You are on page 1of 15

แนวทางการวินิจฉัยและรักษา

ผูปวย Dyspepsia และผูปวยที่มีการติดเชื้อ Helicobacter pylori


ในประเทศไทย

จากการประชุม
1999 Thailand Consensus for the Management of Dyspepsia
and Helicobacter pylori

จัดโดย
กลุมวิจัยโรคกระเพาะอาหาร
สมาคมแพทยระบบทางเดินอาหารแหงประเทศไทย
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาผูปวย Dyspepsia และผูปวยที่มีการติดเชื้อ
Helicobacter pylori ในประเทศไทย

โดยกลุมวิจัยโรคกระเพาะอาหาร
สมาคมแพทยระบบทางเดินอาหารแหงประเทศไทย

พิมพครั้งแรก เมษายน 2542


ISBN

คณะผูจัดทํา
ที่ปรึกษา : พญ.กรรณิการ พรพัฒนกุล
ประธาน : นพ.อุดม คชินทร
รองประธาน : พญ.วโรชา มหาชัย
เลขานุการ : พญ.โฉมศรี โฆษิตชัยวัฒน
กรรมการ : นพ.กําธร เผาสวัสดิ์
: พญ.ชุติมา ประมูลสินทรัพย
: นพ.บัญชา โอวาทฬารพร
: นพ.พิศาล ไมเรียง
: นพ.สิริวัฒน อนันตพันธุพงศ
: พ.อ.นพ.สุรพล ชื่นรัตนกุล
: นพ.องอาจ ไพรสณฑรางกูร
สงวนลิขสิทธิ์
พิมพที่
คํานํา

Dyspepsia และ Helicobacter pylori infection เปนปญหาที่พบบอยในเวชปฎิบัติทั่วไป ในปจจุบันการดูแล


รักษาผูปวย dyspepsia และผูปวยที่มีการติดเชื้อ Helicobacter pylori มีความหลากหลายทั้งในการวินิจฉัยและการป
ฎิบัติรักษา ทําใหเกิดผลเสียตอผูปวยและสิ้นเปลืองคาใชจายอยางมาก กลุมวิจัยโรคกระเพาะอาหาร สมาคมแพทย
ระบบทางเดินอาหารแหงประเทศไทย ไดมองเห็นความสําคัญในเรื่องนี้จึงจัดประชุมสัมมนา “1999 Thailand
Consensus for the Management of Dyspepsia and Helicobacter pylori” ขึ้น เมื่อวันที่ 27-29 มกราคม 2542 ณ ศูนย
ฝกอบรมธนาคารไทยพาณิชย จ.เชียงใหม โดยมีวัตถุประสงคเพื่อระดมความคิดและรวบรวมขอมูลปญหา
เกี่ยวกับผูปวย dyspepsia และผูปวยที่มีการติดเชื้อ Helicobacter pylori เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาการดูแลรักษา
ผูปวยในภาวะดังกลาวใหมีความ เหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ผลการประชุมสามารถหาขอตกลงรวม
กันและนํามาใชในการรางแนวทางการวินิจฉัยและรักษาผูปวย dyspepsia และผูปวยที่มีการติดเชื้อ Helicobacter
pylori ในประเทศไทย ในการประชุมครั้งนี้ไดเชิญแพทยผูเชี่ยวชาญโรคระบบทางเดินอาหารและแพทยที่เปน
internist และ GP จากทั่วประเทศอยางละครึ่งเขารวมประชุมและมีความ รวมมือกันอยางดียิ่ง

สําหรับแนวทางในการวินิจฉัยและรักษาผูปวย dyspepsia และผูปวยที่มีการติดเชื้อ Helicobacter pylori นี้


ไดรับการจัดทํ าขึ้นโดยยืนอยูบนพื้นฐานของขอมูลของประเทศไทยมากที่สุดและสอดคลองกับสภาวะการณ
ปจจุบันของประเทศ สมาคมฯจะมีการติดตามและประเมินผลหลังจากที่แพทยไดใชแนวทางการวินิจฉัยและรักษา
นี้แลว 1-2 ป หรือเมื่อมีขอมูลที่เปนหลักฐาน อันใหม จะมีการแกไขแนวทางการวินิจฉัยและรักษาใหมีความเหมาะ
สมและดียิ่งขึ้น
สมาคมแพทยระบบทางเดินอาหารแหงประเทศไทย ขอขอบคุณแพทยทุกทานที่ไดสละเวลานําความรูและ
ประสบการณ เพื่อรวมในการจัดทําแนวทางการวินิจฉัยและรักษาผูปวย dyspepsia และผูปวยที่มีการติดเชื้อ
Helicobacter pylori ในประเทศไทย และขอขอบคุณบริษัท แกล็กโซ เวลคัม (ประเทศไทย) จํากัด, บริษัท แจนเซน
ฟารมาซูติกา จํากัด, บริษัท ทาเคดา (ประเทศไทย) จํากัด, บริษัท แอบบอต ลาบอแรลตอรีส จํากัด และ บริษัท แอ
สตรา (ไทย) จํากัด ที่ชวยสนับสนุนการจัดการประชุมโดยไมมีเงื่อนไขใดๆ ทําใหงานสําเร็จลุลวงไปไดดวยดีสม
ความมุงหมาย

ศ.พญ.กรรณิการ พรพัฒนกุล
นายกสมาคมแพทยระบบทางเดินอาหารแหงประเทศไทย
สารบัญ

แนวทางการวินิจฉัยและรักษาผูปวย Dyspepsia

แนวทางการวินิจฉัยและรักษาผูปวยที่มีการติดเชื้อ Helicobacter pylori

เอกสารอางอิง

การประชุมสัมมนา 1999 Thailand Consensus for the Management of Dyspepsia and Helicobacter pylori

คณะกรรมการประชุม 1999 Thailand Consensus for the Management of Dyspepsia and Helicobacter pylori

คณะกรรมการดําเนินงานกลุมวิจัยโรคกระเพาะอาหาร สมาคมแพทยระบบทางเดินอาหารแหงประเทศไทย
แนวทางการวินิจฉัยและรักษา
ผูปวย Dyspepsia

คําจํากัดความ
Dyspepsia หมายถึง pain or discomfort centered in the upper abdomen

แนวทางการ approach ผูปวยที่มีปญหา dyspepsia


การ approach ผูปวยที่มีอาการ dyspepsia เปนเวลาอยางนอย 4 สัปดาห โดยไมเคยไดรับการ investigate มา
กอน มีแนวทางดังแสดงใน แผนภูมิที่ 1
ผูปวยตองไดรับการซักประวัติและตรวจรางกายอยางละเอียด โดยการซักประวัติตองแยกประวัติของ
typical biliary colic และirritable bowel syndrome (IBS) ออกไปกอน โดยผูปวยกลุมที่มีประวัติ typical biliary
colic มักจะมี gallstone ควรสงตรวจ ultrasound (1) สวนผูปวยที่มีประวัติเขาไดกับ IBS ก็สามารถใหการรักษา
แบบ IBS ไดเลย
Dyspepsia
R/O typical biliary pain, IBS
Alarm features

- ve + ve
Life style modification (LSM) Consider appropriate
Education+symptomatic investigation
Antisecretory and/or prokinetic
for 2-4 weeks

success Failure Alarm features


continue till 6-8 weeks

No recurrence Recurrence Endoscopy + Ultrasound

แผนภูมิที่ 1 แนวทางการ approach ผูปวยที่มีปญหา dyspepsia


ประวัติ typical biliary colic มีลักษณะ ดังนี้ (2)
1. Typically epigastric or right upper quadrant
2. Characteristically radiating to the back or through to the region of the right scapula or right
shoulder blade.
3. Usually sudden in its onset, reaching its maximum intensity in 15-60 minutes and invariably
constant once it reaching its intensity.
4. The attack possibly lasting many hours before subsiding.
5. The pain usually assumes a characteristic pattern for each individual.

เกณฑที่ใชในการวินิจฉัย IBS ใช Rome Criteria (3) ซึ่งตองมีอาการตอไปนี้อยางนอย 3 อาการ ไดแก


1. มี colonic pain ( frequent lower abdominal pain often relieved by defecation and / or looser and / or
more frequent stools at its onset)
2. altered stool frequency (> 3 stools daily and/or < 3 stools weekly, often)
3. altered stool form (hard and/or loose or watery, often)
4. altered stool passage (straining and/or urgency and/or a feeling
of incomplete evacuation, often)
2. mucus per rectum
นอกจากนั้นยังตองซักประวัติการกินยาตางๆ เชน NSAID, theophylline, iron, potassium, digoxin,
antibiotics บางตัว เปนตน
เมื่อแยกผูปวยที่มีประวัติ typical biliary colic, IBS, การกินยา และประวัติโรคระบบอื่นๆที่อาจมาดวยอาการ
dyspepsia เชน myocardial infarction, heart failure, hyperthyroidism, hypothyroidism, diabetic gastroparesis แลว
ตองซักประวัติและตรวจรางกายวาผูปวยมี alarm features อยางใดอยางหนึ่งตอไปนี้รวมดวยหรือไม ไดแก
1. Age of onset > 40 years
2. Awakening pain
3. Significant weight loss (> 5% BW within 1 month or > 10% within 3 months)
4. History of GI bleeding
5. Persistent vomiting
6. Dysphagia
7. Strong family history of GI malignancy
8. Anemia
9. Jaundice
10. Hepatomegaly, splenomegaly, lymphadenopathy
11. Fever
12. Abdominal mass
13. Significant abdominal distension
14. Bowel habit change
สําหรับผูที่อายุตั้งแต 40 ปขึ้นไป มี new onset dyspepsia แนะนําใหทํา upper GI endoscopy สวนผูที่มี
alarm features อื่นๆ ให investigate ตามความเหมาะสม
ผูที่ไมมี alarm features ใดๆ ใหคําแนะนําในการดูแลตนเอง ดวยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใชชีวิต เชน
การรับประทานอาหาร ไมควรทานจนอิ่มเกินไป ไมควรนอนทันทีหลังทานอาหารอิ่มใหมๆ กินอาหารตรง
ตามเวลาทุกมื้อ หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด ของดอง นํ้าอัดลม งดสูบบุหรี่ งดดื่มสุรา งดการใชยาแกขอและกลามเนื้อ
อักเสบ ระวังอยาใหทองผูก ควรออกกําลังกาย ผอนคลายความเครียดและพักผอนใหเพียงพอ และใหการรักษา
ตามอาการ โดยอาจพิจารณาเลือกใชยา antisecretory หรือ prokinetic อยางใดอยางหนึ่ง ขอแนะนําคือ หากมี
อาการปวดลักษณะแบบ ulcer-like เลือกใช antisecretory drug แตถามีอาการแบบ reflux-like หรือ dysmotility-
like เลือกใช prokinetic drug ระยะเวลาที่ใหยาประมาณ 2 สัปดาห หากไมดีขึ้น พิจารณาเปลี่ยนยาเปนอีกกลุม
หนึ่ง เชน ถาครั้งแรกให antisecretory drug เปลี่ยนเปน prokinetic drug แตถาครั้งแรกใช prokinetic drug อาจ
เปลี่ยนเปน antisecretory drug หรือพิจารณาใหยาทั้ง 2 กลุมนี้รวมกัน และใหตออีก 2 สัปดาห หากผูปวยอาการดี
ขึ้น หรือหาย ใหยาตออีก 4 สัปดาห กรณีที่อาการดีขึ้นหรือหายตั้งแต 2 สัปดาหแรกที่เริ่มใหยา ก็ใหยาเดิมตออีก 4
สัปดาหเชนกัน ดังนั้นผูปวยจะไดรับยาทั้งสิ้นประมาณ 6-8 สัปดาห
สําหรับผูปวยที่อาการไมดีขึ้นแมเมื่อไดลองเปลี่ยนยา หรือ ใหยา 2 กลุมรวมกัน (ซึ่งรวมระยะเวลาทั้งหมดที่
ไดใหยาคือ 4 สัปดาห) ควรซักประวัติ ตรวจรางกายใหมโดยละเอียด และพิจารณาตรวจอุจจาระเพื่อหาพยาธิ
หากพบมี alarm feature ให investigate ตามความเหมาะสม หากไมพบ alarm feature แนะนําใหทํา upper GI
endoscopy และ/หรือ ultrasound
กรณีผูปวยที่มีอาการกลับเปนซํ้า หลังจากการรักษาครั้งแรกครบ 6-8 สัปดาหแลว แนะนําวาควร
investigate เพิ่มเติมในทํานองเดียวกัน

แนวทางการวินิจฉัยและรักษาผูปวยที่มีการติดเชื้อ Helicobacter pylori

การวินิจฉัยการติดเชื้อ Helicobacter pylori (HP)


1. วิธีการตรวจเพื่อวินิจฉัยการติดเชื้อ HP
วิธีที่ดีและเหมาะสมสําหรับประเทศไทยในปจจุบันคือ การทํา endoscopy และ biopsy เยื่อบุกระเพาะ
อาหาร สงตรวจ rapid urease test ซึ่งอาจใช commercial kits หรือ home-made kits ก็ได โดย home-made kits ตอง
ผานการทดสอบแลววาไดผลไมตางจากมาตรฐานที่เปนที่ยอมรับ หาก rapid urease test ใหผลลบ จึงสงชิ้นเนื้อ
ตรวจทางพยาธิ หาก rapid urease test ใหผลบวก ไมจําเปนตองสงชิ้นเนื้อตรวจทางพยาธิอีก ยกเวนรายที่เปน
gastric ulcer และตองสงชิ้นเนื้อจากขอบแผลเพื่อแยกโรคจาก malignancy
ในการตรวจแตละอยางทั้ง rapid urease test และ histology ควรใชชิ้นเนื้อจากทั้ง antrum และ body
วิธีการเพาะเชื้อจากชิ้นเนื้อ เปนวิธีที่ยุงยาก ราคาแพง จึงแนะนําใหทําเฉพาะกรณี เชน กรณีที่ตองการ
ทราบภาวะการดื้อยาของเชื้อ หรือเพื่อการวิจัย เปนตน
สวนวิธี non-invasive ไดแก serology และ whole blood หรือ near whole blood office-based kits ไมแนะ
นําใหใช เนื่องจากประเทศไทยมีความชุกของเชื้อ HP สูงมาก และผลการศึกษาเทาที่มีในประเทศไทยพบวามีทั้ง
ความไวและความจําเพาะตํ่า
สําหรับการตรวจ urea breath test มีประโยชนทั้งเพื่อการวินิจฉัยการติดเชื้อ HP และยืนยันผลการกําจัดเชื้อ
HP ภายหลังการรักษา แตขณะนี้ยังไมมีเครื่องตรวจชนิดนี้ในประเทศไทย

2. ผูปวยที่ควรไดรับการตรวจหาเชื้อ HP
ไดแก ผูปวยที่ไดรับการทํา upper GI endoscopy และพบวามี
1. Duodenal ulcer (regardless of activity)
2. Gastric ulcer (regardless of activity)
3. Previous history of documented gastric or duodenal ulcer
4. Severe erosive and/or hemorrhagic gastritis
5. Severe erosive duodenitis

ถาผลการสองกลองพบวาปกติ หรือพบ mild หรือ nonspecific gastritis ไมควรทดสอบการติดเชื้อ HP

การกําจัดเชื้อ HP
ผูปวยที่ควรไดรับการกําจัดเชื้อ HP ไดแกผูปวยตอไปนี้ (โดยตองยืนยันวามีการติดเชื้อ HP รวมดวย)
1. Duodenal ulcer (regardless of activity)
2. Gastric ulcer (regardless of activity)
3. Status post resection of early gastric cancer
4. MALT lymphoma
5. Severe erosive and/or hemorrhagic gastritis
6. Severe erosive duodenitis

ผูปวยที่ไมแนะนําใหใชยากําจัดเชื้อ HP (ซึ่งไมควรทดสอบวามีการติดเชื้อ HP) ไดแก


1. ผูปวย non-ulcer dyspepsia
2. ผูปวย atrophic gastritis
3. ญาติของผูปวยมะเร็งกระเพาะอาหาร
4. NSAIDs users
สูตรยากําจัดเชื้อ HP
สูตรยากําจัดเชื้อที่แนะนํา ซึ่งไดผลการกําจัดเชื้ออยางนอย 80% โดย intention to treat basis ไดแก

ก) Antisecretory 1 ตัว รวมกับ ยาปฏิชีวนะ 2 ตัว


Lanzoprazole or Amoxycillin
Omeprazole or + Clarithromycin + or
RBC Metronidazole

ข) ในกรณีที่ไมมี clarithromycin ใหเลือกใชสูตรดังนี้


Lanzoprazole or
Omeprazole or + Amoxycillin + Metronidazole
RBC

ระยะเวลาการใหยานาน 7 วัน
ขนาดยาที่ใช คือ
• Lanzoprazole 30 mg bid pc
• Omeprazole 20 mg bid ac
• RBC (Ranitidine bismuth citrate) 400 mg bid pc
• Amoxycillin 1000mg bid pc
• Clarithromycin 500 mg bid pc
• Metronidazole 400 mg bid pc
• Tetracycline 500 mg qid pc
หมายเหตุ : ถาผูปวยแพ penicillin อาจให tetracycline แทน amoxycillin ได (กรณีใชสูตรยา ข) clarithromycin
หรือ metronidazloe อาจมีอาการขางเคียงทําใหคลื่นไสได แกไขดวย การให antiemetic drug

การใหยา anti-secretory ภายหลังการใหยากําจัดเชื้อ HP


โดยทั่วไปหลังรักษาดวยการกําจัดเชื้อแลว ไมมีความจําเปนตองใหยา anti-secretory ตออีก ยกเวนกรณี
เปน complicated ulcer และมี comorbid condition
ผูปวยเหลานี้ แนะนําใหยา anti-secretory ตอประมาณ 4-8 สัปดาห
การติดตามผลการรักษา
ขอบงชี้วามีการกําจัดเชื้อ HP ได คือการตรวจวินิจฉัยการติดเชื้อ HP ใหผลลบเมื่อ 4 สัปดาหหลังหยุดการ
รักษา โดยทั่วไปการติดตามผลการรักษาอาศัยการติดตามดูอาการเปนสําคัญ ไมมีความจําเปนตองสองกลองตรวจ
หรือตรวจยืนยันวากําจัดเชื้อไดแลวซํ้าอีก ยกเวนในกรณีตอไปนี้
1. เปน complicated ulcer เชน มี bleeding หรือ previous perforation
2. มี intractable pain หรือ recurrent symptom
3. High risk gastric cancer (กรณีนี้ตอง biopsy ซํ้าเสมอ)
4. Patient’s wishes

การกําจัดเชื้อซํ้าเมื่อการกําจัดเชื้อครั้งแรกลมเหลว
กรณีที่ใชสูตรยาที่มี clarithromycin และ amoxycillin อาจใหสูตรยาเดิมซํ้าไดอีก ก รณีที่สูตรยาเดิมใช
metronidazole แนะนําใหรักษาซํ้าโดยเปลี่ยน metronidazole เปน amoxycillin หรือ ถาเดิมไดยาลดกรดเปนกลุม
proton pump inhibitor ไดแก lansoprazole หรือ omeprazole อาจพิจารณาเปลี่ยนเปน RBC แทน โดยในการรักษา
ซํ้านี้อาจพิจารณาใหยานานขึ้นเปน 14 วัน

เอกสารอางอิง
1. Richter JE. Dyspepsia: Organic causes and differential characteristics from functional dyspepsia. Scand J
Gastroenterol (Suppl) 1991;182:11-6.
2. Levenson DE, Fromm H. Medical management of gallbladder disease. In: Zakim D, Boyer TD, eds.
Hepatology. A Textbook of Liver Disease. 3rd edition. Pennsylvania, W.B.Saunders Company 1996:1883.
3. Drossman DA, Thompson WG, Talley NJ, et al. Identification of subgroups of functional gastrointestinal
disorders. Gastrointest Int 1990;3:159-72.
การประชุมสัมมนา
Thailand Consensus 1999 for the Management
of Dyspepsia and Helicobacter pylori

1. หนวยงานผูรับผิดชอบ กลุมวิจัยโรคกระเพาะอาหาร
สมาคมแพทยระบบทางเดินอาหารแหงประเทศไทย

2. หลักการและเหตุผล
Dyspepsia เปนปญหาที่พบบอยในเวชปฏิบัติทั่วไป มีความชุกรอยละ 20 - 25 และมีอุบัติการประมาณรอยละ
1 - 2 ตอป สําหรับความชุกของการติดเชื้อ Helicobacter pylori ในผูปวย duodenal ulcer และ gastric ulcer พบได
รอยละ 76 และ 55 ตามลําดับ และในผูปวย non-ulcer dyspepsia มีความชุกรอยละ 40 - 60 เนื่องจากในปจจุบันการ
ดูแลรักษาผูปวย dyspepsia และ ผูปวยที่มีการติดเชื้อ Helicobacter pylori มีความหลากหลายทั้งในการวินิจฉัยและ
การปฏิบัติรักษา ทําใหเกิดความสิ้นเปลืองของคาใชจายอยางมาก ประกอบกับการที่ยังไมเคยมีการจัดทํา guideline
ในการดูแลรักษาภาวะดังกลาวในประเทศไทย และแพทยไดปฏิบัติตาม guideline ของตางประเทศ ซึ่งในบางกรณี
อาจไมมีความเหมาะสมกับประเทศไทย เนื่องจากไมไดใชขอมูลของประเทศไทยเปนหลักฐานในการจัดทํา
guideline
กลุมวิจัยโรคกระเพาะอาหาร สมาคมแพทยระบบทางเดินอาหารแหงประเทศไทย จึงเห็นสมควรจัดการ
ประชุม Thailand Consensus for the Management of Dyspepsia and Helicobacter pylori ขึ้นเพื่อหาแนวทางในการ
พัฒนาการดูแลรักษาผูปวยในภาวะดังกลาวใหมีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

3. วัตถุประสงค
3.1 เพื่อใหผูเขารวมประชุมไดรวมกันระดมความคิด เพื่อหาแนวทางในการดูแลรักษาผูปวย dyspepsia และผู
ปวยที่มีการติดเชื้อ Helicobacter pylori ใหไดรับการดูแลรักษาอยางถูกตอง มีประสิทธิภาพสูงสุด และเหมาะสมกับ
สภาวะการณของประเทศไทย รวมทั้งจะไดมีการดูแลรักษาไปในแนวทางเดียวกันทั่วประเทศ
3.2 เพื่อใหผูเขารวมประชุมหาขอตกลงรวมกัน และจัดทําเปน guideline สําหรับการดูแลรักษาภาวะดังกลาว
ในนามของสมาคมแพทยระบบทางเดินอาหารแหงประเทศไทย โดยยืนอยูบนพื้นฐานของขอมูลของประเทศไทย
ใหมากที่สุด และจัดสงตอไปยังราชวิทยาลัยอายุรแพทยแหงประเทศไทย และกระทรวงสาธารณสุขเพื่อเผยแพรตอ
ไป
3.3 เพื่อใหผูเขารวมประชุมไดมีโอกาสพบปะสังสรรค และแลกเปลี่ยนประสบการณในการดูแลรักษาผูปวย
dyspepsia และผูปวยที่มีการติดเชื้อ Helicobacter pylori

4. ระยะเวลาและสถานที่จัดการประชุม
4.1 ระยะเวลา 27 - 29 มกราคม 2542
4.2 สถานที่ ศูนยฝกอบรมธนาคารไทยพาณิชย จ.เชียงใหม
5. จํานวนผูเขารวมประชุม
5.1 แพทยผูเชี่ยวชาญทางดานระบบทางเดินอาหาร จํานวน 30 คน ประกอบดวยหัวหนาสาขา/หนวยโรค
ระบบทางเดินอาหารจากสถาบันตางๆ, กรรมการอํานวยการสมาคมแพทยระบบทางเดินอาหารแหง
ประเทศไทย และแพทยผูเชี่ยวชาญทางดานระบบทางเดินอาหารที่มีประสบการณและสนใจในเรื่องดัง
กลาว
5.2 แพทยที่เปน internist และ GP จากทั่วประเทศ จํานวน 28 คน
5.3 ตัวแทนจากราชวิทยาลัยพยาธิแพทยแหงประเทศไทย จํานวน
1 คน
5.4 ตัวแทนจากสมาคมโรคติดเชื้อแหงประเทศไทย จํานวน 1 คน
5.5 ตัวแทนจากสมาคมเทคนิคการแพทยแหงประเทศไทย จํานวน
1 คน
5.6 ตัวแทนจากสมาคมเภสัชวิทยาแหงประเทศไทย จํานวน 1 คน
5.7 ผูสังเกตการณจากบริษัทยา จํานวน 10 คน
6. ผลการประชุม
บรรลุวัตถุประสงคของการประชุม และสามารถหาขอตกลงรวมกันเกี่ยวกับแนวทางการวินิจฉัยและดูแล
รักษาผูปวย dyspepsia และผูปวยที่มีการติดเชื้อ Helicobacter pylori อันจะสงผลใหคุณภาพในการดูแลรักษาผูปวย
dyspepsia และผูปวยที่มีการติดเชื้อ Helicobacter pylori ดียิ่งขึ้น อันจะเปนประโยชนโดยรวมตอการสาธารณสุข
ของประเทศและชวยประหยัดคาใชจายอีกดวย
คณะกรรมการประชุม
1999 Thailand Consensus for the Management
of Dyspepsia and Helicobacter pylori
27-29 มกราคม 2542 ณ ศูนยฝกอบรมธนาคารไทยพาณิชย จ.เชียงใหม

พญ.กรรณิการ พรพัฒนกุล รพ.มหาราชนครเชียงใหม จ.เชียงใหม


พญ.กาญจนี เจนวณิชสถาพร รพ.สุราษฎรธานี จ.สุราษฎรธานี
นพ.กิตติ จันทรเลิศฤทธิ์ รพ.ศรีนครินทร จ.ขอนแกน
นพ.กิตติพงษ คงจันทร รพ.สมเด็จพระยุพราชเวียงสระ จ.สุราษฎรธานี
นพ.เกรียงไกร อัครวงศ รพ.สมิติเวช จ.กรุงเทพฯ
นพ.คณิต อธิสุข ตัวแทนจากราชวิทยาลัยพยาธิแพทยแหงประเทศไทย
พญ.จันทนา อาชาชัยนันท รพ.กรุงเทพ จ.กรุงเทพฯ
นพ.จินดา สุวรรณรักษ รพ.สมิติเวช จ.กรุงเทพฯ
นพ.ฉัต รชัย ศรไชย ตัวแทนจากสมาคมเทคนิคการแพทยแหงประเทศไทย
พญ.โฉมศรี โฆษิตชัยวัฒน รพ.รามาธิบดี จ.กรุงเทพฯ
นพ.ชาตรี เจริญศิริ รพ.เรณูนคร จ.นครพนม
นพ.ชิเนศ นฤนาทวานิช รพ.นครนายก จ.นครนายก
พญ.ชุติมา ประมูลสินทรัพย รพ.รามาธิบดี จ.กรุงเทพฯ
นพ.เชาวลิต เลิศบุษยานุกูล รพ.ทุงชาง จ.นาน
นพ.ณัฎฐากร วิริยานุภาพ รพ.ภูมิพลฯ จ.กรุงเทพฯ
นพ.ถวัลย เบญจวัง รพ.สงขลานครินทร จ.สงขลา
นพ.ธัญเดช นิมมานวุฒิพงษ รพ.ศิริราช จ.กรุงเทพฯ
นพ.ธีระ พิรัชวิสุทธิ์ รพ.สงขลานครินทร จ.สงขลา
นพ.ธีระ ศิริสันธนะ ตัวแทนจากสมาคมโรคติดเชื้อแหงประเทศไทย
พญ.นภาพร จํารูญกุล รพ.ราษฎรยินดี จ.สงขลา
นพ.บัญชา สรรพโส รพ.ทาอุเทน จ.นครพนม
นพ.บัญชา โอวาทฬารพร รพ.สงขลานครินทร จ.สงขลา
พญ.บุษบา วิวัฒนเวคิน รพ.จุฬาลงกรณ จ.กรุงเทพฯ
พญ.ประภาพร พิมพพิไล รพ.บํารุงราษฎร จ.กรุงเทพฯ
นพ.ประมวล ไทยงามศิลป รพ.กาฬสินธุ จ.กาฬสินธุ
นพ.ประวิทย เอี่ยมวิถีวนิช รพ.หวยยอด จ.ตรัง
นพ.ประวิทย เลิศวีระศิริกุล รพ.รามาธิบดี จ.กรุงเทพฯ
นพ.ประสิทธิ์ กี่สุขพันธ รพ.รามาธิบดี จ.กรุงเทพฯ
พญ.ปานิตา ปทีปวาณิช รพ.ศูนยลําปาง จ.ลําปาง
นพ.พงษพีระ สุวรรณกูล รพ.จุฬาลงกรณ จ.กรุงเทพฯ
นพ.พินิจ กุลละวณิชย รพ.จุฬาลงกรณ จ.กรุงเทพฯ
นพ.พิศาล ไมเรียง รพ.ศรีนครินทร จ.ขอนแกน
นพ.ภัทรายุส ออประยูร รพ.พระปกเกลา ฯ จ.จันทบุรี
ดร.มยุรี ตันติสีระ ตัวแทนจากสมาคมเภสัชวิทยาแหงประเทศไทย
นพ.มานิตย บํารุงยา รพ.บอไร จ.ตราด
นพ.มานิต ลีโทชวลิต รพ.วชิรพยาบาล จ.กรุงเทพฯ
นพ.ราวิน โซนี่ รพ.ศูนยลําปาง จ.ลําปาง
นพ.รุจาพงษ สุขบท รพ.บํารุงราษฎร จ.กรุงเทพฯ
พญ.วรมน เจียมศรีพงษ รพ.พุทธชินราช จ.พิษณุโลก
พญ.วโรชา มหาชัย รพ.จุฬาลงกรณ จ.กรุงเทพฯ
นพ.วัฒนา พารีศรี รพ.สมเด็จพระยุพราชทาบอ จ.หนองคาย
นพ.วิชัย อัศวภาคย รพ.นํ้าพอง จ.ขอนแกน
พล.ต.นพ.วิชัย ชัยประภา รพ.พระมงกุฎเกลา จ.กรุงเทพฯ
พญ.วีณา วงศพานิช รพ.ราชวิถี จ.กรุงเทพฯ
นพ.ศตวรรษ ทองสวัสดิ์ รพ.มหาราชนครเชียงใหม จ.เชียงใหม
นพ.ศรัณย วรรณภาสนี รพ.สรรรพสิทธิ์ประสงค จ.อุบลราชธานี
นพ.ศราวุธ ธนะวัฒนสัจจะเสรี รพ.รองคํา จ.กาฬสินธุ
พญ.ศศิประภา บุญญพิสิฏฐ รพ.ศิริราช จ.กรุงเทพฯ
นพ.ศิริ เตชะธีระวัฒน รพ.แมจัน จ.เชียงราย
นพ.สถาพร มานัสสถิตย รพ.ศิริราช จ.กรุงเทพฯ
นพ.สมชัย วัฒนาสันดาภรณ รพ.ศิริราช จ.กรุงเทพฯ
นพ.สมศักดิ์ ฮุนพงษสิมานนท รพ.เซนตหลุยส จ.กรุงเทพฯ
นพ.สวัสดิ์ หิตะนันท รพ.ศิริราช จ.กรุงเทพฯ
นพ.สิริวัฒน อนันตพันธุพงศ รพ.ราชวิถี จ.กรุงเทพฯ
พล.อ.ต.นพ.สุจินต จารุจินดา รพ.ภูมิพลฯ จ.กรุงเทพฯ
พญ.สุพิณ มหาพรรณ รพ.ธนบุรี จ.กรุงเทพฯ
นพ.สุเมธ มะฮาด รพ.เพ็ญ จ.อุดรธานี
พ.อ.นพ.สุรพล ชื่นรัตนกุล รพ.พระมงกุฎเกลา จ.กรุงเทพฯ
พ.อ.นพ.สุรพล สุรางคศรีรัฐ รพ.พระมงกุฎเกลา จ.กรุงเทพฯ
นพ.สุริยะ จักกะพาก รพ.รามาธิบดี จ.กรุงเทพฯ
นพ.องอาจ ไพรสณฑรางกูร รพ.มหาราชนครเชียงใหม จ.กรุงเทพฯ
นพ.อุดม คชินทร รพ.ศิริราช จ.กรุงเทพฯ
คณะกรรมการดําเนินงานกลุมวิจัยโรคกระเพาะอาหาร
สมาคมแพทยระบบทางเดินอาหารแหงประเทศไทย

ที่ปรึกษา : พญ.กรรณิการ พรพัฒนกุล


ประธาน : นพ.อุดม คชินทร
รองประธาน : พญ.วโรชา มหาชัย
เลขานุการ : พญ.โฉมศรี โฆษิตชัยวัฒน
เหรัญญิก : พ.อ.นพ.สุรพล ชื่นรัตนกุล
กรรมการ : นพ.กําธร เผาสวัสดิ์
: พญ.ชุติมา ประมูลสินทรัพย
: นพ.บัญชา โอวาทฬารพร
: นพ.พิศาล ไมเรียง
: นพ.สิริวัฒน อนันตพันธุพงศ
: นพ.องอาจ ไพรสณฑรางกูร

You might also like