You are on page 1of 10

13

บทที่ 2
องคประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรมีองคประกอบที่สําคัญอยู 5 องคประกอบ ดังนี้

รูปที่ 5 องคประกอบที่สําคัญในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร

1. Hardware คือ อุปกรณคอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวงที่จําเปนตางๆ เพื่อใชในการนําเขา


จัดการ ประมวลผล และแสดงผลบนหนาจอคอมพิวเตอรเองหรือที่เครื่องพิมพ เปนตน เราสามารถ
แบงตามหนาที่และการใชงานไดดังนี้

หนวยรับขอมูล (Input Unit) คือ อุปกรณซึ่งทําหนาที่รับขอมูลจากผูใชเขาสูระบบคอมพิวเตอร เชน


คียบอรด, เมาส และดิจิไทเซอร (Digitizer) เปนสวนในการเปลี่ยนรูปแบบขอมูลจากแผนที่ใหอยูใ น
รูปของดิจิตอลจัดสงไปยังหนวยประมวลผลกลาง และหนวยจัดเก็บขอมูล

-Digitizer คือเครื่องลากขอบเขต บนแผนทีใ่ หกับเครื่องคอมพิวเตอร ซึ่งจะเปนขัน้ ตอนที่


เสียเวลามากขัน้ ตอนหนึ่ง

รูปที่ 6 แสดงเครื่องลากขอบเขตแบบมีขาตัง้ และแบบกระดาน

-Scanner คือเครื่องกราดตรวจ เปนเครื่องมือที่แปลงขอความ เอกสาร และแผนที่ ใหอยูใน


รูปดิจิตอลที่อยูในรูปของ file รูปภาพ เชน ไฟลที่มีนามสกุล .jpg .bmp .tiff .png .gif เปนตน

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ


14

รูปที่ 7 แสดงตัวอยางของสแกนเนอรแบบแบน กับ แบบดรัม

หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Units-CPU) คือ อุปกรณซึ่งทําหนาที่ประมวลผลขอมูล


ในระบบคอมพิวเตอร หรือทําหนาที่เปนสมองของเครื่องคอมพิวเตอร ซึ่งจะมีหนวยควบคุม
(Control Unit) ในการจัดลําดับการทํางานของระบบ และหนวยคํานวณเปรียบเทียบขอมูล
(Arithmetic - Logic Unit) โดยใชหลักคณิตศาสตร และตรรกศาสตร

หนวยแสดงผล (Output Units) คือ อุปกรณซึ่งทําหนาทีแ่ สดงผลลัพธที่เกิดจากการประมวลผล


ออกมา เชน จอภาพ, พล็อตเตอร (Plotter) เปนเครื่องวาดแผนที่ขนาดใหญ การแสดงผลขอมูลสวน
ใหญจะเปนลายเสน และเครื่องพิมพ (Printer) จะแสดงขอมูลเปนตัวอักษรหรือขอความตางๆ
(text) เปนสวนใหญ
เครื่องพิมพที่ใชสวนมากจะเปนแบบ Ink ใชวิธีพนหมึกจากหัวฉีด (Ink Jet) ชนิดเปนสี
สวนเครื่อง Plotter เปนเครื่องมือสําหรับแสดงผลในรูปของกราฟก หรือ ลายเสน เปนสวนใหญ
อาจจะเปนแบบแผนระนาบมีปากกา และกลไกจับปากกาสําหรับลากหรือวาดวาด หรือเปนแบบ
พนหมึก (Ink Jet) ก็มีสําหรับขนาดกระดาษที่ใชก็มีขนาดตั้งแต A4 ไปจนถึง A0

รูปที่ 8 แสดง ตัวอยางของเครื่อง Plotter

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ


15

หนวยติดตอสื่อสาร (Communication Units) คือ อุปกรณซึ่งทําหนาที่สื่อสารขอมูลจากคอมพิวเตอร


เครื่องหนึ่งไปยังเครื่องอื่นบนเครือขาย เชน Network Card, MODEM เปนตน

อุปกรณบันทึกขอมูล (Storage Device) คือ อุปกรณซึ่งทําหนาที่เก็บบันทึกขอมูลไวเพือ่ ใชในการ


ประมวลผลครั้งตอไป เชน
-ฮารดดิสก (Hard Disk Drive)

-แผนดิสเก็ตต (Floppy Disk Drive)

-แผนซีดี (CD) โดยบันทึกผานเครื่องซีดีไรเตอร (CD-ReWritable Drive) ซึ่งแผนซีดี


มี 2 ประเภทคือCD-R บันทึกแลวจะทําการลบเพื่อบันทึกซ้ําไมได และ CD-RW เมื่อบันทึกแลว
สามารถทําการลบออกและบันทึกซ้ําใหมได สื่อ CD นี้สวนใหญจะบรรจุขอมูลได 800 MB
-แผนวีซีดี (VCD) และ ดีวีดี (DVD) จะใชกับการบันทึกไฟลขนาดใหญ เชน ขอมูลมัลติมิ
เดีย ที่มีทั้งภาพเคลื่อนไหวและเสียง

2. Software คือ ชุดคําสั่งที่สั่งใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางานตามขั้นตอนที่กําหนดไว เพื่อใหได


ผลลัพธตามที่ผูใชคอมพิวเตอรตองการ ซอฟตแวรจะทําหนาที่จดั การ, ควบคุมการประมวลผลของ
คอมพิวเตอรตงั้ แตเปดเครื่องจนกระทั่งปดเครื่อง ซึ่งมีรายละเอียดของซอฟตแวรตาง ๆดังนี้
ซอฟตแวรระบบ (System Software) หรือที่เรียกวา Operating System (OS) เปน
โปรแกรมควบคุมระบบเครื่องคอมพิวเตอร มีความสําคัญที่สุด และจําเปนที่เครื่องคอมพิวเตอรตอง
เรียกมาใชกอนซอฟตแวรประเภทอื่น เพราะทําหนาที่ควบคุมระบบการทํางานของเครื่อง
คอมพิวเตอรรวมทั้งอุปกรณตางๆ ที่ติดตออยูดวย โดย OS จะเปนตัวสั่งการหนวยควบคุม (CPU)
และประสานการทํางานของสวนตางๆ ในระบบคอมพิวเตอร นอกจากนี้ยังทําหนาที่เปนตัวกลาง
เชื่อมโยงการทํางานกับซอฟตแวรประยุกตอีกดวย ตัวอยางของซอฟตแวรระบบไดแก windows,
Linux, UNIX เปนตน

ซอฟตแวรสําเร็จรูป (Software Package) คือ โปรแกรมที่ผูผลิตทําไวแลว เราสามารถหาซื้อ


มาใชใหเหมาะสมกับงาน ใชทํางานเฉพาะดาน เชน งานพิมพเอกสาร, งานควบคุมสินคาคงคลัง,
งานบัญชี เปนตน ตัวอยางโปรแกรมสําเร็จรูปที่ใชกับไมโครคอมพิวเตอร ไดแก

ซอฟตแวรประมวลผลคํา (Word Processing Software) เปนโปรแกรมสําหรับงานพิมพ


เอกสารทั่วไป มีทั้งรุนที่พิมพขอความไดอยางเดียว เชน CU-Writer, Wordราชวิถี เปนตน และ

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ


16

โปรแกรมรุนที่มีความสามารถมากมายในการจัดรูปภาพ ปรับแตงขอความ เชน Microsoft Word


เปนตน

ซอฟตแวรสําหรับงานคํานวณ (Calculation Software) ใชกับงานทางดานการเงิน งานบัญชี


ที่ตองมีการคํานวณตัวเลขอยูต ลอดเวลา โดยโปรแกรมจะจําลองหนาจอคอมพิวเตอรเปนชองๆ
เรียกวา เซลล (cell) เพื่อใชในการกรอกตัวเลขลงไป คลายกับกระดาษทําการของงานบัญชีจึงเรียกวา
“Spread Sheet” แตมีลักษณะพิเศษกวาตรงที่สามารถใสสูตรการคํานวณของขอมูล และใหแสดงผล
ลัพธที่ตองการไดทันที เชน LOTUS 1-2-3, Microsoft EXCEL เปนตน

ซอฟตแวรสําหรับนําเสนอ (Presentation Software) ใชกับงานทางดานการนําเสนอขอมูล


จัดทําแผนใส หรือ นําเสนอผานอุปกรณในการนําเสนออื่นๆ โดยโปแกรมจะสามารถนําขอความ
รูปภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว เปนตน เขามารวมในการนําเสนอได เชน Microsoft PowerPoint,
Author ware, เปนตน

ซอฟตแวรสําหรับจัดระบบฐานขอมูล (Data Base Mangement Software) ใชเก็บบันทึก


ขอมูลในรูปแบบของฐานขอมูล และมีคําสั่งงานสําหรับเรียกขอมูลไปใชไดอยางมีประสิทธิภาพ
ซอฟตแวรที่จดั อยูในประเภทนี้ เชน dBase, FoxPro, MS-Access, Oracle เปนตน

ซอฟตแวรประยุกต (Application Software) คือ โปรแกรมซึ่งจัดทําขึ้นตามวัตถุประสงค


ของผูใช กอนจัดทําโปรแกรมประเภทนี้ ตองมีการศึกษางานของผูใชอยางละเอียดถี่ถวน เพื่อนํามา
วิเคราะหและออกแบบระบบงานใหรัดกุม ตอจากนัน้ จึงลงมือเขียนโปรแกรมดวยภาษาคอมพิวเตอร
ชนิดตางๆ เชน Pascal, COBOL, ภาษา C, Visual Basic, Java เปนตน

ซอฟตแวรดาน GIS เปนโปรแกรมที่มีฟง กชั่นในการทํางานและเครื่องมือที่จําเปนตางๆ


เพื่อใชในการการบันทึก จัดเก็บ บํารุงรักษา วิเคราะห ดัดแปลง และแสดงผลขอมูลนั้นในรูปแบบ
ตางๆ ซึ่งในปจจุบันมีซอฟตแวรดาน GIS อยูมากมายตามแตผูใชจะเลือกใช แตโดยทั่วไปแลว
ซอฟตแวรเหลานี้ควรมีฟงกชั่นพื้นฐานดังนี้คือ
ฟงกชั่นการนําเขาและเพิ่มเติมขอมูล (Entry/Update) ทั้งในรูปของดิจิตอล และ ขอมูล
กระดาษ
ฟงกชั่นการแปลงขอมูล (Conversion) เนือ่ งจากระบบGISมีรูปแบบขอมูล (Data Format)
อยูหลากหลายแตกตางกันตามแตชนิดของซอฟตแวรทําใหการนําขอมูลไปใชตอไปนั้นตองมีการ
แปลงขอมูลใหอยูในรูปแบบที่มาตรฐาน หรือใหอยูในรูปแบบที่สามารถนําเขาสูซอฟตแวรตวั อื่น ๆ
ได
เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ
17

ฟงกชั่นในการคํานวณขอมูลและวิเคราะห (Manipulate and Analysis) เนื่องจากระบบGIS


นั้นตองการการวิเคราะหและจัดการทางดานพื้นที่ ดังนัน้ ซอฟตแวรควรมีฟงกชั่นดานนี้ให
ครอบคลุม ความตองการของผูใช
ฟงกชั่นในการแสดงผล (Presentation and Display) เปนการแสดงผลในรูปแบบที่
หลากหลายเพือ่ ใหเห็นประสิทธิภาพของระบบGIS ดังนั้น ซอฟตแวรที่ดีจึงควรมีเครื่องมือรองรับ
การแสดงผลที่ดีดวย เชนการแสดงผลในรูปแผนที่ ตาราง กราฟ คาสถิต เปนตน
นอกจากนี้แลวโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตรที่ดีนั้น จะตองอํานวยความสะดวก
ใหกับผูใชไดเปนอยางดี โดยมีการสรางเมนู (Menu) ตางๆ ที่ไมยุงยาก โดยอาจแสดงในรูปของ
ไอคอน (Icon) หรือรูปแบบกราฟก (Graphic User Interface - GUI) ซึ่งทําใหการสื่อความหมาย
ระหวางผูเขียนโปรแกรมกับผูใชโปรแกรมเขาใจกันไดงาย หรืออนุญาตใหผูใชงานโปรแกรม
สามารถสรางหนาตางเองหรือดัดแปลงใหเหมาะสมกับประเทศของตนเองได และสามารถนําไปใช
งานไดอยางมีประสิทธิภาพ

ชื่อซอฟตแวร คุณสมบัติ
ArcView โปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ที่มีชื่อเสียงในเมืองไทยโปรแกรม
หนึ่ง ที่สามารถ นําเขา จัดเก็บ จัดการ และประมวลผล และแสดงผลไดดี
AVENUE การเขียนชุดคําสั่งในโปรแกรม ArcView เพื่อการใชงานประยุกต
Network Analyst การวิเคราะหเครือขายระบบสารสนเทศภูมิศาสตรใน ArcView
3D Analyst การวิเคราะหสามมิติ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรใน ArcView
Image Analysis การวิเคราะหดา นภาพ ในระบบสรสนเทศภูมิศาสตรใน Arcview
ArcIMS การเผยแพรระบบสารสนเทศภูมิศาสตรผานเครือขายอินเตอรเน็ต
MapInfo โปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ที่สามารถ นําเขา จัดเก็บ จัดการ
และประมวลผล และแสดงผล เปนโปรแกรมที่มีผูนิยมใชกันแพรหลายอีก
โปรแกรมหนึง่
PCI/EasyPace โปรแกรมทางดานรีโมทเซนซิ่ง ที่ปจจุบันใชชื่อ Geomatica
ERDAS โปรแกรมรีโมทเซนซิ่ง ที่สามารถใชงานกับตระกูล Arcไดเปนอยางดี
ENVI โปรแกรมดานรีโมทเซนซิ่ง ที่สามารถประยุกตใชกับงานตางๆได เปน
โปรแกรมที่ไดถูกนํามาใชงานกันอยางแพรหลายในวงการเชนกัน
ตารางที่ 1 แสดงคุณสมบัติของซอฟตแวรที่เกี่ยวของกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ


18

3. ขอมูล (Data) คือ ขอเท็จจริงใดๆ ที่ใชในการแทนที่ปรากฏการณทางภูมิศาสตรบนโลก เชน


แผนที่ ภาพถายทางอากาศ ภาพดาวเทียม ขอมูลที่ไดจากการสํารวจในภาคสนาม เปนตน ซึ่งขอมูล
ในระบบสารสนเทศประกอบดวย ขอมูลเชิงเสน(Graphic) และขอมูลเชิงบรรยาย(Attribute) ซึ่งมี
ความสัมพันธกัน และขอมูลดังกลาวจะถูกจัดเก็บและรวบรวมไวในฐานขอมูล (Database) ที่มี
ระบบการจัดการขอมูลตางๆ ไวคอยตรวจสอบขอมูล ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
ระบบการจัดการฐานขอมูล (Database management system: DBMS) เปนชุดคําสั่งที่ใชเพือ่ จัด
ระเบียบและบํารุงรักษาขอมูล โดยระบบการจัดการฐานขอมูลนี้ มีหนาที่ในการจัดเตรียมบริการ
ดังนี้
ƒ เตรียมการสําหรับการกําหนด ดัชนี คียหลัก และจัดเก็บขอมูล
ƒ เตรียมการบํารุงรักษาขอมูล
ƒ เตรียมบริการชวยในการเพิม่ ลบ แกไข และจัดเรียงขอมูลในฐานขอมูล
ƒ เตรียมวิธีการสําหรับแสดงผลขอมูล เชน จัดทําเปนรายงาน
ƒ เตรียมการตรวจสอบวาขอมูลนั้นมีความถูกตองและนาเชื่อถือ

การประยุกตใชฐานขอมูล (Data base application) เปนชุดคําสั่งซึ่งใชสําหรับ นําเขา ปรับปรุง


เปลี่ยนแปลง แกไข และจัดทํารายงานของขอมูลที่อยูในฐานขอมูล
ระบบการจัดการฐานขอมูลและชุดคําสั่งการประยุกตใชฐานขอมูลจะทํางานอยูบนเครือ่ ง
คอมพิวเตอรเครื่องเดียวกัน สวนมากทั้งสองสวนจะถูกรวมอยูภ ายในชุดคําสั่งเดียวกัน อยางไรก็
ตามปจจุบันองคกรตาง ๆ ไดใหความสนใจนําระบบฐานขอมูลแบบแฟมบริการ (Client/ server) มา
ใชกันมากขึ้น เพราะระบบฐานขอมูลแบบแฟมบริการไดเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการขอมูลดวย
การแยกสวนของระบบการจัดการฐานขอมูล (DBMS) ออกจากสวนของการประยุกตใช
ฐานขอมูล (Database application) โดยชุดคําสั่งการประยุกตใชฐานขอมูลทํางานอยูบนสถานีงาน
ของผูใชหนึ่งหรือหลายเครือ่ ง (ซึ่งมักจะเปนคอมพิวเตอรสวนบุคคล) และติดตอถึงกันโดยผาน
ระบบเครือขายซึ่งมีระบบการจัดการฐานขอมูล (DBMS) หนึ่งหรือหลายระบบงานอยูบนเครื่อง
คอมพิวเตอรอกี เครื่องหนึ่ง ระบบฐานขอมูลแบบแฟมบริการ (Client/server) เปนวิธีการใชเครื่อง
คอมพิวเตอรทที่ รงประสิทธิภาพไดดีที่สุดในปจจุบนั
การพัฒนาระบบฐานขอมูลในยุคตนเนนลักษณะการทํางานแบบเชื่อมตรง (Online) โดยใช
ระบบศูนยกลางซึ่งอาจจะมีคอมพิวเตอรขนาดใหญ (Mainframe computer) ดําเนินงาน เครื่อง
คอมพิวเตอรขนาดใหญทํางานดวยชุดคําสั่ง (Program) ประยุกตตาง ๆ บนตัวเอง และใชเครื่อง
คอมพิวเตอรสวนบุคคล (Personal computer) ตอเปนเครื่องปลายทาง (Terminal) ทํางานเพียง
เสมือนรับขอมูลเขา (Input) และแสดงผลออก (Output) เทานั้นซึ่งไมไดมีสวนชวยงานในการ
เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ
19

ประมวลผลไดเลย ตอมาเมือ่ มีระบบที่ใชเครื่องคอมพิวเตอรมีขนาดเล็กลง และเพิม่ เติมฐานขอมูล


ในภายหลังไดโดยงาย โดยใชสถานีงาน (Workstation) หรือเครื่องแมขาย (File server) เปนตัวเก็บ
ฐานขอมูล
ปจจุบันไดมีการพัฒนาสวนชุดคําสั่งมากขึ้น ทําใหราคาของสวนชุดคําสั่งถูกลง การ
ประยุกตใชงานมีใหเลือกใชไดมากและหลากหลายขึ้น รูปแบบระบบฐานขอมูลจึงเริ่มเปลี่ยนแปลง
ไป โดยมีขนั้ ตอนเปลี่ยนแปลงไปทีละนอย เริ่มจากการสรางเครือขายเชื่อมกับคอมพิวเตอรขนาด
ใหญหรือคอมพิวเตอรหลัก (Mainframe computer) ตอมาจึงพัฒนาโดยใชเครือขายเปนหลักและ
ขยายเครื่องแมขาย (File server) ดังนัน้ จึงทําใหแนวโนมของการใชงานแบบแฟมบริการแบบ
Client/server หรือมีแฟมบริการหลาย ๆ ตัวชวยบริการการใชงานเปนที่นิยมกันมากขึ้น

4. บุคลากร (People) คือ บุคคลากรที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับ GIS เชน เจาหนาที่นําเขาขอมูล


นักวิเคราะหขอ มูล ผูเชี่ยวชาญการพัฒนาระบบ GIS ผูใชงาน เปนตน บุคลากรนับเปนปจจัยสําคัญ
ของระบบ GISที่ชวยพัฒนาใหหนวยงานสามารถทํางานอยางเปนระบบ โดยอาศัยเทคโนโลยี
สารสนเทศภูมิศาสตร เปนเครื่องมือชวยในการดําเนินงานและจัดการ ทําใหเกิดผลลัพธที่มี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ดังนั้นบุคลากรจึงถึงเปนสิ่งสําคัญอีกประการหนึ่งในระบบสารสนเทศ
ภูมิศาสตร ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

บุคลากรเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร
1) เจาหนาที่บนั ทึกขอมูล (Data Entry Operator) ทําหนาที่ในการทึกขอมูลโดยมีอุปกรณ
สําหรับบันทึกขอมูลตางๆ เชน เครื่องบันทึกขอมูลลงบนอุปกรณบันทึกขอมูลแบบตาง ๆ เชน
ฮารดดิสก แผนดิสกเก็ต, แผนซีดี ดีวดี ี วีซดี ี เปนตน เจาหนาที่บันทึกขอมูลนั้นไมจําเปนตองจบ
สาขาคอมพิวเตอรโดยตรง แตตองรูจักเครือ่ งคอมพิวเตอรใชอุปกรณตา งๆ และสิ่งที่สําคัญที่สุดคือ
ตองปอนหรือพิมพขอมูลไดรวดเร็ว และมีความละเอียดความถูกตอง

2) เจาหนาที่ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร (Computer Operator) ทําหนาทีใ่ นการควบคุมการ


ทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร โดยเฉพาะในระบบงานขนาดใหญ จะมีการรันเครื่องคอมพิวเตอร
ใหทํางานตลอด 24 ชั่วโมง เจาหนาที่ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอรจะทําหนาที่จดั สรรเวลา จัด
โปรแกรมประมวลผล ตามแตงานที่จะถูกสงเขามาทําการประมวลผล นอกจากนี้ในระหวางที่
โปรแกรมกําลังทํางานจะตองคอยตรวจสอบ และโตตอบกับขอความทีโ่ ปรแกรมตองการ โดยจะ
แสดงเปน Dialog box หรือ Windows ขึ้นมาทางหนาจอคอมพิวเตอร เชน เรียกใหเปลี่ยนแผนซีดี
หรือขอใหนํากระดาษใสเครื่องพิมพเพิ่มเติม เปนตน ผูที่ทํางานตําแหนงนี้ไมจําเปนตองเรียนมา
เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ
20

ทางดานคอมพิวเตอรโดยเฉพาะ แตควรมีพื้นฐานทางคอมพิวเตอรอยูบ างรวมทั้งควรมีความรู


ภาษาอังกฤษพอใชสําหรับโตตอบกับโปรแกรมคอมพิวเตอร นอกจากนีย้ ังจะตองเปนผูที่สามารถ
ทํางานเปนกะได

3) เจาหนาที่พฒ
ั นาโปรแกรมประยุกต (Application Programmer) เปนผูเขียนโปรแกรม
สําหรับงานที่ตองการใหคอมพิวเตอรทํา ซึ่งหมายถึงการเขียนโปรแกรมตามความตองการของผูใช
นั้นเอง ดังนั้นนักพัฒนาโปรแกรมประยุกตหรือโปรแกรมเมอรนั้น ตองจบมาทางดานคอมพิวเตอร
โดยตรงมีความรูความเขาใจในเรื่องคอมพิวเตอร หลักการเขียนโปรแกรมและภาษาสําหรับเขียน
โปรแกรมตางๆ เชน ภาษาC, JAVA, Visual Basic,Delphi, Pascal เปนตน งานลักษณะนี้เปนงาน
นอกจากจะเขียนโปรแกรมขึ้นมาใหมตามความตองการของผูใชแลว ยังตองคอยปรับปรุงพัฒนา
โปรแกรมเกาที่มีอยูใหสอดคลองกับความตองการของผูใชที่มักมีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอๆ

4) เจาหนาที่พฒ
ั นาโปรแกรมระบบ (System Programmer) เปนผูศึกษา จัดหา และดูแลการ
ใชโปรแกรมระบบ (System Program) ใหเหมาะสมกับเครื่องคอมพิวเตอรและระบบงานของ
หนวยงานตางๆ เพื่อใหระบบคอมพิวเตอรทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด ผูทําหนาที่นจี้ ะตอง
เขาใจระบบการทํางานของโปรแกรมและเครื่องคอมพิวเตอรเปนอยางดี เพราะเมื่อใดก็ตามที่ระบบ
คอมพิวเตอรมปี ญหา จะตองเขามารับผิดชอบ และคนหาสาเหตุเพื่อแกไขปญหาใหสาํ เร็จลุลวงไป

5)เจาหนาที่วเิ คราะหและออกแบบระบบงาน (System Analyst and Designer) ทําหนาที่


ศึกษาและวิเคราะหระบบงานที่จะใชคอมพิวเตอร (ประมวลผลขอมูล) แลวนํามาออกแบบ
โครงสรางขอมูลที่ตองนําเขา และผลลัพธที่ไดออกมาตลอดจนถึงขั้นตอนตางๆ ตั้งแตการศึกษา
ความตองการของผูใช ออกแบบระบบ ทดลองใช พัฒนาและปรับปรุงระบบ จัดฝกอบรมผูใชงาน
ดูแลและบํารุงรักษา ซึ่งหนาที่ของเจาหนาที่วิเคราะหและออกแบบระบบงานเปนหนาที่ที่มีความ
รับผิดชอบสูงและใชระยะเวลาในการดําเนินการนานเนื่องจากตองดูแลตั้งแตตนจนเสร็จสิ้น

6) วิศวกรระบบ (System Engineer)ทําหนาที่ดูแลทางดานระบบฮารดแวรโดยเฉพาะ ดังนั้น


จึงตองมีความรูในเรื่องเครื่องคอมพิวเตอร, ระบบไฟฟา, และระบบเครือขายคอมพิวเตอรเปนอยางดี
สําหรับธุรกิจทั่วไปหรือองคกรขนาดเล็กที่มีทุนนอยก็ไมจําเปนตองจาง System Engineerไวก็ได
เพราะเวลาที่เครื่องคอมพิวเตอรมีปญหาเราอาจติดตอเจาหนาที่จากบริษัทที่ขายคอมพิวเตอรใหมา
ชวยดูไดเปนครั้งคราวไป

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ


21

7) เจาหนาที่จดั การฐานขอมูล (Database Administration) ทําหนาที่สรางและควบคุมการใช


ฐานขอมูล โดยการออกแบบลักษณะ และวิธีจัดเก็บขอมูลตามความประสงคของผูใชงาน รวมทั้ง
วางขอกําหนดตลอดจนถึงระบบความปลอดภัยของฐานขอมูล เพื่อปองกันไมใหผูอื่นที่ไมเกี่ยวของ
มาลักลอบใชขอมูล ดังนัน้ จะตองมีความรูใ นการออกแบบและการจัดการฐานขอมูล รวมถึง
โปรแกรมที่ใชสําหรับจัดการฐานขอมูลดวย

บุคคลากรดานสารสนเทศภูมิศาสตร
บุคลากรดานสารสนเทศภูมิศาสตรนอกจากมีความรูดานGIS แลวบุคลากรดานนีย้ ังควร
ตองมีความรูในสาขาที่เกี่ยวของในหลายๆดานอีกดวย เชน Remote Sensing, GPS, Cartography,
และอื่นๆ เพื่อประโยชนในการปฏิบัติงาน ซึ่งบุคลากรดานสารสนเทศภูมิศาสตร ควรมีดังนี้
1) ผูจัดการโครงการ หรือผูอํานวยการ หรือหัวหนางาน เปนบุคคลที่ควรมีความรูกวางๆ
เกี่ยวกับการประยุกตใชระบบ GIS ตลอดจนขีดความสามารถและขอจํากัดของฐานขอมูลใน
หนวยงานของตน มีความชํานาญในการบริหารบุคคลและหางบประมาณมาสนับสนุนหนวยงาน
ของตน

2) นักวิเคราะหระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (System Analysis) เปนผูมีความรูเกี่ยวกับ


ระบบ GIS เปนอยางดี สามารถออกแบบฐานขอมูลพรอมดวยวิธีการใช สามารถถายทอดความ
ตองการของผูใชออกมาเปนวิธีการดําเนินงานใหไดผล

3) ผูจัดการฐานขอมูล เปนผูที่รับผิดชอบเกี่ยวกับฐานขอมูลทั้งขอมูลเชิงพื้นที่และขอมูล
อรรถาธิบาย ตลอดจนการออกแบบฐานขอมูล (Database Design)

4) ผูปฏิบัติงานอาวุโส เปนผูปฏิบัติงานตามแผนของผูวเิ คราะหระบบ GIS และสามารถใช


ระบบ GIS ใหไดผลตามวัตถุประสงคเปนผูวางแผนการทํางานและดูแลระบบคอมพิวเตอร

5) ผูทําแผนที่ เปนผูที่มีความรู ความชํานาญในงานแผนที่ เปนผูที่จะใหการสนับสนุนตอ


การใชระบบ GISในสองลักษณะคือ การปอนขอมูลและแสดงผลเปนแผนที่ ในสวนที่เกี่ยวกับการ
ปอนขอมูลตองมีการรวบรวมขอมูลจากหลายแหลง เชน จากแผนทีภ่ าพถายทางอากาศและขอมูล
ดาวเทียม เปนตน สวนในเรือ่ งการแสดงผลนั้นจะตองออกแบบแผนทีใ่ หดีซึ่งตองอาศัยความรูดาน
graphics ชวยในการควบคุมคุณภาพอีกดวย

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ


22

6) ผูปอนขอมูล (Data Entry) เปนผูที่มีประสบการณทวั่ ไปเกี่ยวกับการใชและการทํางาน


ของระบบ GIS โดยเฉพาะในแงของการปอนขอมูลในลักษณะตางๆ เชน การ digitize ขอมูลแผนที่
การแกไข การปอนขอมูลชนิด Attributes ตางๆ ซึ่งจะตองมีรายละเอียดมากมาย ผูปอนขอมูลตาม
การวางแผนของผูปฏิบัติงานอาวุโสหรือผูวิเคราะหระบบดวย

7) ผูบํารุงรักษา เปนผูที่มีความรูความชํานาญในการบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอรทั้งหมด
รวมทั้ง Hardware และ Software เปนผูที่ทําใหระบบงานและสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ดําเนิน
ไปเปนปกติ

8) โปรแกรมเมอร เปนผูที่มีความรูเกี่ยวกับการทํางานของระบบ GIS สามารถเขียน


โปรแกรมตางๆ ได เชน FORTRAN, BASIC, C, VISUAL BASIC และ PASCAL เปนตน และ
ภาษาอื่นๆ ที่คลายคลึงกัน
9) ผูใช (Users) มีความสําคัญมากเพราะหากขาดผูใชแลวก็จะไมมีระบบ GIS ผูใชจะตองมี
ความรู และความเขาใจในความสามารถและขีดจํากัดของงานตน ตองรูในสิ่งที่ตนตองการ ผูใชตอง
ไดรับการเอาใจใสและตองไดรับการถายทอดวิชาดวย หากผูใชมีความรูมากก็จะเปนตอการ
นําไปใชงาน

5. Processหรือ Method คือ กระบวนการหรือขั้นตอนการทํางานที่ออกแบบไวอยางมีแบบแผน


และเปนลําดับขั้นตอน โดยขบวนการในการวิเคราะหขอมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
โดยทั่วไปสามารถแบงออกเปน 2 แบบ คือ
1. Manual Approach เปนการนําแผนที่ หรือลายเสนตาง ๆ วาดบนแผนใสแลวนํามา
ซอนทับกัน (Overlay Technique) แลวทําการวิเคราะหดว ยสายตา (Visual Interpretation) ทําใหมี
ขอจํากัดในดานจํานวนของแผนใสที่จะสามารถนํามาวิเคราะห และเนือ้ ที่ในการเก็บขอมูล
2. Computer Assisted Approach เปนการวิเคราะหขอมูลดวยคอมพิวเตอรในรูป ดิจติ อล
(Digital) โดยขอมูลแผนที่หรือลายเสนนั้นจะอยูใ นรูปดิจติ อล แลวทําการซอนทับกันโดยการนํา
หลักคณิตศาสตรและตรรกศาสตรเขามาชวย วิธีการนี้ จะทําใหการวิเคราะหทําไดรวดเร็ว และ
สามารถเรียกมาแสดงไดอยางรวดเร็ว สามารถแสดงผลซ้ําไดหลายครั้ง

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ

You might also like