You are on page 1of 4

Home : Service และ แนะนํา : About Us : Contact Us ติดตอเรา : เวปเพื่อน

บาน : แลกเวปลิงค : มารูจักSolar Cell กันดีกวา : วิทยุ Live Radio

ตะกราสินคา

หมวด
z อานขาวไดที่นี่ News
z Solar home System ระบบสําหรับ มารูจักSolar Cell กันดีกวา
บานพักอาศัย ไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตย (Photovoltaics) ที่มา : วารสารประสิทธิภาพพลังงาน ฉบับที่ 46 บทนํา การพัฒนา
z แผงโซลารเซล Solar Module แหลงพลังงานที่สะอาดปราศจากมลพิษเพื่อชดเชยการใชน้ํามันเปนงานที่ทาทายและสําคัญมากของนักวิทยาศาสตร
z Solar Garden light ไฟจัดสวน ในปจจุบันในจํานวนโครงการผลิตพลังงานทดแทนทั้งหมดกลาวไดวาโครงการผลิตพลังงานจากแสงอาทิตยนั้น
z ชารตแบตเตอรี่ มือถือ พลังงานแสง ปราศจากมลภาวะเปนพิษมีแหลงพลังงานอยูทั่วไปและไมสิ้นสุดดวงอาทิตยเปนแหลงพลังงานขนาดมหึมาพลังงานที่
z เรื่องนาสนใจ ดวงอาทิตยสรางขึ้นประมาณ 3.8x1023 กิโลวัตต (รูปที่1) แตเนื่องจากระยะทางที่หางจากโลกเราถึง 93 ลานไมลทํา
z รวม VDO นาสนใจ ใหพลังงานที่สงมายังโลกลดนอยลงพลังงานแสงอาทิตยเดินทางมาถึงโลกประมาณ 1.8x1014 กิโลวัตต ถูกดูดซับ
z Solar Camping โดยบรรยากาศและพื้นโลกประมาณ 1.25x1014 กิโลวัตต ในขณะที่พลังงานที่มนุษยใชรวมกันทั้งโลกประมาณ
z Solar Wall light ไฟหัวเสา 1x1010 กิโลวัตต จะเห็นไดวาพลังงานทีไดจากพลังงานแสงอาทิตยมีมากกวาพลังงานที่มนุษยใชรวมกันทั้งโลก
z Solar Street Light ประมาณ 10,000 เทา สําหรับประเทศไทยพื้นที่เกือบทั้งหมดสามารถรับพลังงานจากแสงอาทิตยเฉลี่ยประมาณ 4.5
z เครื่องควบคุมการชารจไฟ กิโลวัตตชั่วโมงตอตารางเมตรตอวันดังนั้น ในพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร สามารถติดตั้งระบบผลิตไฟฟาพื้นที่ประมาณ
z ของตบแตงบาน สวยงาม 1,500 ตารางกิโลเมตร หรือคิดเปนพื้นที่ประมาณ 0.3 % ของประเทศเทานั้น รูปที่ 1 ปริมาณแสงอาทิตยที่เดินทางสู
z Gallery รวมภาพ โลก (ภาพจากบทความเรื่องเทคโนโลยีเซลลแสงอาทิตย โดย ดร.ดุสิต เครืองาม ตีพิมพในนิตยสารพลังงาน) ในอดีต
การผลิตไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตยมีราคาแพงมาก แตเนื่องจากปจจุบันราคาของเซลลแสงอาทิจยไดลดลงมาอยาง
แนะนํา มากและมีแนวโนมวาจะลดลงอีกเรื่อย ๆ เพราะประชาชนโดยทั่วไปไดตระหนักถึงสภาวะแวดลอมเปนพิษเนื่องจากการ
z Solar Garden Lamp เชิงเทียนรูป ใชเชื้อเพลิงบรรพชีวินในการผลิตพลังงานจึงหันมาใชเซลลแสงอาทิตยเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ การผลิตไฟฟาจากเซลลแสง
แกว 4 ใบFLG-007 อาทิตยมีจุดเดนที่สําคัญแตกตาง
z ชุดชารตไฟมือถือ รุนใหญ
z Solar Candle Light FLP - 022
z Solar Candle Light FLP - 021 จากวิธีอื่นหลายประการดังตอไปนี้
z Solar Candle Light FLP - 020
z ชารตมือถือพลังงานแสงอาทิตย รุน
เล็ก
1. ไมมีชิ้นสวนที่เคลื่อนไหวในขณะที่ใชงานจึงทําใหไมมีมลภาวะทางเสียง
z Welcome
z ระบบสําหรับบานพักอาศัย
z What Solar Garden light
2. ไมกอใหเกิดมลภาวะเปนพิษจากขบวนการผลิตไฟฟา

3. มีการบํารุงรักษานอยมากและใชงานแบบอัตโนมัติไดงาย

4. ประสิทธิภาพคงที่ไมขึ้นกับขนาดจากเซลลแสงอาทิตย ขนาด 33 เมกะวัตต หรือ 165,000 กิโลวัตตชั่วโมงถาตอง


การผลิตจากพลังงานแสงอาทิตยทั้งหมดจําเปนตองใช

5. ผลิตไฟฟาไดทุกมุมโลกแมบนเกาะเล็ก ๆ กลางทะเลบนยอดเขาสูงและในอวกาศ

6. ไดพลังงานไฟฟาโดยตรงซึ่งเปนพลังงานที่นํามาใชไดสะดวกที่สุด เพราะการสงและการเปลี่ยนพลังงานไฟฟา สาร


กึ่งตัวนํากับไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตย Photovoltaic (PV) หมายถึงขบวนการผลิตไฟฟาจากการตกกระทบของแสง
บนวัตถุที่มีความสามารถในการเปลี่ยนพลังงานแสงเปนพลังงานไฟฟาไดโดยตรงวัสดุที่มีความสามารถในการเปลี่ยน
พลังงานดังกลาวคือสารกึ่งตัวนําเมื่อนํามาผลิตเปนอุปกรณสําหรับเปลี่ยนพลังงานแสงใหเปนพลังงานไฟฟา เรียกวา
Solar Photovoltaic Cell หรือ Solar Cell นั่นเอง

สารกึ่งตัวนํา ที่นิยมนํามาผลิตเปน Solar Cell ไดแก ซิลิคอนที่มีรูปผลึกและไมมีรูปผลึก (Crystalline และ


Amorphous Silicon ) แกลเลี่ยม อาเซไนด (Gallium Arrsenide) อินเดียม ฟอสไฟด (Indium Phosphide)
แคดเมียม เทลเลอไรด (Cadmium Telluride) และคอปเปอร อินเดียม ไดเซเลไนด (Copper Indium Diselenide
CIS) เปนตน การคนพบการตอบสนองทางไฟฟาเมื่อมีแสงตกกระทบบนวัตถุถก ู คนพบโดยนักวิทยาศาสตรชื่อ
Edmond Becquerel ในป ค.ศ. 1839 เขาไดสังเกตุเห็นวาเมื่อมีแสงตกกระทบบนดานหนึ่งของ Electrochemical Cell
แลวจะมีการผลิตกระแสไฟฟาเพิ่มขึ้นตอจากนั้นไดมีการผลิต Selenium Photovoltaic Cell ขึ้นครั้งแรกในป ค.ศ.
1883 ในป ค.ศ. 1905 มีการคนพบวาจํา นวนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนของวัสดุที่มีความไวตอแสงจะ
เปลี่ยนแปลงไปตามความเขมและความยาวคลื่นของแสงที่ตกกระทบบนวัสดุนั้น ๆ การทํางานของเซลลแสง
อาทิตย

ทําไมแสงอาทิตยจึงสามารถเปลี่ยนเปนไฟฟา ไดคําถามนี้อาจอธิบายไดดังนี้รังสีของดวงอาทิตยประกอบอนุภาค
ของพลังงานที่เรียกวา "โฟตอน (Pohton) โฟตอนจะถายเทพลังงานใหกับอิเล็กตรอนในสารกึ่งตัวนําของเซลลแสง
อาทิตยจนอยูในสถานะ Excited State เมื่ออิเล็กตรอนไดรับพลังงานจากโฟตอนแลว (Excited Electron) จะกระโดด
ออกมาจากอะตอมและสามารถเคลื่อนที่ไดอยางอิสระดังนั้นเมื่ออิเล็กตรอนเคลื่อนที่ครบวงจรจะทําใหเกิดกระแสไฟฟา
ขึ้นขั้วไฟฟา (Electrode) ที่อิเล็กตรอนมารวมกันและเคลื่อนที่ผานเรียกวา "ขั้วลบ" และขั้วที่อยูตรงขามจะเรีย กวา "ขั้ว
บวก" เมื่อขั้วทั้ง 2 ถูกตอดวยหลอดไฟฟาก็จะทําใหมีแสงสวางเกิดขึ้นสารกึ่งตัวนําที่นิยมนํามาผลิตเซลลแสงอาทิตย
ในปจจุบันคือสารซิลิคอนสาเหตุเพราะมีราคาต่ําและหาไดงายในธรรมชาติ การผลิตเซลลแสงอาทิตย สารซิลิคอน
บริสุทธิ์ปรกติจะมีความเปนตัวนําไฟฟาที่ต่ํามากเพราะอิเล็กตรอนไมมีการเคลื่อนที่ในบอนด แตเมื่อใชวิธีการโดปปง
(Doping) โดยสารโบรอน (Boron) จะทําใหความเปนตัวนําไฟฟาเพิ่มขึ้นเพราะโบรอน (Boron) จะทําตัวเปนตัวพา
ประจุ (Charge Carrier) ซึ่งเปนประจุบวกคือไมมีอิเล็กตรอนแตจะเปนชองวางที่เรียกวา Gaps หรือโฮล (holes) ซึ่ง
อิเล็กตรอนจะมาจับคูดวยในโครงสรางของรูปผลึกสารซิลิคอนเมื่อผานขบวนการนี้แลว เรีย กวา P-type การโดปปงอีก
แบบหนึ่งโดยใชสาร ฟอสฟอรัส (Phosphorous) สารซิลิคอนที่ผานขบวนการโดปปงแลวเรียกวา N-type ซึ่งหมาย
ความวาฟอสฟอรัสจะทําหนาที่เปนตัวพาอิเล็กตรอนหรือประจุลบเหมือนกับในโลหะทั่วไป ซิลิคอนเกือบทั้งหมดใน
เซลลแสงอาทิตย คือสวนที่เปน P-type ในขณะที่ผิวสวนหนาของเซลลดานที่แสงตกกระทบจะเปนเพียงชั้นบาง ๆ เปน
แบบ N-type รอยตอที่อยูระหวางชั้นทั้ง 2 เรียกวา pn junction ซึ่งเปนสวนสําคัญที่สุดในเซลลแสงอาทิตยเพราะจะ
เปนบริเวณที่มีประจุอิสระเคลื่อนที่ผานและทําใหเกิดแรงเคลื่อนไฟฟาขึ้นระหวาง Junction ในสวนของซิลิคอนที่เปน
N-type นั้นอิเล็กตรอนสามารถเคลื่อนไหวไดอยางอิสระที่อุณหภูมิของหองในขณะที่ซิลิคอนสวนที่เปน P-type มีสวนที่
เรี่ยกวาโฮล คือสวนที่อิเล็กตรอนขาดหายไป (Electron space) สามารถเคลื่อนที่ไดอยางอิสระที่อุณหภูมิของหองเชน
กัน เมื่อประจุอิสระเหลานี้เคลื่อนที่ขามรอยตอ pn junction จะเกิดแรงเคลื่อนไฟฟา (Voltage) ระหวางรอยตอบนสาร
กึ่งตัวนําก็จะเกิดการผลิตประจุอิเล็กตรอนอิสระและโฮลขึ้นอยางมากมาย มีแรงเคลื่อนไฟฟาระหวาง pn
junction แรงเคลื่อนไฟฟาเกิดขึ้นการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนซึ่งก็คือการเกิดกระแสไฟฟาขึ้นนั่นเอง

ในการผลิตเซลลเพื่อใหไดประสิทธิภาพสูงสุด นั้นไดมีการปรับปรุงใน 2 ลักษณะคือ ใหหนาสัมผัสโลหะเชื่อมติดกับ


ผิวดานหนาของเซลลเพื่อที่จะรวบรวมประจุโดยไมมีการบดบังแสงที่มาตกกระทบมากนัก ลักษณะสุดทาย คือการ
เคลือบสารลดการสะทอนที่ดานหนาของเซลลเพื่อลดการสะทอนกลับของแสง คุณสมบัติเดนของสารเซลลแสง
อาทิตยแบบซิลิคอนคือ สามารถผลิตไฟฟาไดถึง 0.5 V. ไมเกิดเสียงในขณะผลิตกระแสไฟฟาไมมีสวนที่เคลื่อนไหวจึง
ไมมีการสึกหรอคงทน มีอายุการใชงานที่ยาวนานถามีการปองกันความชื้นที่ดี รูปที่ 2 แสดงถึงโครงสรางของเซลลที่
ทําจากซิลิคอน รูปที่ 3 อธิบายการทํางานของเซลลแสงอาทิตย คําอธิบายการทํางานของเซลลแสงอาทิตย (รูปที่ 3)
ขั้นตอนที่ 1 N type ซิลิคอนซึ่งอยูดานหนาของเซลลคือสารกึ่งตัวนําที่ไดการโดปปงดวยสารฟอสฟอรัสมีคุณสมบัติ
เปนตัวใหอิเล็กตรอนเมื่อรับพลังงาน จากแสงอาทิตย N type ซิลิคอนคือ สารกึ่งตัวนําที่ไดการโดปปงดวยสารโบรอน
ทําใหโครงสรางของอะตอมสูญเสียอิเล็กตรอน (โฮล) เมื่อรับพลังงานจากแสงอาทิตยจะทําหนาที่เปนตัวรับอิเล็กตรอน
เมื่อนําซิลิคอนทั้ง 2 ชนิดมาประกบตอกันดวย pn junction จึงทําใหเกิดเปนเซลลแสงอาทิตย ในสภาวะที่ยังไมมีแสง
แดด N type ซิลิคอน ซึ่งอยูดานหนาของเซลลสวนประกอบสวนใหญพรอมจะใหอิเล็กตรอนแตก็ยังมีโฮลปะปนอยูบาง
เล็กนอยดานหนาของ N type จะมีแถบโลหะเรียกวา (Front electrode) ทําหนาที่เปนตัวรับอิเล็กตรอน สวน P type
ซิลิคอนซึ่งอยูดานหลังของเซลลโครงสรางสวนใหญเปนโฮลแตยังคงมีอิเล็กตรอนปะปนบางเล็กนอยดานหลังของ P
type ซิลิคอนจะมีแถบโลหะเรีย กวา back electrode ทําหนาที่เปนตัวรวบรวมโฮล

ขั้นตอนที่2 เมื่อมีแสงอาทิตยตกกระทบแสงอาทิตยจะถายเทพลังงานใหกับอิเล็กตรอน และโฮลทําใหเกิดการเคลื่อน


ไหวเมื่อพลังสูงพอทั้งอิเล็กตรอนและโฮลจะวิ่งเขาหาเพื่อจับคูกันอิเล็กตรอนจะวิ่งไปยังชั้น N type และโฮลจะวิ่งไปยัง
ชั้น P type ขั้นตอนที่ 3 อิเล็กตรอนวิ่งไปรวมกันที่ Front electrode และโฮลวิ่งไปรวมกันที่ back electrode เมื่อมีการ
ตอวงจรไฟฟา จาก Front electrode และ back electrode ใหครบวงจรก็จะเกิดกระแสไฟฟาขึ้นเนื่องจากทั้งอิเล็กตอ
รนและโฮลจะวิ่ง เพื่อจับคูกัน วัสดุที่ใชทําเซลลแสงอาทิตย วัสดุสําคัญที่ใชทําเซลลแสงอาทิตยในปจจุบันไดแกสาร
ซิลิคอน (Si) ซึ่งเปนสารชนิดเดีย วกับที่ใชทําชิพในคอมพิวเตอรและเครื่องอิเล็กทรอนิกส ซิลิคอนเปนสารซี่งไมมีพิษมี
การนํามาผลิตเซลลแสงอาทิตยใชกันอยางแพรหลาย เพราะมีราคาถูกคงทน และเชื่อถือได

วัสดุชนิดอื่นที่สามารถนํามาผลิตเซลลแสงอาทิตยได เชน แกลเลียม อาเซไนด หรือแคดเมียม เทลเลอไรด แตยัง


มีราคาคอนขางสูงหรือยังไมมีการพิสูจนวาสามารถใชงานไดนานกวา 20 ป ขอเสียของเซลลแสงอาทิตยแบบซิลิคอน
คือ กรรมวิธีการเตรียมใหบริสุทธิ์และอยูในรูปของสารที่พรอมทําเซลลแสงอาทิตยยังมีราคาแพงและแตกหักไดงาย
เมื่อถึงขั้นตอนสุดทาย เซลลแสงอาทิตยซิลิคอนที่ใหประสิทธิภาพสูงสุด คือ อะตอมเรียงกัน เปนแบบผลึกเดี่ยว
(Single Crystal) หรือที่รูจักกันในชื่อ (Monoceystalling) การเตรียมสารซิลิคอนชนิดนี้เริ่มตนจากนําสารซิลิคอนมา
หลอมละลายแลวทําใหเกิดการจับตัวกันเปนผลึกเล็ก ๆ จากนั้นจะขยายขนาดขึ้นเรื่อย ๆ จนเปนแทงผลึก นําแทงผลึก
มาตัดใหเปนแผนบาง ๆ ดวยเลื่อยตัดเพชรจากนั้นเปนขบวนการทําใหผิวใหเรีย บโดยใชสารละลายอัลคาไล การผลิต
เซลลแสงอาทิตยอีกวิธีหนึ่งที่มีคาใชจายถูกกวาวิธีแรกคือการเทสารละลายซิลิคอนลงในแบบพิมพ เมื่อสารละลาย
ซิลิคอนแข็งตัวก็จะไดเปนแทงซิลิคอนแบบผลึกรวม (Polycrystalline) ความแตกตางระหวางแบบผลึกเดี่ยวและแบบ
ผลึกรวมสังเกตไดจากแบบผลึกรวมจะเห็นหนาผลึกหลาย ๆ หนาในแผนเซลล ในขณะที่แบบผลึกเดี่ยวจะเห็นเปนสี
เดียว คือสีน้ําเงินเขม เซลลแสงอาทิตยซิลิคอนแบบผลึกรวมนี้จะใหประสิทธิภาพต่ํากวาแบบผลึกเดี่ยว อยางไรก็ตาม
เซลลทั้ง 2 ชนิดมีขอเสีย คือแตกหักงาย

การผลิตเซลลแสงอาทิตยอีกชนิดหนึ่ง คือ การนําเทคนิคการเคลือบสารซิลิคอนที่เปนพิลมบาง (Thin film) บน


แผนแกวหรือแผนโลหะสารซิลิคอนที่ใชเปนแบบไมมีรูปผลึกหรืออะมอฟส (Amorphous) ซึ่งมีประสิทธิภาพในการ
เปลี่ยนรูปพลังงานต่ํากวา 2 แบบแรก แตปจจุบันไดมีการนําเทคโนโลยีสมัยใหมมาใชในการผลิตทําใหสามารถลดตน
ทุนการผลิตลงและเพิ่มประสิทธิภาพขึ้นดวย เชน เซลลแสงอาทิตยแบบฟลมบางที่มีโครงสรางเปนหลายชั้น (Triple
junction structure) เปนตน ขอดีของเซลลแบบอะมอฟส คือ มีน้ําหนักเบา สามารถบิดงอไดโดยไมแตกหัก ในมุม
มองของสถาปนิกยังใหความสําคัญตอความสวยงามของวัสดุที่ทําเซลลอีกดวย เซลลแสงอาทิตยแบบผลึกเดี่ยวจะเปน
สีน้ําเงิน และเปนเนื้อเดียวกันแบบผลึกรวมมีสีน้ําเงินเหมือนกัน แตตางกันที่ลวดลายบนหนาผลึก สวนเซลลแบบแผน
บางไมมีรูปผลึกจะมีสีน้ําตาลเหมือนกับที่ใชในเครื่องคิดเลขจากขอจํากัดเหลานี้ผูผลิตบางรายไดพยายามที่จะเปลี่ยนสี
ของเซลลนั้นอาจทําใหเกิดการสะทอนกลับของแสงที่ตกกระทบสูงขึ้นมีผลใหประสิทธิภาพการผลิตไฟฟาลดลง แผง
เซลลแสงอาทิตย (Solar Modules) แรงเคลื่อนไฟฟาที่ผลิตขึ้นจากเซลลเซลลเดี่ยวจะมีคาต่ํามากการนํามาใชงานจะ
ตองนําเซลลหลาย ๆ เซลลมาตอกันแบบอนุกรม เพื่อเพิ่มคาแรงเคลื่อนไฟฟาใหสูงขึ้น เซลลที่นํามาตอกันในจํานวน
และขนาดที่เหมาะสม เรียกวาแผงเซลลแสงอาทิตยไดดีและยังเปนเกราะปองกันแผนเซลลอีกดวยแผงเซลลจะตองมี
การปองกันความชื้นที่ดีมากเพราะจะตองอยูกลางแดดกลางฝนเปนเวลายาวนานในการประกอบจะตองใชวัสดุที่มีความ
คงทนและปองกันความชื้นที่ดีเชน ซิลิโคน และอีวีเอ (Ethelene Viny 1 Acetate) เปนตนเพื่อเปนการปองกัน
แผนกระจกดานบนของแผงเซลลจึงตองมีการทํากรอบดวยวัสดุทีมีความแข็งแรงแตบางครั้งก็ไมมีความจําเปนถามีการ
เสริมความแข็งแรงของแผนกระจกใหเพียงพอซึ่งก็สามารถทดแทนการทํากรอบไดเชนกันดังนั้นแผงเซลลจึงมีลักษณะ
เปนแผนเรียบ (Laminate) ซึ่งสะดวกในการติดตั้ง เซลลแสงอาทิตย 1 เซลลจะทําใหเกิดแรงเคลื่อนไฟฟาได 0.5
โวลท (DC) โดยไมขึ้นกับขนาดของเซลลสวนกระแสที่ผลิตไดจะขึ้นอยูกับขนาดของเซลล เชน เซลลที่มีพ้น ื ที่ 4 X 4
ตารางนิ้วจะใหกระแสประมาณ 3 แอมแปร กําลังผลิตประมาณ 15 วัตต ในกรณีที่ตองการใหแรงเคลื่อนไฟฟาสูงขึ้นทํา
ไดโดยการตอเซลลกันแบบอนุกรม (ขั้วบวกตอเขากับขั้วลบของอีกเซลลหนึ่ง) แตถาตองการเพิ่มกระแสตองตอกัน
แบบขนาน (ขั้วบวกตอกับขั้วบวกของอีกเซลล) เซลลภายในแผงเซลลแสงอาทิตยจะมีขั้วตอที่เปนขั้วบวกและขั้วลบตอ
กับแบบอนุกรมแลวตอรวมออกมานอกแผงเซลล (รูปที่ 4) โดยทั่วไปแผงเซลลแสงอาทิตยที่มีขายในทองตลาดจะมี
แรงเคลื่อนสูงสุดประมาณ 21-22 โวลท รูปที่ 4 โครงสรางของแผงเซลลแสงอาทิตย แบบผลึกซิลิกอน ชุดแผงเซลล
แสงอาทิตย (PV Array) สิ่งหนึ่งที่นาสนใจของเซลลแสงอาทิตยก็คือกําลังผลิตที่สามารถเพิ่มโดยการตอแผงเซลล
แสงอาทิตยเขาดวยกันเปนชุดหรือแถว (Array) ภายในชุดของแผงเซลลแสงอาทิตย มีหลักการตอ 2 วิธีคือ ตองการ
เพิ่มแรงเคลื่อนไฟฟาตองตอแบบอนุกรมตองการเพิ่มกระแสใหตอแบบขนาน ในกรณีของโครงการระบบผลิต และ
จําหนายไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตยบนหลังคาบาน 10 หลังแรกของประเทศไทยออกแบบระบบไวดังนี้ -

กําหนดแรงเคลื่อน (Rated Voltage) ที่ 255 โวลทกระแสตรงใชแผงเซลลตออนุกรมชุดละ 15 แผง - ใช 2 ชุด ตอง
ใชแผงทั้งหมด 30 แผง - แผงเซลลแตละแผงมีกําลังผลิตสูงสุด 75 วัตตกําลังผลิตสูงสุด 2,250 กิโลวัตต

- แผงหันไปทางทิศใตทํามุมเอียง 15-45 องศากับแนวนอนขึ้นอยูกับบานแตละหลัง

- ความเขมแสงอาทิตยเฉลี่ยตอวันใน 1 ป 4.5 กิโลวัตต-ชั่วโมง ตอรางเมตร - พลังงานไฟฟาที่คาดวาจะผลิตไดป


ละ 2,800 3,600 กิโลวัตต-ชั่วโมง

- ขนาดของแผงแตละแผง 1.20X0.527 เมตรแตละชุดมีพื้นที่เฉลี่ย 20 ตารางเมตร รมเงามีผลอยางไรตอการ


ผลิตกระแสไฟฟา บานพลังแสงอาทิตย 10 หลังแรกของประเทศไทยก็เหมือนกับติดตั้งเซลลแสงอาทิตยโดยทั่วไป
กลาวคือ ชุดแผงเซลลแสงอาทิตยจะผลิตไฟฟากระแสตรงกอนถูกแปลงใหเปนกระแสสลับ 220 โวลท โดยเครื่อง
แปลงกระแสไฟฟา (Inverter) เครื่องแปลงกระแสจะตอตรงเขารับระบบหลักของบานดังนั้นกระแสไฟฟาที่ผลิตจาก
เซลลแสงอาทิตยจึงสามารถใชไดทันทีแผงเซลลแสงอาทิตยที่ติดตั้งใหกับผูรวมโครงการมีแรงเคลื่อนไฟฟากระแสตรง
255 โวลท (ชนิดผลึกเดี่ยว) และ 240 โวลท (ชนิดอะมอรฟส) ซึ่งเปนคาที่เหมาะสมกับเครื่องแปลงกระแสไฟฟาที่ใช
ในโครงการนี้ในบางกรณีในสถานีที่ไมตองการใชไฟฟามากนักไฟฟาที่ผลิตไดจะไมถูกเปลี่ยนเปนไฟฟากระแสสลับยัง
คงเปนไฟฟากระแสตรงที่มีแรงเคลื่อนต่ําเพื่อใชกับเครี่องใชไฟฟาที่มีความเหมาะสมพลังงานที่ผลิตไดจะเก็บไวใน
แบตเตอรี่ขนาด 12 โวลท ดังนั้นแผงเซลลแสงอาทิตยโดยทั่วไปจะถูกออกแบบใหสามารถประจุไฟฟาเขา
แบตเตอรี่ไดโดยตรงถึงแมวาแรงเคลื่อนไฟฟาสูงสุดในแตละแผงประมาณ 21-22 โวลท แตเมื่อใชงานจริงแรงเคลื่อน
ไฟฟาจะลดลงเหลือ 16-17 โวลทเทานั้นซึ่งเทากับกระแสที่ใชในการชารจแบตเตอรี่ทั่วไป ดังนั้นเมื่อนําเซลลแสง
อาทิตยมาใชชารจแบตเตอรี่ จึงไมจําเปนตองนําแผงมาตอกันแบบอนุกรมเพื่อเพิ่มแรงเคลื่อนไฟฟา แตอยางใด แผง
เซลลแสงอาทิตยหากถูกบดบังจากรมเงาแมจะเปนพื้นที่เพียงเล็กนอยก็ตามแตก็มีผลตอพลังงานที่ผลิตอยางมาก การ
ตอแบบอนุกรมของตัวเซลลภายในแผงนั้นหมายถึงการที่เซลลแตละเซลลยอมใหกระแสไหลผานไดแตเมื่อเซลล ๆ
หนึ่งถูกบดบังไมเพียงแตเซลล ๆ นั้นจะไมสามารถผลิตกระแสไฟฟาไดแลว แตยังเปนอุปสรรคตอการไหลผานของ
ไฟฟาในวงจรอีกดวย (ในขบวนการผลิตไฟฟาของเซลลแสงอาทิตยเห็นไดวาโฟตอนจะทําใหเกิดการพาประจุใน pn
junction ดังนั้นประจุจะไมสามารถไหลผาน pn junction ไดโดยปราศจาก โฟตอน) ดังนั้นการถูกบดบังแมจะเปนเซลล
เพียงเซลลเดียวก็ตามแตก็มีผลเหมือนกับการถูกบดบังทั้งแผงเซลลเลยทีเดีย ว ซึ่งผลกระทบนี้สามารถลดไดถามีการ
ตอระบบแบบขนาน คุณสมบัติทางไฟฟาของเซลลแสงอาทิตย คุณสมบัติทางไฟฟาของเซลลแสงอาทิตยสามารถ
แสดงไดโดยใช I-V curve ซึ่งมีประโยชนมากสําหรับใชตรวจสอบกําลังผลิตสูงสุดของเซลลแสงอาทิตย หมายถึง
กระแสไฟฟา ซึ่งแทนดวยเสนกราฟในแกน Y และ V หมายถึง แรงเคลื่อนไฟฟาแทนดวยเสนกราฟในแกน X รูปที่ 5
การสราง I-V curve I-V curve มาตรฐานที่ใชสําหรับหากําลังผลิตสูงสุด หรือ Wp (peak watts) ของแผงเซลลแสง
อาทิตยนั้น ไดมาจากทดสอบในสภาวะมาตรฐานที่กําหนดโดยใชแสงสองสวางมาตรฐาน (Solar simulator) ที่
อุณหภูมิของเซลลคงที่ 25๐ ในการสราง I-V curve สิ่งแรกตองวัดก็คือแรงเคลื่อนไฟฟา (V) ที่ไมมีการตอโหลดเรา
เรียกวา Open circuit voltage จะใหคาแรงเคลื่อนไฟฟาในแกน X (V) เพราะไมมีกระแสไหลผาน (รูปที่ 5) จุดทุกจุด
เขาดวยกันจะเกิดเปน I-V curve เมื่อตอโหลดที่มีคาตาง ๆ กันคาของกระแสและแรงเคลื่อนจะถูกบันทึกเก็บไว เมื่อตอ
ภายใตสภาวะเฉพาะของ Irradiance และอุณหภูมิตาง ๆ กันสิ่งที่นาสนใจที่สุดก็คือ กําลังงานสูงสุด (maximum
power) ที่ไดในแตละภายใตสภาวะนั้น ๆ ในทางไฟฟากําลังงานที่ไดมีหนวยเปนวัตต (Watt) ซึ่งเกิดจากแรงเคลื่อน
และกระแสไฟฟาสําหรับกําลังงานสูงสุด (maximum power) จะถูกแทนดวยรูปสี่เหลี่ย มผืนผาที่มีพื้นที่มากที่สุดภาย
ใตเสน I-V curve โดยจุดสัมผัสที่อยูบนเสน curve เรียกวา knee (รูปที่ 6) ซึ่งมีหนวยเปนวัตตสูงสุด (Wp) หรือ peak
watt คานี้จะถูกระบุไวในขอกําหนด (Speciflcation) ของแผงเซลลแสงอาทิตยจากบริษัทผูผลิต รูปที่ 6 คุณสมบัติ
ทางไฟฟาของ เซลลแสงอาทิตยโดยใช I-V curve ตางกับการจายระบบไฟฟาจากดีเซลที่เปนกระแสสลับ 230 โวลท
ไมมีการจํากัดจํานวนอุปกรณที่ใช แตถาเปนเซลลแสงอาทิตยยิ่งใชกระแสมาก แรงเคลื่อนไฟฟาก็จะตกจึงมีขอจํากัดใน
การใช (จากการทํางานของเซลลแสงอาทิตยที่อธิบายไวในตอนตนจะเห็นไดวา โฟตอนในแสงแดดถูกดูดซับโดย
เซลลแสงอาทิตย จะทําใหเกิดตัวพาประจุ (charge carrier) 1 คู ดังนั้นปริมาณกระแสไฟฟาจึงขึ้นกับปริมาณความเขม
ของแสงอาทิตยโดยตรง ถาเซลลแสงอาทิตยถูกทําใหเกิดการลัดวงจรโดยใชแอมปมิเตอรคาที่วัดไดเรียกวา Short
circuit current ซึ่งจะใหคาบนแกน Y (I) เพราะวาในสภาวะการณเชนนั้นคาแรงเคลื่อนไฟฟามีคานอยที่สุด หมายเหตุ
การทําใหเกิดการลัดวงจรในเซลลแสงอาทิตยจะไมกอใหเกิดความเสียหายกับแผงเซลล ขอกําหนดของกําลังผลิตสูง
สุด (The peak power specification) Wp หมายถึง กําลังผลิตสูงสุด (Peak Watt) ที่ใชวัดกําลังผลิตไฟฟาสูงสุดของ
แผงเซลลภายใตสภาวะมาตรฐานที่ใชในการทดสอบซึ่งมีหนวยเปนวัตต (watt) กําลังผลิตสูงสุดของแผงเซลลแสง
อาทิตยที่บริษัทผูผลิตแสดงไวที่แผงนั้นไดจาก I-V curve ที่ทดสอบในสภาวะมาตรฐานโดยกําหนดความเขมของแสง
ตกกระทบที่ 1,000 W/M 2 ณ. อุณหภูมิของเซลล 25๐ (รูปที่ 7) กําลังผลิตสูงสุดของระบบเซลลแสงอาทิตยจะสัมผัส
กับความเขมของแสงอาทิตยและอุณหภูมิของแผงเซลลเปนสําคัญในการใชงานเพื่อใหเกิดกําลังงานสูงสุด
(Maximum power) จึงจําเปนตองมีอุปกรณตอพวงกับระบบเซลลแสงอาทิตยเรียกวา Maximum Power Point
Tracking (MPPT) คือเปนตัวที่กําหนดจุดทํางานของแผงเซลลหรือชุดแผงเซลลที่จุดใหกําลังงานสูงสุดจาก I-V
curve ซึ่งชุด MPPT นี้สามารถใชงานไดโดยตรงกับปมน้ําประจุแบตเตอรี่และเครื่องแปลงกระแส (Inverter) ซึ่งเครื่อง
แปลงกระแสที่ออกแบบอยางดีจะมีอุปกรณ MPPT อยูในเครื่องแลว รูปที่ 7 I-V curve ที่แสดง peak power ความลาด
เอียงของแผง ในการติดตั้งแผงเซลลแสงอาทิตยจะตองติดตั้งใหมีความลาดเอียงเพียงพอเพื่อที่จะใหไดรับแสงแดด
มากที่สุดและอีกประการหนึ่งเพื่อใหเกิดการระบายนําฝนไดอยางรวดเร็ว เพื่อเปนการชําระลางสิ่งสกปรกที่ติดคางอยูบน
แผงเซลลดวย การเลือกมุมความลาดเอียง และทิศทางของแผงที่เหมาะสมนั้น จะขึ้นอยูกับตําแหนงของสถานที่วาตั้ง
อยูเสนรุงเทาไร สําหรับประเทศไทยดีที่สุด คือ 15 องศา โดยมีทิศทางหันหนาไปทางทิศใตแตอยางไรก็ตามถามีการ
นําเซลลแสงอาทิตยไปติดบนหลังคาบานมุมเอียงของแผงโดยทั่วไปจะอยูในชวง 15-45 องศา หรือขึ้นกับความลาด
เอียงของหลังคาบานเปนสําคัญ อีกวิธีหนึ่งที่ทําใหเซลลแสงอาทิตยทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุดก็คือ การปรับ
แผงใหเอียงตามการโคจรของดวงอาทิตย (Tracking) แตวิธีนี้จะสิ้นเปลืองคาใชจายมากดังนั้นในทางปฎิบัติจึงติดตั้ง
แผงใหมีความลาดเอียงที่คาใดคาหนึ่งเทานั้น ปริมาณพลังงานแสงอาทิตย ถึงแมวาจํานวนชั่วโมงที่พระอาทิตยสอง
สวางมายังพื้นโลกจะสามารถหาไดโดยใชขอมูลของกรมอุตุนิยมวิทยาแตขอมูลนี้ไมสามารถนําไปใชในการคํานวณหา
ปริมาณไฟฟาที่ผลิตไดจากเซลลแสงอาทิตยเพราะวาปริมาณไฟฟาที่ผลิตจากเซลลแสงอาทิตยจะขึ้นอยูกับอัตราการ
ตกกระทบของรังสีดวงอาทิตยทั้งที่เปนรังสีตรงและรังสีกระจากย (global irradience) ณ. ชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง
(Insolation) โดยมีหนวยเปนกิโลวัตต - ชั้วโมงตอ ตารางเมตร (kWh / m2 ) ขอสังเกตอัตราการตกกระทบของ
รังสีดวงอาทิตยที่ถือวาเปนมาตรฐานที่ใชสําหรับเปนตัวกําหนดกําลังงานสูงสุดนั้นมีคาเทากับ 1,000 วัตต ตอตาราง
เมตร หรือ 1 กิโลวัตตตอตารางเมตร ในทางกลับกันเราอาจจะกลาวถึงพลังงานที่ตกกระทบพื้นผิวในแตละวันในรูปของ
จํานวนชั่วโมงการไดรับกําลังงานสูงสุดคงที่ 1 กิโลวัตตตอตารางเมตร (Peak hour per day) ซึ่งเทากับจํานวน
กิโลวัตตชั่วโมงตอตารางเมตรตอวัน (Kwh / m 2 per day) สมรรถนะของระบบ ปริมาณของพลังงานที่ผลิตไดใน 1
วัน จากเซลลแสงอาทิตยจะขึ้นอยูกับสภาวะอากาศและฤดูกาลเพื่อที่จะตัดปญหาความยุงยากตาง ๆ ในการคํานวณหา
สมรรถนะของระบบนั้นควรใชปริมาณพลังงานไฟฟาเฉลี่ยที่ผลิตในเวลา 1 ป ซึ่งมีหนวยเปนกิโลวัตต - ชั่วโมง (kWh)
หนวยหรือหนวย (Unit) ซึ่งเหมือนกับการวัดปริมาณการใชไฟฟาตามบานเรือนทั่วไปผลผลิตที่ไดในรอบปขึ้นอยูกับ 3
องคประกอบดังนี้ 1. ปริมาณพลังงานแสงอาทิตย (Insolation) ปริมาณพลังงานแสงอาทิตยที่ตกกระทบบนแผงเซลล
แสงอาทิตยในรอบป (Annual insolation) จะขึ้นอยูกบ ั ตําแหนงที่ตั้งทางภูมิศาสตรของพื้นที่มุมเอียงของแผงและทิศ
ทางที่เบี่ยงเบนจากทิศใต 2. อุณหภูมิของเซลลแสงอาทิตยในขณะทํางานเปนตัวแปรตัวหนึ่งที่สงผลกระทบตอกําลัง
ผลิตของเซลลแสงอาทิตยโดยทั่วไปประสิทธิภาพของเซลลจะลดลง 0.5 % เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 องศา 3.
ประสิทธิภาพของระบบ (Electrical conversion efficiency) ระบบเซลลแสงอาทิตยสวนใหญประกอบไปดวยชุดแผง
เซลลแสงอาทิตยอุปกรณตอเชื่อมและเครื่องแปลงกระแสดังนั้นประสิทธิภาพของระบบจึงขึ้นอยูกับคุณภาพของอุปกรณ
ดังกลาว พลังงานที่ผลิตไดใน 1 ป (Annual specific yield) เปนพารามิเตอรที่สําคัญที่ใชในการเปรียบเทียบ และวัด
สมรรถนะของระบบซึ่งคํานวณไดจากพลังงานไฟฟาที่ผลิตไดทั้งหมด (Totak electric output) หารดวยกําลังผลิตสูง
สุดชุดแผงเซลลแสงอาทิตย (peak power of array) จากขอกําหนดดังกลาวเราสามารถนําไปคํานวณคาตาง ๆ ขอมูล
เฉลี่ยของประเทศไทยจากการรวบเก็บขอมูลโดยการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศแสดงวาพลังงานไฟฟาที่ผลิตไดจาก
เซลลแสงอาทิตยในรอบปมีคาประมาณ 1,200 - 1,400 กิโลวัตตชั่วโมงตอกิโลวัตตสูงสุดตอป (ขอมูลนี้ไดจากเซลล
แสงอาทิตยรุนเกา) แตสําหรับเซลลที่ติดตั้งที่บานของผูเขารวมโครงการระบบผลิตและจําหนายไฟฟาจากเซลลแสง
อาทิตยบนหลังคาบาน 10 หลังแรกนั้นเปนเซลลรุนใหม ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงกวาคาดวาพลังงานไฟฟาที่ผลิตได
ประมาณ 1,300 - 1,600 กิโลวัตตชั่งโมงตอกิโลวัตต สูงสุดตอป เอกสารอางอิง 1. 21 AD Architecture Digest for
the 21th Century "PHOTOVOLTAICS" Oxford Brookes University , sponsored by BP Solar , 25 p. 2. "Solar
Energy Utilization Technology" , New Energy and Industrial Technology Development Organization
(NEDO), Solar Energy Department , 31 p 3. Solar Photovoltaic Power Generation Using PV Technology ,
Vol. 1 , The Technology , ASIAN Development Bank finances study , 62 p.

โซลาเซลลคืออะไร
ตอบงายสุดๆ โซลาเซลก็คือเครื่องชารจแบตเตอรี่นั่นเอง แผงโซลาเซลวัตตสูงชารจเร็ว วัตตต่ําชารจชา โดยใช
แสงอาทิตยเปนตัวกําเนิดพลังงานไฟฟา เราใชงานตอนกลางคืนหรือตอนกลางวันในสวนไฟฟาที่เหลือจากการชารจ
ของแบตเตอรี่รถยนตซึ่งเปนไฟฟา 12V. และถาตองการไฟฟา 220V.เราจําเปนตองมีตัวแปลงไฟฟา นั่นก็คือ ....

Inverter : อินเวอรเตอร

คือเครื่องแปลงไฟแบตเตอรี่รถยนต 12V.เปนไฟบาน 220V. อินเวอรเตอรมีวัตตตหลายขนาด ตั้งแต 75วัตต จนถึง


2400วัตต ซึ่งแลวแตเครื่องใชไฟฟาของทานกินกําลังไฟฟาเทาไร

z เชน บางทานเอาไปใชงานเกี่ยวกับอุปกรณกูภัยใช 800วัตต พวกหลอดไฟฟาสองทางเวลาเกิดไฟไหม


z สวานไฟฟา เครื่องตัดไฟฟา หินเจียร เปนตน
z เอาไปใชเที่ยวปา หุงขาว ทําอาหาร
z สูบน้ําจากลําธาร
z ดูทีวี ใชพัดลม
z เอาไปใชกับอุปกรณ Computer เชน Notebook PC Printer ตางๆ แลวไปจอดรถหนาหางสรรพสินคาทั่วไป รับ
จาง ทํานามบัตร ถายรูปดวน สงFax เลนอินเตอรเนท สงอีเมล ก็ยังมีเห็นมีอยูบอยๆเลย หรือหรืออีกที บาง
หนวยงาน
z ไปใชรวมกับโซลาเซลบาง บางหนวยงานรถไฟฟาใตดิน นําแบตเตอรี่มาพวงกับอินเวอรเตอรแลวใสรถเข็นไป
ไปบนรางรถไฟนําอุปกรณ ขุด ตัด ตอ เจียร มาตอเครื่องนี้ไดทุกที่ๆเข็นรถคันนี้ไป ไมตองโยงสายไฟฟาให
เกะกะ หรือยาวมากๆซึ่งสินเปลื่องคาสายไฟฟามากกวาใชอินเวอรเตอรนี้ ตกตอนเย็นก็นําแบตเตอรี่มาชารท
ใหม ตอนเชาก็เข็นไปบนรางรถไฟและใชไดเหมือนเดิม
z บางรานคา หรือบานที่อยูอาศัย ก็นําไปใชเปนไฟฟาฉุกเฉินไดสบายโดยตอเครื่องนี้กับแบตเตอรี่อีกเชนกัน
เวลาไฟฟาดับ ก็สับคัทเอาทไฟฟาออก หาปลั๊กไฟฟาตัวผู 2หัว มาตอเขากับเครื่องนี้ 1หัว สวนอีก 1หัวเสียบ
เขากับปลั๊กไฟฟาเดิมที่บานทาน ทานก็จะมีไฟฟาใชปกติเชนเดิม เวลาไฟฟา ของการไฟฟามา ทา นก็ดึง
ปลั๊กที่เสียบปลั๊กไฟฟาเดิมของบานทานออก แลวสับคัทเอาทขึ้น ทานก็ยังใชไฟฟาของการ
ไฟฟาไดเหมือนเดิม ตามปกติ และโปรดจําไวเสมอวา ถาทานยังไมปดสวิทชที่อิน
เวอรเตอรแสดงวาปลั๊กไฟฟาตัวผู 2หัวเสนนั้นยังมีไฟฟา 220โวลทอยูพึงระวังไว
เสมอ... .
z +++ ตัวอยางการใชงาน โดยหาแบตเตอรี่ 12โวลทมาตอพวงกับอินเวอรเตอร +++
z Notebook ทั่วไปตัวมันกินไฟฟาพรอมชารทแบตเตอรี่ของเครื่อง ก็ใช 75วัตต
z ทีวีสี 14-20นิ้ว หลังทีวีนั้นมีบอกกินไฟฟา 70วัตต
z ทีวีสี 25-29นิ้ว ใช 200วัตต
z มีเครื่องเลน VCD DVD รวมดวยใช 400วัตต
z พัดลม 12นิ้วใช 75วัตต

กรณใชอินเวอรเตอรเปนไฟสํารองฉุกเฉิน

z บาน รานอาหารตางๆ เดี๋ยวนี้เขาใชอินเวอรเตอรเปนเครื่องสํารองไฟฟาใชกันแลว พอไฟฟาดับ อินเวอรเตอรก็


ทํางานอัตโนมัติ เครื่องใชไฟฟาตางๆก็ทํางานไดปกติ พอไฟฟามา ก็มีเครื่องชารตแบตเตอรี่ชารตใหแบตเตอรี่
เต็มตลอดเวลาใชในครั้งตอไป
z ถาใชเกี่ยวกับอุปกรณการเลี้ย งปลาก็หาที่ชารจแบตเตอรี่มาตอรวมเวลาไฟดับอุปกรณนั้นยังทํางานตลอด

ขอควรคิด "ทานตองคิดเสมอวาการที่จะใหอินเวอรเตอรทํางานนานๆหรือใหกําลังไฟฟาวัตตสูงๆ(2400วัตต) ทาน


ตองมีแบตเตอรี่จายไฟใหเหมาะสมหรือหลายลูก ไมใชมีแบตเตอรี่เล็กๆลูกเดียวแลวทานจะใชไดนานๆหรือวัตตสูงๆ ถา
เปนเชนนั้นผมคงขายไฟฟาแขงกับการไฟฟาฝายผลิตดวยแบตเตอรี่เล็กๆลูกเดียวดีกวามาขายอินเวอรเตอรแลวครับ
ตองคํานวณใหเหาะสมกับการใชงาน เชน 75วัตตกินไฟฟาแบตเตอรี่รถกระบะไดประมาณ 16 ชั่วโมง แตถา 2400
วัตตก็ประมาณ 30นาที ที่Loadสูงสุดครับ"

รายละเอียดของเครื่องใชไฟฟา

สูตร: Watts หาร 220V. = Amps ........ Amps คูณ 220V. = Watts

Required Watts for Common Appliances:

1. Coffee pot (10 cup) 1200W. Coffee pot (4 cup) 650W


2. VCR 40-60W. .
3. CD or DVD Player 35W.
4. Toaster 800-1500W.
5. Stereo 30-100W.
6. Cappuccino Maker 1250W.
7. Clock Radio 50W.
8. Coffee Grinder 100W.
9. AM/FM car cassette 10W.
10. Blender 300W.
11. Satellite dish 30W.
12. Microwave (600 to 1000 W cooking power) 1100-2000W (elec. consumption)
13. Vacuum cleaner 300-1100W.
14. Waffle iron 1200W.
15. Mini Christmas lights (50) 25W.
16. Hot plate 1200W.
17. Space Heater 1000-1500W.
18. pan 1200W. Iron 1000W.
19. Toaster Oven 1200W.
20. Washing machine 920W.
21. Blow dryer 900-1500W.
22. 12" 3 speed table fan 230W.
23. Computer - laptop 50-75W. -
24. pc & monitor 200-400W. -
25. printer-inkjet 60-75W.
26. TV - 25" color 300W. -
27. 19" color TV or monitor 160W. - 12" b&w 30W.
28. 13" color TV/VCR Combo 300W.
29. Refrigerator/Freezer 600W.
30. Game Console (X-Box) 100W.
31. Refrigerato 500-800W.
32. Furnace Fan (1/3hp) 1200W.

Required Watts for Common Tools:

Jig Saw 300W. 1/4" drill 250W. Band Saw 1200W. 3/8" drill 500W. Table Saw 1800W. Shop Vac 5 hp
1000W. 1/2" drill 750W. 6 1/2" circ. saw 1000W. 7 1/4" circ. saw 1200W. 8 1/4" circ. saw 1800W. Sabre
Saw 500W. Portable Grinder 1380W. Disc Sander 1200W. Electric Chain Saw 14" 1200W. Makita Chop
Saw 1550W. Airless Sprayer 1/2 hp 600W. Makita Cut Off Saw 1000W. Air Compressor 1 hp 2000W.

Make a solar cell in your kitchen

A solar cell is a device for converting energy from the sun into
electricity. The high-efficiency solar cells you can buy at Radio
Shack and other stores are made from highly processed silicon, and
require huge factories, high temperatures, vacuum equipment, and
lots of money.

If we are willing to sacrifice efficiency for the ability to make our


own solar cells in the kitchen out of materials from the
neighborhood hardware store, we can demonstrate a working solar
cell in about an hour.

Our solar cell is made from cuprous oxide instead of silicon.


Cuprous oxide is one of the first materials known to display the
photoelectric effect , in which light causes electricity to flow in a
material.

Thinking about how to explain the photoelectric effect is what led


Albert Einstein to the Nobel prize for physics, and to the theory of
relativity.

Materials you will need

The solar cell is made from these materials:

1. A sheet of copper flashing from the hardware store. This


normally costs about $5.00 per square foot. We will need
about half a square foot.
2. Two alligator clip leads.
3. A sensitive micro-ammeter that can read currents between
10 and 50 microamperes. Radio Shack sells small LCD
multimeters that will do, but I used a small surplus meter
with a needle.
4. An electric stove. My kitchen stove is gas, so I bought a
small one-burner electric hotplate for about $25. The little
700 watt burners probably won't work -- mine is 1100 watts,
so the burner gets red hot.
5. A large clear plastic bottle off of which you can cut the top. I
used a 2 liter spring water bottle. A large mouth glass jar
will also work.
6. Table salt. We will want a couple tablespoons of salt.
7. Tap water.
8. Sand paper or a wire brush on an electric drill.
9. Sheet metal shears for cutting the copper sheet.

How to build the solar cell

My burner looks like this:

The first step is to cut a piece of the copper sheeting that is about
the size of the burner on the stove. Wash your hands so they don't
have any grease or oil on them. Then wash the copper sheet with
soap or cleanser to get any oil or grease off of it. Use the
sandpaper or wire brush to thoroughly clean the copper sheeting,
so that any sulphide or other light corrosion is removed.

Next, place the cleaned and dried copper sheet on the burner and
turn the burner to its highest setting.

As the copper starts to heat up, you will see beautiful oxidation
patterns begin to form. Oranges, purples, and reds will cover the
copper.

As the copper gets hotter, the colors are replaced with a black
coating of cupric oxide. This is not the oxide we want, but it will
flake off later, showing the reds, oranges, pinks, and purples of the
cuprous oxide layer underneath.

The last bits of color disappear as the burner starts to glow red.
When the burner is glowing red-hot, the sheet of copper will be
coated with a black cupric oxide coat. Let it cook for a half an hour,
so the black coating will be thick. This is important, since a thick
coating will flake off nicely, while a thin coat will stay stuck to the
copper.

After the half hour of cooking, turn off the burner. Leave the hot
copper on the burner to cool slowly. If you cool it too quickly, the
black oxide will stay stuck to the copper.

As the copper cools, it shrinks. The black cupric oxide also shrinks.
But they shrink at different rates, which makes the black cupric
oxide flake off.

The little black flakes pop off the copper with enough force to make
them fly a few inches. This means a little more cleaning effort
around the stove, but it is fun to watch.

When the copper has cooled to room temperature (this takes about
20 minutes), most of the black oxide will be gone. A light scrubbing
with your hands under running water will remove most of the small
bits. Resist the temptation to remove all of the black spots by hard
scrubbing or by flexing the soft copper. This might damage the
delicate red cuprous oxide layer we need to make to solar cell
work.

The rest of the assembly is very simple and quick.

Cut another sheet of copper about the same size as the first one.
Bend both pieces gently, so they will fit into the plastic bottle or jar
without touching one another. The cuprous oxide coating that was
facing up on the burner is usually the best side to face outwards in
the jar, because it has the smoothest, cleanest surface.

Attach the two alligator clip leads, one to the new copper plate,
and one to the cuprous oxide coated plate. Connect the lead from
the clean copper plate to the positive terminal of the meter.
Connect the lead from the cuprous oxide plate to the negative
terminal of the meter.

Now mix a couple tablespoons of salt into some hot tap water. Stir
the saltwater until all the salt is dissolved. Then carefully pour the
saltwater into the jar, being careful not to get the clip leads wet.
The saltwater should not completely cover the plates -- you should
leave about an inch of plate above the water, so you can move the
solar cell around without getting the clip leads wet.

The photo above shows the solar cell in my shadow as I took the
picture. Notice that the meter is reading about 6 microamps of
current.

The solar cell is a battery, even in the dark, and will usually show a
few microamps of current.

The above photo shows the solar cell in the sunshine. Notice that
the meter has jumped up to about 33 microamps of current.
Sometimes it will go over 50 microamps, swinging the needle all
the way over to the right.

How does it do that?

Cuprous oxide is a type of material called a semiconductor. A


semiconductor is in between a conductor, where electricity can flow
freely, and an insulator, where electrons are bound tightly to their
atoms and do not flow freely.

In a semiconductor, there is a gap, called a bandgap between the


electrons that are bound tightly to the atom, and the electrons that
are farther from the atom, which can move freely and conduct
electricity.

Electrons cannot stay inside the bandgap. An electron cannot gain


just a little bit of energy and move away from the atom's nucleus
into the bandgap. An electron must gain enough energy to move
farther away from the nucleus, outside of the bandgap.
Similarly, an electron outside the bandgap cannot lose a little bit of
energy and fall just a little bit closer to the nucleus. It must lose
enough energy to fall past the bandgap into the area where
electrons are allowed.

When sunlight hits the electrons in the cuprous oxide, some of the
electrons gain enough energy from the sunlight to jump past the
bandgap and become free to conduct electricity.

The free electrons move into the saltwater, then into the clean
copper plate, into the wire, through the meter, and back to the
cuprous oxide plate.

As the electrons move through the meter, they perform the work
needed to move the needle. When a shadow falls on the solar cell,
fewer electrons move through the meter, and the needle dips back
down.

A note about power

The cell produces 50 microamps at 0.25 volts.


This is 0.0000125 watts (12.5 microwatts).
Don't expect to light light bulbs or charge batteries with this device.
It can be used as a light detector or light meter, but it would take
acres of them to power your house.

The 0.0000125 watts (12.5 microwatts) is for a 0.01 square meter


cell, or 1.25 milliwatts per square meter. To light a 100 watt light
bulb, it would take 80 square meters of cuprous oxide for the sunlit
side, and 80 square meters of copper for the dark electrode. To run
a 1,000 watt stove, you would need 800 square meters of cuprous
oxide, and another 800 square meters of plain copper, or 1,600
square meters all together. If this were to form the roof of a home,
each home would be 30 meters long and 30 meters wide, assuming
all they needed electricity for was one stove.

There are 17,222 square feet in 1,600 square meters. If copper


sheeting costs $5 per square foot, the copper alone would cost
$86,110.00 USD. Making it one tenth the thickness can bring this
down to $8,611.00. Since you are buying in bulk, you might get it
for half that, or about $4,300.00.

If you used silicon solar panels costing $4 per watt, you could run
the same stove for $4,000.00. But the panels would only be about
10 square meters.

Or, for about a dollar, you can build a solar stove out of aluminum
foil and cardboard. For about $20, you can build a very nice
polished aluminum parabolic solar cooker.

27-04-2007 Views: 14703

Copyright©2009 goodsclick.com goodsclick@yahoo.com

You might also like