เขาสังคมกับเพื่อนฝูงทางออนไลน ทําใหในแตละวัน เรามีแนวโนมที่จะใชอินเตอรเน็ตนานมากขึ้น
ลองมาดูกันครับ วาความเคลื่อนไหวของโลกออนไลนในยุค Web2.0 ทั้งป 2008 ที่ผานไป และป 2009
ที่กําลังจะเกิดขึ้น มาอะไรบาง
“New Media” และ “Social Media”
New Media หรือ "สื่อใหม" เริ่มมาอยูในกระแสนิยมหลัก ทั้งของบรรดาบริษัทเจาของผลิตภัณฑ หรือ
แมแตบรรดา Media Agency ทั้งหลาย วัดไดจากการทุมงบโฆษณา การเพิ่มของรูปแบบธุรกิจใหมๆที่เกิดขึ้น
และแมแตองคกรที่ไมแสวงหากําไรตางๆก็เลือกที่จะใชNew Media เปนเครื่องมือในการโฆษณา
ประชาสัมพันธมากยิ่งขึ้น
เมื่อมองไปทีส่ ภาพเศรษฐกิจในปที่ผานมา ปจจัยการใชงบประมาณดานการสื่อสารการตลาด ไดถูก
จัดสรรคอนขางรัดกุมมากขึ้น โดยการใชสื่อวิทยุ โทรทัศน ที่มีคาใชจายสูงมักจะถูกพิจารณาตัดงบประมาณ
เปนตัวเลือกแรกๆ แมแตสื่อตามสถานที่สาธารณะตางๆ(Outdoor Media) เชน หางสรรพสินคา โรงหนัง ฯลฯ
ก็ทําใหผูบริโภคที่ไมไดเปนกลุมเปาหมายอาจจะเกิดความรูสกึ วาโดนยัดเยียดมากเกินไป ก็ทําใหเกิดกระแส
ตอตานขึ้นมาได
การเขาถึงกลุมเปาหมายวงกวางดวยวิธีการใชสื่ออินเตอรเน็ตดวยวิธีดั้งเดิมนั้น จะใชรูปแบบการลง
โฆษณาบนแบนเนอรของเว็บไซตชื่อดังแลวรอใหโฆษณาผานตาผูเยี่ยมชมเว็บไซต
แนนอนวาตําแหนงของแบนเนอรที่เจาของเว็บไซตคิดวาวางอยูในตําแหนงที่เดนชัดที่สุดแลวนั้นมี
จํากัด ทําใหตองเลือกใชวิธีการ “สุม” เปลี่ยนเนื้อหาโฆษณาไปเรื่อยๆ หากมีจํานวนโฆษณารอคิวเพื่อ
แสดงผลบนแบนเนอรนั้นมากก็ไมอาจรับประกันวาจะผานสายตาผูชม และเขาถึงกลุมเปาหมายในมากนอย
เพียงใด

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 1


Page |2

แตในยุคของ New Media นักการตลาดสามารถเลือกวิธีการที่เปน Consumer-Oriented ที่


หลากหลายมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะเมื่อทราบถึงขอมูลเบื้องตนของกลุมเปาหมาย ก็สามารถเจาะลึกไปถึงใน
ระดับบุคคล เชน เพศ อายุ ไลฟสไตล และเลือกยิงโฆษณาที่เกียวของไปยังหนาเว็บไซตทกลุ
ี่ มเปาหมายเขา
มาใชประจําได
อยางไรก็ตาม จุดออนจุดหนึ่งของการเลือกใช New Media เปนเครื่องมือดานสื่อ ก็คือ จํานวนผูใช
อินเตอรเน็ตในประเทศไทยยังมีอยูเพียง 15.5% จากจํานวนประชากรทั้งหมด (ขอมูลสํานักงานสถิติแหงชาติ
ป 2550) ทําใหการเขาถึงกลุมเปาหมายยังคงมีอยางจํากัด

(Yankee Group Research บริษัทชั้นนําเกี่ยวกับการใหคําปรึกษาดานIT/Technology ไดพยากรณแนวโนมมูลคาตลาดโฆษณา


ออนไลนในสหรัฐอเมริกาไววามูลคาอาจสูงถึง 205,800 ลานเหรียญสหรัฐฯในป 2011 )

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 2


Page |3

“Social Media” จาก Blog สู Microblogging


เนื่องจากความตองการในการใชสื่อออนไลนที่เพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนือ่ ง ทําใหบริษัทตางๆ ที่ทําธุรกิจ
Web2.0 พยายามสรางสรรคบริการใหมๆ เพื่อนําเสนอเปนอีกชองทางหนึ่งของ New Media ในการหารายได
จากคาโฆษณาออนไลนอันมีมูลคามหาศาลในปจจุบัน
หนึ่งใน New Media ที่ถือเปนกุญแจสําคัญของโลกออนไลนในปจจุบัน คือ Weblog หรือเรียกสั้นๆวา
Blog
ปจจุบัน Blog ไดกลายเปนชองทางหนึ่งที่ผูใชอินเตอรเน็ตมักจะใชในการสื่อความคิด ความเห็นตางๆ
ของตัวเอง ใหคนอื่นรับรู และทําใหเกิดการแลกเปลี่ยนความรู (Knowledge Exchange) ขึ้นระหวางผูใช
อินเตอรเน็ตดวยกัน
จากมุมมองที่สะทอนความคิด ความเห็นจากผูคนที่หลากหลายในสังคมออนไลน ทําให Blog ไดรับคํา
จํากัดความอีกคําหนึ่งวา “Social Media”
เมื่อขอจํากัดดานสรางเว็บไซตสวนตัวลดนอยลง เนื่องมาจากผูใหบริการ Blog รายใหญๆ ไมวาจะเปน
Blogger.com, WordPress.com หรือแมแต Exteen.com ของคนไทย ไดสรางระบบที่งา ยสําหรับผูใ ชในการ
สราง Blog สวนตัว ทําใหจํานวน Blog เพิ่มสูงขึ้นเปนอยางมาก จนกลายเปน Social Media อีกอันที่นาจับตา
มอง

Blog ไหนที่มีคนติดตามอานเปนจํานวนมากจนเรียกไดวา Blog นั้นไดกลายเปน "New Influencer"


หรือ ผูทรงอิทธิพลทางความคิด ซึ่งขอเขียนของ Blogger คนนั้น มีอิทธิพลในการโนมนาวผูอานใหเห็นคลอย
ตามได
ตัวอยางเชน Blog ของนาย Walt Mossberg (http://walt.allthingsd.com) คอลัมนิสตขาวไอทีของ
Wall Street Journal ที่ไดกลายเปนสัญลักษณของการรีวิว Gadget หรือ แอพลิเคชั่นที่ออกใหมตางๆ หรือ
Blog ของนาย Michael Arrington (http://www.techcrunch.com) ซึ่งหนึ่งในผูทรงอิทธิพลในแวดวง
Web2.0 เปนอยางมาก เนื่องจาก Blog นี้ จะเปนการเขียนวิจารณเว็บและบริการ Web2.0 ใหมๆ
เมือ่ พิจารณาถึงหลักสือ่ สารการตลาด อาจจะเรียกไดวา ความคิดเห็นของ Blogger ผูทรงอิทธิพล เปน
รูปแบบหนึง่ ของ Personal Selling ที่อาศัยความผูกพันกับผูอานทางความคิดเห็น และเปน Testimonial
Marketing ที่อาศัยการนําประสบการณการใชงานจริงมาแนะนําตอ
Blog จึงเปนหนึ่งใน Communication Channel หนึ่งที่ผูใช Media นาจะใหน้ําหนักความสําคัญมาก
ยิ่งขึ้น

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 3


Page |4

Microblogging กับการกําเนิดของสื่อพลเมือง
ในป 2008 ที่ผานมา นอกเหนือจาก Blog แลว “Social Media” อีกประเภทหนึ่งทีเ่ ริ่มไดรับความนิยม
อยางสูงก็คอื "Microblogging" หรือ การเขียน Blog ดวยขอความสั้นๆ เชน กําลังทําอะไร จะไปไหน หรือ
รายงานสภาพอากาศ รายงานสภาพการจราจรจากสถานที่ตางๆ ที่ผูเขียน “Microblogging” นั้นจะเขียน โดย
จะมีเพื่อนหรือคนที่รูจักคอยรับขอความอัพเดทตางๆที่ถูกสงเขามาและสามารถตอบกลับไปไดในทันที
คนหนึ่งคน อาจจะกลายเปนผูสงสารหาคนเปนจํานวนรอยคน พันคน หรือแมแตหมื่นคนไดในชั่วเวลา
คลิกเดียวและผูรบั สามารถนําขอความนั้นมาสงตอใหกับเพื่อนนับรอยนับพันของตัวเองไดอีก สรางตัวคูณทาง
ขาวสาร (Multiplier) ไดในเวลาที่รวดเร็ว
บริการ “Microblogging” ที่ดังที่สุดในปจจุบันมีชอื่ วา "Twitter " (www.twitter.com) ที่ประสบ
ความสําเร็จอยางมาก ดวยอัตราการเติบโตของเว็บกวา 753% ภายในระยะเวลาเพียงแค 1 ป
จากจํานวนผูใช วันละ 5 แสน จนถึงผูใชวันละเกือบๆ 5 ลานในปจจุบัน
(การเติบโตของ "Twitter.com" กวา 753% ในระยะเวลาเพียงแค 1

ป)
(Source : Stats from Compete.com Dec.2007 – Dec.2008)
ปรากฏการณ “Twitter” ไดสรางมิติใหมของสื่อ “New Media”หรือ “Social Media” นั่นคือ มิติดานความเร็วของ
ขอมูล และมิติดานกระแสสังคม
ขาวไฟไหมซานติกาผับ ถูกรายงานใน “Twitter” เร็วกวาสถานีโทรทัศนทุกชอง โดยคนที่มีเพื่อนอยูในเหตุการณนํา
ขาวนั้นมาโพสตเขาไปใน“Twitter”และถูกนําไปกระจายบอกตอกัน (Broadcast) อยางรวดเร็วในชั่วเวลาไมกี่นาที
กลายเปนวาผูใชอินเตอรเน็ตรวมกันเผยแพรและสรางเปนกระแสขึ้นมา ดวยความเร็ว (Speed) ที่สูงกวาสื่อเกา เชน
โทรทัศน และขอมูลทุกอยาง ถูกระดมโพสตเขาไปใน Twitter เพื่อชวยกันกระจายขาว

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 4


Page |5

Online Marketing Campaign ที่ประสบความสําเร็จที่สุดแหงป 2008 คือ “Obama Campaign”


§ หนา Fan Club ใน Facebook ของโอบามามีผูสนับสนุน จํานวนถึง 3 ลานคน (เทียบกับ John
Mccain 6 แสนคน)
§ ชอง VDO Clip ใน YouTube.com ของ Obama มีคนมาสมัครเปนสมาชิก 149,388 มี VDO
ทั้งหมด 1,823 คลิป และมีจํานวนครั้งที่เขามาชม 20,408,570 ครั้ง (เทียบกับ ชอง VDO Clip
ของ Oprah Winfrey ที่มีสมาชิก 50,175 คน จํานวน VDO ทั้งหมด 93 คลิป และจํานวนครั้งที่
เขาชม 2,046,097 ครั้ง)
จํานวนผูที่มาเปนเพื่อนกับ Obama ใน Twitter เพื่อติดตามความเคลื่อนไหวตางๆ มีสูงถึง 170,968
คน

Social Networking เครื่องมือการตลาดตัวใหมของนักการตลาด


อีกหนึง่ บริการทีไ่ ดรับความนิยมไมแพ Blog และ Microblogging คงหนีไมพนบริการออนไลนที่
เรียกวา "Social Networking" หรือ เครือขายสังคมออนไลน ที่บรรดาผูใชอินเตอรเน็ต ตางใชเพื่อกิจกรรมสังคม
ตางๆ ไมวาจะเปนหาเพื่อน หาคู และ ใชเปนเครื่องมือในการสื่อสารอีกอันหนึ่ง นอกจากการใชอีเมลและแชท
จากรายงานการวิจัยที่ชื่อวา "Digital World" ของ บริษัท ComScore พบวา บริการออนไลนที่เติบโต
มากที่สุด คือ บริการ "Social Networking" ที่มาแรงแซงหนาบริการออนไลนแบบเกาๆ อยาง "เว็บทา" (Portals)
อีเมล แชท หรือแมกระทั่งบริการคนหาขอมูล (Search Engine) โดยมีการเติบโตของตลาดโดยรวม กวา 60%
และดวย Penetration Rate ที่ต่ําเพียงกวา 30% จากผูใชอินเตอรเน็ตทั่วโลก ทําใหเห็นไดวา บริการ "Social
Networking" นี้ ยังมีศักยภาพในการเติบโตอยูมาก

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 5


Page |6

(กราฟ แสดงความสัมพันธระหวาง การเติบโตของบริการออนไลนและ Penetration Rate แยกเปนประเภท)

(Source: comScore “Digital World” – State of the Internet (March 2008))

จากขอมูลของ The Nielsen ที่ทําการวิจัยเก็บสถิติเว็บไซตดาน "Social Networking" ที่ไดรับความ


นิยมสูงสุด 10 อันดับแรก พบวา เว็บ Social Networking ที่มีผูใชเปนจํานวนมากและมีอัตราการเติบโตที่สูง
คือ เว็บที่ชื่อวา "Facebook" ซึ่งมีอัตราการเติบโตสูงถึง 116% จากปกอนและมีจํานวนผูใชในแตละวัน สูงถึง
39 ลานคน ทั่วโลก

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 6


Page |7

(ตารางที่ 1: Top 10 เว็บ Social Networking ของสหรัฐฯ ในเดือนกันยายน 2008)

Top
Rank Sept. 2007: Sept. 2008: % Growth:
Social Networking Sites:
(by UA) Unique Audience (in 000s) Unique Audience (in 000s) Year Over Year
Sept. 2008
1 Myspace.com 58,581 59,352 1%
2 Facebook 18,090 39,003 116%
3 Classmates Online 13,313 17,075 28%
4 LinkedIn 4,075 11,924 193%
5 Windows Live Spaces 10,275 9,117 -11%
6 Reunion.com 4,845 7,601 57%
7 Club Penguin 3,769 4,224 12%
8 AOL Hometown 7,685 3,909 -49%
9 Tagged.com 898 3,857 330%
10 AOL Community 4,017 3,079 -23%
Source: The Nielsen Company, Custom Analysis (September 2008)

สถิติอื่นๆที่นาสนใจของ Facebook
§ จํานวนผูใช (active users) มีกวา 150 ลานคน
§ มีรูปถายที่ผูใชอัพโหลดขึ้นไปเก็บใน Facebook กวาวันละ 23 ลานรูป โดยใชเนื้อที่ความจุ มากกวา 3
Terabytes ตอวัน ในการเก็บรูป
§ รูปถายกวา 15,000 ลานรูป ถูกดูในแตละวัน
§ เวลารวมที่ผูใชทั่วโลก ใช Facebook ในแตละวัน รวมกันกวา 2,600 ลานนาที

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 7


Page |8

จากขอมูลเชิงสถิติและงานวิจัยดานธุรกิจออนไลนหลายๆแหง ไดตอกย้ําถึงความนิยมในบริการ
"Social Networking" ที่กลายเปนเทรนดที่มาแรงแซงหนาบริการออนไลนทุกอยางในรอบป 2008 ที่ผานมา
และสิ่งที่ขอมูลจากหลายๆสํานักวิจัยที่มชี อื่ เสียง นําเสนอตรงกัน ก็คือ การกาวขึ้นมาเปนผูนําดาน
Social Networking ของ Facebook ที่อดีตเคยจํากัดการใหบริการเพียงนักเรียนและนักศึกษาในสหรัฐฯ
เทานั้น

(ตารางที่ 2: เว็บ Social Networking ที่เติบโตเร็วที่สุดในสหรัฐฯ จากเดือนกันยายน 2007 ถึง กันยายน 2008)
Rank 10 Fastest Growing Sept. 2007: Sept. 2008:
% Growth: Year Over
(by Sept. YOY UA Social Networking Sites: Sept. Unique Audience (in Unique Audience
Year
growth) 2008 000s) (in 000s)
1 Twitter.com 533* 2,359 343%
2 Tagged.com 898 3,857 330%
3 Ning 842* 2,955 251%
4 LinkedIn 4,075 11,924 193%
5 Last.fm 850 1,879 121%
6 Facebook 18,090 39,003 116%
7 MyYearbook 1,422 3,056 115%
8 Bebo 1,299 2,418 86%
9 Multiply 592 941 59%
10 Reunion.com 4,845 7,601 57%
(Source: The Nielsen Company, Custom Analysis (September 2008).
การกาวขึ้นมาเปนผูนําดาน "Social Networking" แซงหนายักษใหญอยาง "Myspace.com" ที่ถือวา
เปน First Mover และเปนยักษใหญที่ทรงอิทธิพลที่สุดรายหนึ่งของธุรกิจออนไลน
โดยปจจัยหลักที่ตําแหนงของผูนํา เปลี่ยนมือ ไดแก การเปดตัว "Facebook Platform" ในป 2007
"Facebook Platform" เปนการเปดโอกาสใหนักพัฒนาแอพลิเคชั่นจากทั่วโลกไดใชประโยชนจาก
Infrastructure รวมไปถึงฐานขอมูลผูใชของ Facebook บางสวนในการสรางแอพลิเคชั่นเพื่อรองรับความ
ตองการตางๆของผูใช ไมวาจะเปนการพัฒนาเกม โปรแกรมอานขาว โปรแกรมเก็บรูปถาย และโปรแกรมอื่นๆ
กวา 52,000 โปรแกรม ใหผูใช Facebook เลือกใชงาน
NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 8
Page |9

(จํานวน Facebook Application 10 อันดับแรกที่มีผูใชงานตอวันมากที่สุด)

ความสําเร็จของการเปดโอกาสนี้เอง ทําใหมีนักพัฒนาแอพลิเคชั่นกวา 660,000 คน สรางแอพลิเคชั่น


มากมาย ทั้งใชงานฟรีและเสียเงินใช จนพัฒนาเปนเศรษฐกิจแบบ Facebook (Facebook Economy) ขึ้นมา
ปจจุบัน มีผูใชงานแอพลิเคชั่นบน Facebook ถึง 95% จากจํานวนผูใชทั้งหมด

การที่บุคคล หรือองคกร มีการเชื่อมตอกันไมวาดวยทางใดทางหนึ่ง เชน แนวคิด ความชอบ


ชีวิตประจําวัน งานอดิเรก ความตองการพิเศษอื่นๆที่สอดคลองกันเปนสังคมขึ้นมา และการเกิด Social
Networking นี้ทําใหนักการตลาดสามารถวางกลยุทธการใชสื่อ Below the line สําหรับการจัดกิจกรรมเฉพาะ
กลุมในลักษณะ 2-ways Communication ทั้งในแบบ online และการจัดในสถานที่จริง (Offline) เพื่อลด
ขอจํากัดในการเขาถึงอินเตอรเนทของประชากร โดยมีเครือขายสังคมเปนสื่อแทน
ตัวอยางของการใชเครือขายสังคมออนไลนเพื่อเปนสื่อ คือ การจัด BarCamp ที่เปนคําศัพทเรียก
สําหรับการประชุม หรือ พบปะ (ซึ่งไมเปนทางการพอที่จะเรียกวาสัมมนา) โดยบุคคลตางๆที่มีความสนใจใน
เรื่องใดเรื่องหนึ่ง ณ เวลาใดเวลาหนึ่งกําหนดหัวขอการพบปะขึ้นมา (User Generated Conference) โดยจะ
มีทั้งแบบออนไลนและพบหนากัน ซึ่งนักการตลาดสามารถวางแผนการใชโอกาสนี้ในการเขาถึงเครือขายสังคม
เพื่อใชเปนสื่อขึ้นมาได

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 9


P a g e | 10

Open Platform และ Mashup ปลดแอกจินตนาการแอพลิเคชั่น


จากความสําเร็จในการ สราง "Platform" และ "เปดโอกาส" (Open) ของ Facebook นั่นเอง ได
สงผลกระทบตอเนื่องตอวงการ Web2.0 และกลายเปนเทรนดที่สําคัญที่สุดใน ป 2008
ไมวาจะเปนการสราง "OpenID" ซึ่งมีจุดมุงหมายในการพัฒนาเปนบัตรผานใบเดียว (Single Login)
ที่ "เปด" ใหทุกบริการบนอินเตอรเน็ตเรียกใช โดยไมจําเปนตองสมัครบริการนั้นๆใหม ซึ่งทําใหผูใชเจอปญหา
ในการจดจํา Login และ รหัสผาน ที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
หรือแมแตการที่ยักษใหญดานออนไลนอยาง Google พยายามผนึกพลังพันธมิตรยักษใหญที่
ใหบริการดาน Social Networking ตางๆมากมาย เพื่อใหมาใชบริการ "OpenSocial” ซึ่งเปน Platform ที่ตน
พัฒนาขึ้นและ "เปด" ใหทุกคนใช ในการสรางแอพลิเคชั่นมารองรับผูใชใน Social Networking ของตนเอง
และไดรับการตอบรับเปนอยางดี จากบรรดาผูใหบริการ “Social Networking” รายใหญ เชน
Bebo.com, Hi5.com , MySpace.com, LinkedIn.com รวมไปถึง Yahoo.com

แนวโนมการ Open Platform ไดทําใหเกิดกระบวนการที่เรียกวา "Fusion" หรือ ถาเปนศัพทที่ใชกัน


แพรหลายในโลกออนไลน จะเรียกวา "Mashup" ทําใหมีบริการ Web2.0 ใหมๆ ถือกําเนิดขึ้นมากมาย จาก
การเอา บริการตางๆมา "Mashup" กัน โดยอาศัยการเปดใหเขามาใช “Platform” ของตนเอง ทําใหนักพัฒนา
แอพลิเคชั่น ไมจําเปนตองเสียเวลาสรางบริการที่ซ้ําซอน และมีเวลาที่จะสรางจินตนาการ เพื่อรังสรรคแอพลิ
เคชั่นใหมๆออกมาใหไดใชงาน

ตัวอยางของการ “Mashup” เชน บริการแผนที่ของ Google (Google Map) ถาจับมารวมกับ การ


ถายรูปบนโทรศัพท สิ่งที่เราจะได ไมใชแคเพียงรูปถายเทานั้น แตจะเปนรูปถายรวมกับพิกัดแผนที่ เมื่อเราอัพ
โหลดรูปถายใบนี้ลงไปในเว็บ "Mashup" ผูใชเว็บทุกคน จะสามารถรูไดวา รูปถายนี้ ถายมาจากสถานที่ไหน
เมืองไหน และอาจจะรูไดวา ในโลกนี้มีรูปถายไหนบางที่ถายจากสถานที่ใกลเคียงกัน

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 10


P a g e | 11

(บริการ MapJack.com เปน Mashup ระหวาง Google Map และ การคนหาสถานที่ทองเที่ยวตางๆของไทย)

(บริการ GlobalIncidentMap.com เปน Mashup ระหวาง Google Map และ ขาวอุบัติเหตุตางๆทั่วโลก ทําใหรูไดทันทีวาเกิดเหตุการณสําคัญหรือ
อุบัติเหตุอะไรในโลกบาง)

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 11


P a g e | 12

Software as a Service
ในรอบป 2006-2007 ที่ผานมา ยักษใหญบนโลกออนไลนอยาง Google ไดพัฒนาเว็บแอพลิเคชั่น ที่ใช
สําหรับงาน Office เรียกวา “Google Docs” โดยสามารถสรางเอกสารทั้งดาน Word Processing,
Spreadsheet และ Presentation โดยเอกสารที่สราง สามารถบันทึกไฟลใหออกมาในรูปแบบที่ใช Microsoft
Office เปดไดทันที ซึ่งในป 2008 ที่ผานมา ไดมีการพัฒนาปรับปรุงชุด Google Docs เปนอยางมาก จนเรียก
ไดวา เกือบจะใชแทนชุด Microsoft Office ไดเลย

ตัวอยาง “Software as a Service” ที่ไดรับความนิยม


(บทความนี้ ผูเขียนใช Google Docs ในการเขียน)

ใน ป 2009 คาดวาจะเปนปที่มีเว็บแอพลิเคชั่นที่มีความสามารถสูงขึ้น จนชองวางระหวางเว็บแอพลิ


เคชั่น และ แอพลิเคชั่นบน PC ลดนอยลง ทั้งแอพลิเคชั่นดาน Office, ตัดตอภาพ และวิดีโอ

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 12


P a g e | 13

(โปรแกรม “Keynote” ของ Apple Inc. ที่ใชในการทํา Presentation บนแมค ไดกลายมาเปนเว็บแอพลิเคชั่นแลว ในชื่อวา “iWork.com”)

(เว็บแอพลิเคชั่น “Photoshop Express” ที่ใชตัดตอภาพถายแบบออนไลน)

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 13


P a g e | 14

(เว็บแอพลิเคชั่น “JumpCut” ที่ใชตัดตอวิดีโอแบบออนไลน)

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 14


P a g e | 15

แนวโนมของ Web 2.0 ในป 2009


จากการสังเกตุสิ่งที่เกิดขึ้นตลอดชวงระยะเวลา 1 ปที่ผานมา
บางบริการไดเริ่มตนสราง Market Segment ใหมๆของตัวเอง แมวาอาจจะยังไมใหญนัก แตเนื่องจาก
พฤติกรรมผูใชอินเตอรเน็ต เริ่มเปลี่ยนไป ทําใหบริการตางๆเหลานี้ มีศักยภาพสูงที่จะเปลี่ยนแปลงจาก
จุดเริ่มตนเล็กๆ มาเปนแนวโนมที่สําคัญของอุตสาหกรรมได
ทางผูเขียนจึงขอรวมรวบบริการตางๆที่นาสนใจและมีแนวโนมสูงที่จะกลายเปนเทรนดของป 2009
ดังนี้

Lifestreaming ยิ่งรวมกัน ชีวิตออนไลนยิ่งงายขึ้น


บริการออนไลนใหมๆบนอินเตอรเน็ต ในยุคของ Web2.0 นั้น เกิดขึ้นตลอดเวลา
ทั้งชวยอํานวยความสะดวกในการใชชีวิตประจําวัน ชวยในการติดตามขาวสาร หรือเปนอีกเครื่องมือ
หนึ่งที่ใชติดตอสื่อสารกับเพื่อนหรือคนที่รูจัก
Web 2.0 มีสวนชวยในการเขาสังคมตางๆ ทําใหชีวิตในวันหนึ่งๆของเรา ตองเขาไปในหลายๆเว็บเพื่อ
ติดตามความเคลือ่ นไหวของเพื่อนรวมสังคมออนไลนทเี่ รารูจัก
ตัวอยางเชน การอัพโหลดภาพถายลงในเว็บไซต Flickr.com, การอัพโหลดวิดีโอคลิปสวนตัวเขาไปใน
YouTube.com, การอัพเดท Blog และ Microblogging สวนตัว และการอัพเดท Social Networking หลายๆ
เว็บที่เปนของตัวเอง
เมื่อบริการ Web2.0 สวนใหญมีแนวโนมที่จะ “เปด” (Open Platform) และอนุญาตให “Mashup” กัน
ได ทําใหเกิดแนวคิดในการรวบรวมกิจกรรมออนไลนทั้งหลายที่ใชในชีวิตประจําวัน ใหเปนหนึ่งเดียว เรียกวา
“Lifestreaming” หรือ “Activity Streaming” เพื่อเพิ่มความสะดวกในการบริหารจัดการและงายตอการแชรให
เพื่อนในสังคมออนไลน ไดติดตามความเคลื่อนไหวของตัวเรา
บริการ “Lifestreaming” เริ่มถือกําเนิดขึ้นในป 2008 และไดรับความนิยมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เพราะนักทอง
อินเตอรเน็ตทั้งหลาย เริ่มมีกิจกรรมออนไลนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ
ตัวอยางของบริการ “Lifestreaming” ที่โดดเดนที่สุดและเปนผูบุกเบิกบริการในลักษณะ ก็คือ
“FriendFeed.com” ซึ่งเปนบริการที่อดีตพนักงานที่ลาออกจาก Google เปนผูสรางขึ้น

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 15


P a g e | 16

(บริการ “Lifestreaming” ที่ชื่อวา “FriendFeed.com”)

(บริการตางๆที่ “FriendFeed” สามารถดึงมารวมเปน “Lifestreaming” ได)

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 16


P a g e | 17

Longtail Social Networking


บริการ “Social Networking” หลายๆบริการในปจจุบัน เชน Hi5.com, Facebook.com เรียกไดวาเปน
“Mass Community” โดยมีจุดประสงคหลัก คือ ดึงคนจากที่ตางๆใหมารวมกันใหมากที่สุด
เนนปริมาณของผูใชเปนหลัก ขาดปจจัยหลักๆที่อาจจะจําเปนในการสรางความสัมพันธบางอยางไป
เชน ความสนใจรวมกัน ความชอบสิ่งของสิ่งเดียวกัน ความชอบนักรอง ดาราคนเดียวกัน หรือ เชียรทีมฟุตบอล
ทีมเดียวกัน
ทําใหเกิด”Social Networking”อีกรูปแบบหนึ่งที่เนนความสนใจรวมกันและมีคุณลักษณะเฉพาะดาน
เพื่อรองรับกลุมผูใชที่มีความตองการเฉพาะเจาะจง เชน “PatientsLikeMe.com” ซึ่งเปน “Social Networking”
ของคนไขที่ปวยเปนโรคตางๆ เขามาบอกเลาอาการปวยที่ตนเจอ และประสบการณที่ไดรับในการรักษาโรค
ตางๆ ไมวาจะเปนยารักษาโรค วิธีการรักษาแบบตางๆ รวมไปถึงการใหกําลังใจซึ่งกันและกัน เพื่อรวมฟนฝาให
หายจากโรคที่ตนปวย

(บริการ “Longtail Social Networking” สําหรับคนไข ที่ชื่อวา “PatientsLikeMe.com”)

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 17


P a g e | 18

เมื่อมี “Social Networking” ของคนไข ก็ยอมมี “Social Networking” ของบรรดาแพทยผูรักษา ชื่อวา


“Sermo.com” ที่บรรดาแพทยกวา 90,000 คนเขามาแลกเปลี่ยนความรูดานการแพทย ประสบการณในการ
รักษาโรคตางๆ รวมไปถึงประสบการณในการเจอคนไข

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 18


P a g e | 19

(บริการ “Longtail Social Networking” สําหรับบรรดาหมอ ที่ชอื่ วา “Sermo.com”)

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 19


P a g e | 20

Geolocation
ในป 2008 ที่ผานมา มีโทรศัพทมือถือหลายๆรุนไดใส function การทํางานของ GPS เพื่อใชในการ
คนหาตําแหนงตาง ทําให Application ที่ใชประโยชนจากตําแหนงของ GPS เริ่มเปนที่นิยมมากขึ้น ไมวาจะ
เปน Navigator ที่ใชในการนําทาง ระบบแผนที่และการคนหาสถานที่ตางๆ
ภาพถายที่ถูกถายจากโทรศัพทที่มี GPS มักจะมีลูกเลนที่สามารถฝงตําแหนงพิกัดของ GPS ลงไปใน
Metadata ของภาพถายเหลานั้น เพื่อบงบอกวาภาพถายนั้นๆ ถูกถายมาจากสถานที่ใด ตําแหนงพิกัดบนแผน
ที่เทาไหร เรียกวา “Geolocation”

(แอพลิเคชั่น “Twinkle” บนไอโฟน ใช “Geolocation” ผสมผสานกับ “Microblogging” ในการโพสตขอความลงไปใน “Twitter”)

เมื่อภาพถายเหลานั้น ถูกอัพโหลดขึ้นไปเก็บบนเว็บไซตแชรภาพถายดิจิตัล เชน “Flickr.com” ของ


Yahoo!, “Picasa” ของ Google หรือแมกระทั่งเว็บไซตดาน “Social Networking” ชื่อดังอยาง “Facebook”
เอง ซึ่งเว็บไซตเหลานี้จะอาน Metadata และดึงขอมูลตําแหนงและสถานที่ไปแสดงบนหนาเว็บโดยอัตโนมัติ ทั้ง
ภาพสถานที่และรูปบนแผนที่เอง
เรียกไดวา นอกจากจะเปนการแชรภาพถายแลวยังเปนการแชรLocation เพื่อนําไปสูการแชร
ประสบการณรวมในสถานที่นั้นๆอีกดวย

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 20


P a g e | 21

Mobile Social Networking


บริการ “Social Networking” ตางๆ นอกจากจะมีอยูบนเว็บไซตใหผูใชอินเตอรเน็ตไดเขาไปใชงานแลว
ยังขยายการเขาถึงจากโทรศัพทมือถือ ทั้งในรูปแบบของ Mobile Web และ Application ที่ติดตั้งลงบน
เครื่องโทรศัพทนั้นๆ
จุดประสงคหลักๆ ก็คือ เพิ่มชองทางการเขาถึงจากผูใชใหมากยิ่งขึ้น ทําใหผูใชสามารถเขาไปใชบริการ
ไดจากทุกที่ ทุกเวลา เหมือนพก “Social Networking” ติดตัวไปดวย
และแนนอนวา หนึ่งใน Feature หลักที่ถูกใสเขาไปเพิ่มเติมนอกจาก feature ที่เว็บไซตทําได
นั่นก็คือ “Geolocation” ที่ทําใหรูวา ผูใชคนนั้น ถายรูปอัพเดท โพสตขอความลงบน“Social Networking” มา
จากที่ไหน และดึงเพื่อนรวม Network ที่อยูละแวกใกลๆกันใหมาคุยกัน มาทําความรูจักกัน

(แอพลิเคชั่น “Facebook” บนมือถือ iPhone ที่มีผูใช ถึง 4,495,780 คน ตอเดือน)

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 21


P a g e | 22

การเคลื่อนยายขาม “Social Networking” (Social Networking Portability)


ผูใชอินเตอรเน็ตคนเดียวกัน อาจจะเปนสมาชิก “Social Networking” หลายๆแหง เนื่องจากมีกลุม
เพื่อนหรือมีสังคมที่แตกตางกัน เชน ใน “Hi5” เราอาจจะมีเฉพาะเพื่อนสนิท เพื่อนที่เรียนมหาวิทยาลัยดวยกัน
และใน “Facebook” เราอาจจะมีเฉพาะเพื่อนที่ทํางาน เหมือนในชีวิตประจําวันจริงๆ ที่เมื่ออยูที่ทํางานก็จะมี
เพื่อนรวมงาน ที่คนละกลุมกับเพื่อนสมัยเรียน หรือสรุปไดวา เราจะมีความสัมพันธทแตกต
ี่ างกันในหลาย
รูปแบบเมื่ออยูในสังคมที่แตกตางกัน (Different type of relationships)
นอกจากการมีเพื่อนคนละกลุมแลว เรายังอาจตองการแสดงตัวตนที่แตกตางออกไป ตามสังคมที่เรา
อยู เชน เราอาจจะตองการแชรรูปในทริปที่ไปเที่ยว หรือเขียน Blog แบบเฮฮาใหกับเพื่อนที่อยูใน “Hi5” ดู
เทานั้น แตไมอยากใหเพื่อนใน “Facebook” เห็นรูปนี้และตองการใหเห็นแค Blog แบบมีสาระจากเรา
ทั้งหมดนี้คงจะสรางความปวดหัวไมนอย ถาผูใชคนนั้นเปนสมาชิกในหลาย “Social Networking” มี
กลุมเพื่อนหลายกลุม มีขอมูลจํานวนมากที่มาแชรใหกลุม เพื่อนที่แตกตางกัน และจะเปนอยางไรถาผูใชคนนั้น
ไปสมัครบริการ “Social Networking” อื่นๆเพิ่มอีกเรื่อยๆ

“Social Graph” เปนแนวคิดเกิดขึ้นมาเพื่อรองรับการเคลื่อนยายขาม“Social Networking” (Social


Networking Portability) โดยมีการนิยามระดับและประเภทของความสัมพันธ กลุมเพื่อน และสิทธิ์ในการ
เขาถึง
ทําใหในอนาคตผูใชสามารถกําหนด “Social Graph” ของตัวเองใน “Social Networking” หนึ่ง ให
แตกตางกับอีกที่หนึ่งได โดยไมจําเปนตองสมัครสมาชิกใหม แตใชวิธีดึง “Social Graph” ของตนมาและเลือก
วาจะใหกลุมเพื่อนใน “Social Networking” จะเห็น Profile อะไรของเราบาง
นอกจาก Profile ที่ยายขามไปไดแลว กลุมเพื่อนก็ยังสามารถยายขามมาไดเชนกัน ผูใชไมตองหาเพื่อน
ใหม แตสามารถอิมพอรตเพื่อนจาก “Social Networking” เดิมที่มีอยูแลว มาอยูอีกที่ใหมได

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 22


P a g e | 23

Cloud Computing – พลิกโฉมอุตสาหกรรมซอฟทแวรและฮารดแวร


พลังแหงการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีเครือขายที่เกิดขึ้นควบคูไปกับการพัฒนาบริการใหมๆบนโลก
อินเตอรเน็ตกอใหเกิดสิ่งที่ (คาดวา) จะยิ่งใหญขึ้นในยุคของ Web 2.0 ที่จะสงผลกระทบกับธุรกิจและ
ชีวิตประจําวัน นัน่ ก็คือการประมวลผลแบบกลุมเมฆหรือ Cloud Computing
ในที่นี้จะไมขอกลาวถึงรายละเอียดทางเทคโนโลยีเบื้องหลังที่มีความซับซอนสูง แตจะอธิบาย
ความหมายของ Cloud Computing ในภาษาที่เขาใจงายก็คือ อินเตอรเน็ตนี้จะเปรียบเสมือนกอนเมฆกอน
ใหญที่ผูใชงานไมจําเปนอะไรเลยที่จะตองรูวามีอะไรอยูภายในกอนเมฆอินเตอรเน็ตนั้น แคเพียงคิดวา
ตองการขอมูลอะไร บริการอะไร จากนั้นก็จะสามารถตอบสนองความตองการไดเพียงแคควานหาจากกอน
เมฆนั้น ผูใชงานจะไมมองถึงซอฟทแวรสําหรับการใชงานอีกตอไป แตจะมองถึง “บริการ” ที่ตองการอยาง
แทจริง (Software as a Service หรือ SaaS)
ถามองในมุมของธุรกิจก็คือ ปกติแลวในการทํางานของบริษัททั่วไป จําเปนที่จะตองมีเครื่อง
คอมพิวเตอร และแตละเครื่องก็จําเปนที่จะตองมีโปรแกรมพื้นฐานสําหรับสํานักงาน เชนMicrosoft Office
สําหรับงานทั่วไปในสํานักงาน
ถาบริษัทมีธุรกิจขนาดใหญขึ้น ฐานขอมูลและการใชงานแอพลิเคชั่นตางๆก็จะมีความซับซอนมากขึ้น
อีกทัง้ ยังตองมีการลงทุนทางดานอุปกรณตา งๆและมีคาใชจายที่สูงขึ้นตามมา เชน เมือ่ บริษัทตองลงทุนดาน
Server เพื่อรองรับระบบงานตางๆ
และแนนอนวามีคาใชจายดูแลรักษาเพิ่มขึ้นตามมาอีกมากมาย
ลองจินตนาการดูวา ถาซอฟทแวรฐานขอมูล แอพลิเคชั่น และฮารดแวรทั้งหลายเหลานั้น อยูในกอน
เมฆอินเตอรเน็ตหมดโดยที่ไมจําเปนตองซื้อหามาติดตั้งแลว
ทําใหบริษัทนั้น:
§ ไมจํา เปนตองสนใจวา จะตองเลือ กใชซอฟทแวรจากที่ไหน ยี่หอ
 อะไรดี สําหรับหนาที่แตละอยางที่
ตองการ
§ ไมตองกังวลถึงความเขา กันไดกับกับซอฟทแวรอื่นๆในบริษัทวามีมากนอยเพียงใด

§ ไมตองตระหนักถึงการวางแผนการจัดซื้ออุปกรณ Computer Server เพื่อ รองรับการขยายตัว ของธุร กิจ

§ ไมจํา เปนตองจัดหาผูเชี่ยวชาญทาง IT ในระดับสูงจํานวนมาก เพื่อมาดูแลระบบอันซับซอนตางๆใน

บริษัทอีกตอไป
§ สามารถใชทรัพยากรเพื่อเนนหนักไปในทางธุรกิจหลักของตัว เองไดมากขึ้น

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 23


P a g e | 24

นับเปนการพลิกโฉมรูปแบบธุรกิจในอนาคตอยางมีนัยยะสําคัญ
แตสิ่งหนึ่งที่สําคัญในการจํากัดการเขาถึง Cloud Computing ก็คือประสิทธิภาพของเครือขายภายใน
และภายนอกบริษัทที่จะสามารถทําใหพนักงานทุกคนสามารถเขาถึง “กอนเมฆ” เหลานั้นไดสะดวกมากนอย
เพียงใด
ตัวอยางในปจจุบันที่เห็นเดนชัดถึงความสําเร็จของCloud Computing ก็คือโลโกรูป
“No Software” ของ SalesForce.com ที่รวบรวมซอฟทแวรที่ใชงานกันภายใน
สํานักงานไมวาจะเปนเกี่ยวกับงานขาย งานสนับสนุนและบริหารความสัมพันธกับ
ลูกคา งานฐานขอมูลและวิเคราะห ฯลฯ มาอยูบนเว็บไซตทั้งหมด โดยมีธุรกิจยักษ
ใหญมากมายมาใชบริการ
แมกระทั่งประธานาธิบดีคนลาสุดของสหรัฐฯ บารัค โอบามา ก็เพิ่งปรับปรุงเว็บไซต change.gov ที่
เคยใชในการหาเสียงลงสมัครชิงตําแหนงประธานาธิบดี ใหกลายมาเปน Citizen’s Briefing Book เพื่อเปด
โอกาสใหประชาชนแสดงความเห็น และเสนอแนวคิดเพื่อนําไปปรับปรุงเปนนโยบายตอไป โดยใชระบบ
CRM Idea Product ของ SalesForce.com นั่นเอง

ทางฝงเว็บไซต Amazon Web Service (AWS) ในเครือ Amazon.com ก็


นําเสนอบริการในชื่อ Amazon Simple Storage Service (Amazon S3)
สําหรับเก็บไฟลขอมูล (Storage) ฐานขอมูล (Database) และเสนอบริการ
Amazon Elastic Compute Cloud (Amazon EC2) อันโดงดังที่ใหผูใชสามารถติดตั้งโปรแกรมที่ตองการบน
Server เสมือน หรือเรียกวา Virtual Platform โดยที่ผูใชงานไมตองกังวลเกี่ยวกับการจัดซื้อและดูแล server
อีก
ในเดือนตุลาคมป 2008 ทาง Microsoft ก็ไมยอม
นอยหนาที่จะกาวเขาสูอุตสาหกรรม Cloud
Computing โดยไดใชชื่อผลิตภัณฑวา Azure

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 24


P a g e | 25

ทํานองเดียวกันเว็บไซตเครือขายสังคมชื่อดังตางๆเชน MySpace, Facebook, Hi5 หรือ LinkedIn ก็


ถือเปนบริการ Cloud Computing ที่นอกจากจะเจาะจงหนาที่ในการสรางเครือขายสังคมของผูใชงานแลว
ยังสามารถติดตั้งแอพลิเคชั่นลงบนหนาเว็บของผูใชงานได ซึ่งรายไดสวนใหญของเว็บไซตเครือขายสังคม
เหลานี้มาจากคาโฆษณา ดังที่กลาวมาในหัวขอทีแล่ ววา เมื่อสามารถรูถึงความตองการและคุณลักษณะ
เบื้องตนของแตละบุคคลแลว ทําใหการวางแผนโฆษณาทําไดตรงกลุมเปาหมายมากขึ้น
นักวิเคราะหจาก Merril Lynch ไดคาดการณไววาภายในป 2011 มูลคาตลาดของ Cloud
Computing สําหรับยุค Web 2.0 นั้นจะสูงถึง 160,000 ลานดอลลารสหรัฐฯ โดยแบงเปน 95,000 ลาน
เหรียญสําหรับตลาดธุรกิจและบริการ (Email, office, CRM และอื่นๆ) และสวนที่เหลืออีก 65,000 ลาน
เหรียญจะมาจากการโฆษณาออนไลน

Web 3.0 หรือ Semantic Web


ถาเปรียบเทียบ Web 1.0 ในยุคแรกเริ่มก็คือ ผูใชสามารถ “อาน” อยางเดียว โดยที่เจาของเว็บไซต
เปนผูจัดทําเนื้อหาขึ้นมา
พอมาเขาสูยุค Web 2.0 ผูใชนั้นก็สามารถที่จะ “อาน + เขียน” หรือเปนคนสรางเนื้อหาขึ้นมาเองได
มีการติดตอและเชื่อมโยงกับผูใชอื่นๆขึ้นเปนสังคม โดยที่เว็บไซตเปนเพียงตัวกลางสําหรับผูใชในการเผยแพร
เนื้อหา
จะเปนอยางไรถาเนื้อหาที่ผูใชสรางขึ้นมานั้นมีมหาศาล และยังเพิ่มขึ้นเรื่อยๆอยางไมสิ้นสุด แลวยุค
ตอไปผูใชสามารถ “อาน + เขียน + สั่งงาน” เว็บไซตใหดําเนินการจัดการเนื้อหาที่มีความยุงยากซับซอน
เหลานั้นแลวแสดงผลเพียงแคสิ่งที่ผูใชตองการ
ตัวอยางเชน สมมติวาเราเขาไปในชุมชนออนไลนขนาดใหญแหงหนึ่งที่มีสมาชิกจํานวนมาก
แลวเราตองการคนหา Blog ของผูที่เขียนเรื่องเกี่ยวกับรถยนตสัญชาติอินเดียยี่หอ Tata
แตเมื่อใชคําวา “tata” เปน keyword ใชคนหาแลว
แลวปรากฎผลออกมาเปน Blog เกี่ยวกับนักรองสาวที่ชื่อเดียวกันนี้ พรอมๆกับรายชื่อของ Blog ที่เกี่ยวกับ
รถยนต
แตเมื่อชุมชนออนไลนขนาดใหญนี้เริ่มเขาสูยุคตอไป เมื่อผูใชคนหนึ่งที่ปกติชอบศึกษาเรื่องรถเปน
ประจํา เขามาคนหา Blog ในชุมชนแหงนี้แลว ขอมูลเบื้องหลังเกี่ยวกับผูใชคนนั้นจะถูกนําไปประมวลผลแลว
เชื่อมโยงความเปนไปไดกับผลการคนหาที่ตองการ ผลที่แสดงคือ รายชื่อของ Blog ที่เขียนเกี่ยวกับรถยนต
ยี่หอ Tata ตามที่เขาตองการ
NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 25
P a g e | 26

คํานิยาม Web 3.0 ยังไมไดถือเปนขอสรุปอยางเปนทางการโดยองคกรใด ในปจจุบันความหมายของ


Web 3.0 ก็ยังมีผูเชี่ยวชาญหลายคนใหความเห็นที่แตกตางกันออกไป เชน

Eric Schmidt CEO ของ Google ใหความเห็นวาในยุค Web 3.0 นี้จะเปนการเชื่อมตอ Application ชิ้น
เล็กๆที่ทรงประสิทธิภาพเขาดวยกัน และขอมูลตางๆที่นํามาใชจะอยูใน “กอนเมฆ” โดยที่ Application
เหลานั้นจะมีคุณสมบัติตอไปนี้
- สามารถทํางานบนอุปกรณใดก็ได ทั้งเครื่องคอมพิวเตอรและโทรศัพทมือถือ
- มีขนาดเล็ก สามารถดัดแปลงแกไขได
- สามารถเผยแพร สงตอไปยังผูใชอื่นผานอีเมล หรือเครือขายสังคมเพื่อใหใชงานได

Nova Spivack หลานของ Peter F. Drucker ปรมาจารยทางดานการบริหารจัดการของโลก ผูซึ่งเปนคน


กอตั้ง Radar Networks หนึ่งในผูบุกเบิกเว็บไซตประเภท Semantic Web ไดใหคํานิยามไววายุคตอไปที่เปน
ของ Web 3.0 ซึ่งกําลังจะเกิดขึ้นในป 2010-2020 นั้นจะประกอบไปดวยการพัฒนาของสิ่งตางๆตอไปนี้
o Ubiquitous Connectivity – การเชื่อมตอ จะตองเปนที่ใด เมื่อไรก็ได ซึ่งก็คือการพัฒนาของเทคโนโลยี

อินเตอรเน็ตไรสายและบนโทรศัพทมือถือ
o Cloud Computing – หรือ ที่กลาวมาแลววา เมื่อใดที่ผูใชตองการขอมูลใดก็ตาม เขาตองสามารถ

เขาถึงไดโดยงาย โดยที่ไมจําเปนตองรูถึงเบื้องหลังในการหาขอมูลนั้น
o Open Technologies – มีการเปดกวางในการพัฒนาแอพลิเคชั่นในการใชงานตางๆ ในรูปแบบของ

Open-source ที่อนุญาตใหมีการนําไปพัฒนาตอยอดกันได
o Open Identity – ขอมูลของผูใชจะสามารถถายโอนไปยังเว็บไซตอื่นได ทั้งนี้รวมไปถึงการทําใหมีบัญชี

ผูใชเพียงชุดเดียว (Single Sign-on Account) แลวสามารถเขาไดทุกเว็บไซต


o World Wide Database - ฐานขอมูลของแตละเว็บไซตจะเชื่อมตอกันเปนฐานขอมูลขนาดใหญ

มโหฬาร
o Natural Language Processing – ในการจะสั่งใหเว็บไซตทํางานอยางใดอยางหนึ่ง ผูใชจะสามารถใช

คําสั่งดวยภาษาธรรมชาติของมนุษย หมายความวาผูใชไมจําเปนตองมีความรูในระดับที่สามารถเขียน
โปรแกรมคอมพิวเตอรเลยก็ยังสามารถสราง application ขึ้นมาใชงานเองได

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 26


P a g e | 27

o Semantic Web – เปนกุญแจสําคัญในเว็บ 3.0 ดวยองคประกอบที่กลาวมาทั้งหมดขางตน จะทําให


เว็บไซตมีลักษณะเปน Aggregator อยางเต็มตัว โดยจะทําการเชื่อมโยงฐานขอมูลตางๆทั่วโลก และมี
ปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence) หรือเรียกงายๆวาโปรแกรมนั้น “คิดดวยตัวเอง” ในการที่จะ
ประมวลผลและวิเคราะหขอมูลจากผูใชงานที่สั่งการดวยภาษาที่มนุษยเขาใจได ไมจําเปนตองเปน
ภาษาทางคอมพิวเตอร
o นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาทางดานกราฟฟคสําหรับแสดงผลบนเว็บเชนมาตรฐานSVG (Scalable
Vector Graphic) ที่จะทําใหรูปภาพและกราฟฟคตางๆนั้นสามารถปรับเปลี่ยนไปตามขอมูลที่สัมพันธ
กับรูปภาพนั้นได

สวนในมุมมองของ Tim O’Reilly – CEO ของ O’Reilly Media เจาพอสื่อสิ่งพิมพเกี่ยวกับวงการ


คอมพิวเตอรที่มียอดจําหนายสูงสุดในโลก และยังเปนคนริเริ่มจัดการประชุมเกี่ยวกับWeb 2.0 กลับแสดง
ความเห็นที่ขัดแยงกับ Nova Spivack วา ไมควรใสใจกับคําวา Web 3.0 เพราะมันเปนเพียงศัพททาง
การตลาดเพื่อใชในวัตถุประสงคทางธุรกิจที่เกี่ยวของกับ Semantic Web เทานั้น
Tim ไดกลาวถึงในอดีตที่ผานมาเมื่อมีการประชุม Web 2.0 ขึ้นและมีการใชคําวา Web 2.0 ครั้งแรก
ในโลกนั้น จุดประสงคเพื่อฟนฟูสภาวะธุรกิจที่เกี่ยวของกับเว็บไซตหลังฟองสบูของยุค dot com แตก หาใช
การพูดถึงการพัฒนาเทคโนโลยีไม ดังนั้นถาจะพูดถึงเทคโนโลยีก็ขอใหพูดถึง Semantic Web โดยตรงเลย
ไมใช Web 3.0
ณ ปจจุบันก็ยังไมมีขอสรุปที่เปนทางการรวมกันในระดับองคกร สําหรับการจัดมาตรฐาน Web 3.0
แตไมวาเราจะเรียกยุคของเว็บไซตตอไปวาเปนอะไรก็ตาม Keyword สําคัญก็คอื Semantic Web เพราะเปน
คําเรียกถึงเทคโนโลยีของเว็บไซตที่นิยามคอนขางชัดเจนและถูกบรรจุเปนมาตรฐานขององคกรเว็บไซตสากล
(World Wide Web Consortium – W3C)

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 27


P a g e | 28

Semantic Web - มาตรฐานสําหรับเว็บยุคถัดไป

จากที่กลาวมาขางตนวา ในยุคถัดไปความสามารถของเว็บไซต
จะเริ่มเรียกวา “ฉลาดขึ้น” ดวย
บอยครั้งนักที่เรารูสึกไมพอใจกับการคนหาสิ่งที่ตองการ ทําใหผูใชงานตองเพิ่มจํานวนKeyword เขา
ไปมากขึ้นเพื่อลดขอบเขตของการคนหาใหแคบ และตรงจุดมากขึ้น แนวคิดของ Semantic Web จะนํามาใช
แกปญหาตรงจุดนี้

โดยปกติขอมูลบนเว็บไซตนั้นประกอบดวยสามองคประกอบหลักคือ
- Content คือตัวเนื้อหา หรือขอมูลที่ตองการสื่อไปถึงมนุษย
- Presentation คือการแสดงผล การจัดวาง สีสัน ลวดลาย
- Metadata คือขอมูลที่บงบอกรายละเอียดอื่นๆเกี่ยวกับเนื้อหานั้น

ถาเปรียบเทียบกับชีวิตประจําวันเปนหลอดยาสีฟน Content ก็คือเนื้อยาสีฟน Presentation ก็คือการ


design ตัวหลอดยาสีฟนใหบีบใชงาย และ Metadata ก็คือฉลาก วิธีใช องคประกอบของเนื้อยาสีฟน ขอควร
ระวัง ฯลฯ
จากการเพิ่มจํานวนของเว็บไซตที่มากมายและเนื้อหาที่กระจัดกระจายนั้น Metadata จะเปนสวนที่
สําคัญของ Semantic Web ในการที่จะจัดการกับเนื้อหาเหลานั้น โดยใน Metadata จะแบงออกเปน
สวนยอยๆตางๆ และมีหลักการในการ “เชื่อมโยง” และหาความสัมพันธกันระหวางชุดขอมูล เพื่อให
application สามารถนําไปประมวลผลและแสดงผลไดตรงตามตองการ
อธิบายงายๆโดยใชตัวอยางหลอดยาสีฟนหลอดเดิมไดวา บนฉลากจะมีระบุบอกวาตรงสวนนี้เปน
วิธีใช สวนนี้เปนสารประกอบของเนื้อยาสีฟน สวนนี้เปนเลขใบรับรองของ อย. ตรงสวนนี้เปนสถานที่ผลิต เมื่อ
มีชายคนหนึ่งมีประวัติการแพสารฟลูออไรดบนยาสีฟนเขามา ระบบก็จะทําการคัดเลือกตามฉลากเพื่ออเ ายา
สีฟนที่ไมมีสารฟลูออไรดมาเสนอให ยิ่งไปกวานั้นระบบก็อาจจะทําการสงขอมูลกลับไปตามที่อยูในสถานที่
ผลิต เพื่อแจงเปนสถิติใหผูผลิตทราบวามีผูแพสารฟลูออไรดนี้เพื่อทําการปรับปรุงแกไขตอไป
หลักการในเชิงเทคโนโลยีของ Semantic Web อยางละเอียดจะไมขอกลาวถึงในที่นี้ และเมื่อมาดู
แนวโนมของ Semantic Web ในอนาคตอันใกล ก็จะพบวา เหลาบริษัทยักษใหญหลายแหงไดพากัน
คาดการณและมีการดําเนินการเพื่อเตรียมพรอมแลวดังนี้
NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 28
P a g e | 29

ในป 2007 Thomson Reuters ยักษใหญอันดับ 1 ของโลกในดานขอมูลและขาวสารได


เขาเจรจาซื้อกิจการของ ClearForest เจาของบริการ OpenCalais.com เพื่อใชนํามา
จัดการ Content ทั้งในดานการเงิน การลงทุน การวิจัยตางๆที่มีอยูอยางมหาศาลโดยใช
Semantic Technology ในการเชื่อมโยงขอมูลเหลานั้น

เดือนพฤษภาคม ป 2008 Yahoo ไดเริ่มบริการ SearchMonkey


ที่ใหนักพัฒนาสามารถพัฒนา Application ครอบบน Search
Engine ของ Yahoo ไดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการคนหาโดยใชหลัก Semantic Markup

ถัดมาในเดือนกรกฎาคม ปเดียวกัน ทาง Microsoft ไดเขาซื้อกิจการของ


Powerset เพื่อนําเทคโนโลยี Natural Language Search Engine ไปปรับปรุงเขา
กับ Live Search ของ Microsoft

สิ่งตางๆเหลานี้แสดงใหเห็นวา พลังของ Semantic Web และเทคโนโลยีอื่นๆที่เกี่ยวของ ที่จะชวยพลิก


โฉมอุตสาหกรรมเว็บไซตในอนาคตอันใกลนั้นเปนสิ่งที่หลายบริษัทคาดหวังเปนอยางยิ่งวาจะผลักดันใหยุครุง
เรื่องของ dot com กลับมาอีกครั้ง แตจะสําเร็จหรือไมก็ยังคงตองติดตามกันตอไป…
สรุป
สิ่งที่เกิดขึ้นในวงการ Web2.0 ในป 2008 แนวโนม Web2.0 ในป 2009
§ Social Media § Lifestreaming
§ Blog
§ Longtail Social Networking
§ Microblogging
§ Social Networking § Geolocation & Mobile Social Networking
§ Open Platform § Social Networking Portability
§ Mashup § Cloud Computing
§ Software as a Service § Semantic Web

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009 29

You might also like