You are on page 1of 7

ŒŒŒŒŒ™ŒŒŒŒŒ

ขอความเสริมพลังใจที่คัดมาบางตอนจาก
การแสดงพระธรรมเทศนา เรื่อง “สูชวงชีวิตใหม เติมพลังใจดวยธรรมะ”
โดย พระธรรมโกศาจารย (ศ.ดร.ประยูร ธมฺมจิตฺโต)
อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เจาอาวาสวัดประยุรวงศาวาส ธนบุรี กรุงเทพมหานคร
วันที่ 10 ตุลาคม 2552 ณ บานยุกตะเสวี
ŒŒŒŒŒ™ŒŒŒŒŒ

...การที่ไดดํารงชีวิตตามรอบนักษัตรมาจนถึงวันนี้นั้น ตามพุทธคติทางพุทธศาสนาถือวา ไดบําเพ็ญ


บุญบําเพ็ญกุศลเปนปุพเพ กะตะปุญญะตา บุญกุศลไดหลอเลี้ยงรักษาใหชีวิตยืนยาวประสบความสําเร็จใน
หนาที่การงาน... ...วัน นี้ ไ ด ปลงภาระเริ่มศัก ราชใหม ชีวิตใหม ตามคติ ทางพระพุทธศาสนาถือวาการ
ดํารงชีวิตราบรื่นปลอดภัยทั้งในสวนตัวครอบครัวการงานเปนดวยการบําเพ็ญบุญบําเพ็ญกุศลตอเนื่องบุญ
รักษาใหชีวิตเจริญงอกงาม การที่มีชีวิตยืนยาวก็ไดบุญเชนเดียวกัน ไดยศไดศักดิ์ก็ไดบุญเชนกัน โบราณจึง
กลาววา “บุญหนัก ศักดิ์ใหญ” บุญทําใหเราไดศักดิ์ใหญ แตบุญนั้นไดใชไปแลวบุญกุศลที่สั่งสมพาใหชีวิต
ของเราเจริญงอกงามมียศมีศักดิ์ เพราะฉะนั้นตองทําบุญเพิ่ม เมื่ออายุมาถึงวันนี้ ขณะนี้ วัยนี้ ตองการใหมี
ความเจริญงอกงามรุงเรืองตอไป จึงทําบุญเพิ่มเรียกวา ฉลองอายุ โบราณจึงกลาววา “ยามบุญมาวาสนาชวย
ที่ปวยก็หายที่หนายก็รักบุญไมมาวาสนาไมชวย ที่ปวยก็หนักที่รักก็หนาย” เพราะฉะนั้นบัณฑิตในทาง
พระพุทธศาสนา จึงจัดงานฉลองอายุเพื่อใหบุญใหมรักษาชีวิตใหเจริญงอกงามไพบูลยยิ่งๆ ขึ้นไป เพราะบุญ
เกาเราไดใชไปมากแลว ฉะนั้นการทําบุญวันนี้จึงเปนไปตามคติทางพระพุทธศาสนา เมื่อมาถึงวาระเชนนี้
ทําบุญอยางนี้ก็เปนวาระที่จะไดทบทวนตรวจสอบชีวิตของเราวา ไดปฏิบัติบําเพ็ญสิ่งใดที่เปนประโยชนก็จะ
ไดเกิดโสมนัสชื่นชมยินดี มีปติใจเปนกําลังใจใหขวนขวายทําความดีตอไปได...
...แตขณะเดียวกัน ก็เปนชวงเปลี่ยนแหงชีวิต เพราะวาไดวางภาระตางๆ ในชีวิต การทําบุญครั้งนี้ใน
คติ ข องจี น เรี ย กว า การทํ า บุ ญ แซยิ ด ก็ จึ ง เป น ช ว งชี วิ ต ที่ สํ า คั ญ บุ ญ ก็ จ ะได รั ก ษาให เ จริ ญ ก า วหน า แต
ขณะเดียวกันก็เปนชวงเวลาที่เปลี่ยนบทบาทแหงชีวิต เรียกวาหยุดภาระงานสําคัญในสวนราชการซึ่งเรียกวา
เกษียณ เกษียณก็คือหยุดยุติบทบาทในสวนที่เกี่ยวกับงานประจําตามกฎหมายบานเมือง ในบางประเทศเชน
สหรัฐอเมริกาเรียกผูเกษียณอายุราชการวาเปน “Senior Citizen ราษฎรอาวุโส” ชวงชีวิตนี้กําลังจะเปนกาว
ไปสูความเปนราษฎรอาวุโส ภาษาพระเรียกวาความ “ปาปมุต” ทําอะไรไมคอยผิด วาใครก็ไดเพราะผาน
รอนผานหนาวมาเยอะแลว เพราะฉะนั้นราษฎรอาวุโสนอกจากจะไดสิทธิที่สังคมตองตอบแทนในฐานะที่
ทําบุญคุณแกประเทศชาติ ยังมีบทบาทในฐานะเปนผูใหคําปรึกษาใหคําแนะนําแกรุนตอๆ ไป ในฐานะที่
1
อาบน้ํารอนมากอนผานรอนผานหนาวมาก มีประสบการณเยอะ เสียอยางเดียวลืมงาย เพราะฉะนั้นก็ตอง
บันทึกตองพูดเอาไว ก็จะตองเขาใจวาตอไปนี้ จะเลาเรื่องอดีตกันมากขึ้น กันลืม…
...ฉะนั้นในวัยนี้เปนวัยที่มีประสบการณเปนบุคคลที่มีคุณคาของสังคม ในคติทางพระพุทธศาสนา
และในทางอินเดียนั้น ถือเปนชวงที่ 3 ของชีวิต คือชวงชีวิตนั้นมี 4 ชวง เรียกวา “อาศรม 4”
ชวงที่ 1 เรียกวา พรหมจารี
ชวงที่ 2 เรียกวา คฤหัสถ
ชวงที่ 3 เรียกวา วานปรัส
ชวงที่ 4 เรียกวา สันยาสี
ชวงที่ 1 พรหมจารี หมายถึง ศึกษาเลาเรียนหาความรู ชวงที่ 2 คฤหัสถ หมายถึง ครองเรือน เปนวัยมี
ครอบครัวทํางานไดเงินประสบความสําเร็จกาวหนาในทางโลก บัดนี้ ทานทั้งหลายเขาชวงที่ 3 เรียกวา
“วานปรัส” คําวา วานปรัส หมายถึง ในสมัยโบราณนั้น การเกษียณวางภาระงานแลวจะเขาปาปฏิบัติธรรม
ในสมัยนี้ก็คือวัยเขาวัดปฏิบัติธรรม ฟงเทศนฟงธรรม เปนชวงของการศึกษาธรรมะได เมื่อศึกษาธรรมได
ความรูก็จะไปถึงชวงที่ 4 คือชวงสุดทายเรียกวา “สันยาสี” คือ ถายทอดความรูประสบการณแกอนุชนคนรุน
ตอไป มีหนาที่ในการสั่งสอน ในการสงเคราะหคนอื่น เพราะฉะนั้นจึงกลาววาในชวงที่ 3 นี้เปนวัยแหงการ
ทําประโยชนตนและประโยชนทาน ทานทั้งหลายไดทําประโยชนทั้งแกตนเอง ทั้งแกผูอื่นดวย โดยเฉพาะแก
ผูอื่นในฐานะทําหนาที่การงานมากแลว ตอไปนี้ใหทําประโยชนตนในสวนที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้นไป ปลอยวางภาระ
ทั้งหลายที่ทําใหเกิด “ปลิโพธ” แปลวา เครื่องกังวลมีเวลาวางสําหรับพัฒนาจิตใจ ความสุขของชีวิตอยูที่
จิตใจ เราไมคอยไดดูแลจิตใจของตัวเองในชวงที่ผานมา หวงคนอื่นเสียมาก ความสุขความทุกขสัมพันธกับ
คนอื่น คนหนุมสาวมองไปขางหนาดวยความหวัง คนแกเฒามองกลับขางหลังดวยความอาลัย บางคนพอ
อายุมากเกษียณราชการกลับไปอาลัยหวงใยกับอดีตมาก ลืมมองวาในอนาคตยังมีความสําคัญกับชีวิต คือ
การพัฒนาคุณภาพภายในจิตใจใหสูงยิ่งขึ้น ประโยชนนั้นมี 2 ประการสําหรับคฤหัสถ ดังพระบาลีที่อาตมา
ภาพไดยกไวเปนนิกเขปบทเบื้องตนจากทีฆชาณุสูตรวา จัตตาโร เม พยัคฆปชชะ ธัมมา เปนตนซึ่งมาจาก
พระสูตรนั้น โดยที่ ทีฆชาณุ ไดกราบทูลถามพระพุทธองควา ในฐานะที่เปนคฤหัสถจะดําเนินชีวิตอยางไร
ใหไดประโยชนเต็มที่ในฐานะที่มีชีวิตอยูในโลกนี้ พระพุทธเจาก็ไดตรัสดังพระบาลีที่อาตมาภาพไดยกนั้น
วา ประโยชนสําหรับคฤหัสถมี 2 ประการ ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน แปลวา ประโยชนปจจุบันเฉพาะหนา 2
สัมปรายิกัตถประโยชน ประโยชนในภายหนา หรือประโยชนชั้นสูง ประโยชนปจจุบันเฉพาะหนา เปนเรื่อง
ของการแสวงหาทรัพยภายนอก มีลาภ มียศ มีสุข มีสรรเสริญ นี่เปนประโยชนที่คฤหัสถผูถือครองเรือนพึง
แสวงหา แตยังมีประโยชนที่สูงไปกวานั้น นั่นคือประโยชนในภายหนาประโยชนระดับสูงดังพระบาลีนิกเข
ปบทนั้นวา มี 4 ประการ 1. สัทธาสัมปทา มีสมบัติเปนศรัทธา 2. สมบัติคือศีล 3. สมบัติคือ จาคะ 4. สมบัติ
คือ ปญญา ชีวิตไดแสวงหาสมบัติภายนอกมามากแลว บัดนี้เปนเวลาแหงการแสวงหาสมบัติภายใน เรียกวา

2
“อริยทรัพย” ทรัพยอันประเสริฐแหงชีวิต ชีวิตไดทรัพยภายนอกแสวงหาเกียรติลาภยศมาพอสมควรแตยัง
ไมสมบูรณ เพราะชีวิตนั้นก็เปนไปตามกฎแหงอนิจจัง เมื่อถึงวัยหนึ่งก็ไมสามารถที่จะทํางานมีกิจกรรม
มากมายได ตองผองงานเรียกวา “เกษียณ” เกษียณแลวยังทําอะไร เกษียณแลวยังปลิโพธ หวงใยตําแหนง
หวงใยอํานาจ หวงใยลาภยศ ทานเรียกวาเปนเครื่องถวง ไมพัฒนา ภาษาพระเรียกวา “ปลิโพธ” เพราะฉะนั้น
ทานๆ ทั้งหลายไดตัดปลิโพธไปทีละนอยๆ เพื่อที่จะทําการใหญ คือพัฒนาจิตใจ ในสมัยกอนพระพุทธเจา
ตรัสชาดกชื่อวา “มฆเทวชาดก” เลาถึงพระเจาแผนดินพระองคหนึ่งสั่งชางกัลบกคือชางตัดผมทุกครั้งเมื่อใด
พบผมหงอกบนศีรษะของเรา ใหบอกดวย ชางกัลบกก็ไดมาแตงผมตัดผมของพระราชาองคนี้เปนประจํา
จนกระทั่งวันหนึ่งไดกราบทูลพระองควา “เห็นผมหงอกเกิดขึ้นแลวบนศีรษะ” เพราะฉะนั้นพระราชาก็บอก
วา “ถอนมาใหดูหนอย” เมื่อถอนมาแลวไดประกาศวา “อุตะมังคะลุหามัยหัง ผมหงอกเกิดขึ้นบนศีรษะของ
เราแลว วัยลวงเลยไปเทวทูตปรากฏแลว บัดนี้ถึงเวลาบรรพชา” ทานก็ไปลาออกจากตําแหนงที่เปนอยู
คือกษัตริย แลวไปถือศีลปฏิบัติธรรมอยูในสวนมะมวง ตั้งทายาทเปนผูรับตําแหนงหนาที่กษัตริยตอไป
คนก็ถามวา “ทําไมพระองคจึงทําอยางนี้” พระราชาก็ตอบวา “เพราะเทวทูตปรากฏ ผมหงอกนั้นบอกเราวา
ชี วิ ต อยู อี ก ไม น าน แสวงหาสมบั ติ ภ ายนอกมามากแล ว แต ยั ง ขาดสมบั ติ ภ ายใน ยั ง ขาดอริ ย ทรั พ ย
เพราะฉะนั้ น ชี วิ ต จะต อ งก า วต อ ไปสู ง ขึ้ น ” ซึ่ ง คติ นี้ เ อง แม ใ นประเทศไทยก็ ถื อ กั น ดั ง โคลงโลกนิ ติ
ไดประพันธไววา
“ปางนอยสําเหนียกรู เรียนคุณ
ครั้นใหญยอมหาทุน ทรัพยไว
เมื่อกลางแกแสวงบุญ ธรรมชอบ
ยามหงอมทําใดได แตลวนอนิจจัง”
ทานทั้งหลายไดผานในชวงปางนอยสําหนียกรูเรียนคุณ ครั้นใหญแสวงทุนทรัพยไว สองชวงชีวิตนี้ดําเนิน
อยางประสบความสําเร็จมาแลว มาถึงชวงตอไปที่จะเอาใจใส เมื่อกลางแกแสวงบุญธรรมชอบ พัฒนาจิตใจ
ดูแลชีวิตปลอยวางภาระไมตองหวงกังวลมากนักกับเรื่องอื่น เพราะเหตุที่วา “วัฒนธรรม อารยธรรมทั้งหลาย
เกิดจากจิตใจที่มีเวลาวาง” เวลาวางตางหากที่สรางอารยธรรมของโลก วัฒนธรรมบริโภคนั้นทําใหคน
หมกมุนหมดเวลา และไมไดสรางสิ่งที่เปนสาระแกโลกเทาใด อารยธรรมของกรีกเปนตัวอยาง อารยธรรม
ของกรีกนั้นฝากเปนมรดกของโลกเพราะคนที่อยูในยุคของกรีกนั้น ถูกแบงเบาภาระในการทํางานโดยมี
ระบบทาส และไมไปหมกมุนกับการบริโภคหรือลัทธิยุคบริโภคนิยม กลับแสวงหาสติปญญาอยางยิ่ง...
...คนที่ไดรับอิทธิพลจากโลกตะวันตกสมัยใหมมักจะไมเขาใจ เมื่อเห็นทานผูสูงวัยไปวัดไปสวด
มนต นั่งกรรมฐาน ก็บอกวาไปเสียเวลาทํางานทําการ หาไดรูไมวาสิ่งเหลานั้นแหละที่ทําใหเกิดคนอยาง
“เลาจื๊อ” อยาง “พระพุทธเจา” ที่สรางสันติภาพ ที่สรางความสุขใหมนุษย เพราะมนุษยเอาแตแกงแยงแขงขัน
วัดกันดวยอํานาจวาสนาไมใชหรือ? โลกจึงเรารอนแบงเปนพรรคเปนพวกเปนสี เขาวัดกันใหมากขึ้นและไม

3
นําการเมืองเขาไปในวัดนั่นแหละ จะทําใหสังคมสงบสุข สวดมนตก็สวดมนตกันจริงๆ อยางปลอยวาง มี
ความรัก มีเวลาใหกันมากขึ้น วันหนึ่งๆ นั้นไปนอกบาน ไดพบคุณแม คุณลูก สามี ภรรยา สักเทาไร คุณคา
แหงความรักความอบอุนเกิดขึ้นเมื่อมีเวลาใหกัน มีเวลาที่จะทําในสิ่งที่ตัวชอบจริงๆ และจะฝากเปนมรดก
โลกนี้เมื่อเราจากไป เพราะฉะนั้น คุณคาแบบนี้คนไมเขาใจวา ความสุข ที่เปนอิสระจากภาระทั้งปวงนั้นมีคา
อยางไร คนที่แสวงหาทรัพยภายนอกจะไมเขาใจความสําคัญของทรัพยภายในที่ใหความสุขอยางแทจริง…
...ความคิดของคนมองทรัพยภายในกับทรัพยภายนอกตางกัน ในวัยใหมในชวงใหมนี้ อยางไรก็
แสวงหาความสุขในมิติทางจิตใจใหมากขึ้น มีทรัพยภายในมากขึ้น มีสติปญญามากขึ้น เรียกวา “สัมปรายิ
กัตถประโยชน” ประโยชนที่สูงขึ้น เครียดนอยลง ผอนพัก มากขึ้น สุขภาพก็จะดีขึ้น อายุก็จะยืนยาว บางคน
ไมอยากจะแก แตลืมไปวา “ความแกเปนทางผานแหงการมีอายุยืน” มีใครบางที่อายุยืนแลวไมแก ตองภูมิใจ
วายิ่งแกอายุมาก นี่แสดงวาอายุยืน มีบุญ การมีอายุยืนก็สัมพันธกับสุขภาพจิต เมื่อมีอริยทรัพยภายในมี
ความสุขไมเครียด สุขภาพกายก็จะดีขึ้น
อดีตประธานองคมนตรีทานอาจารยสัญญา ธรรมศักดิ์ เคยแสดงปาฐกถาที่ตึกสันติไมตรี ทําเนียบ
รัฐบาลเกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ หลายปมาแลว ทานอาจารยสัญญา ธรรมศักดิ์ ไดกลาวตอน
หนึ่งในการปาฐกถาวามีคนเคยมาถามทานอาจารยสัญญาวา…
“แลวทําไมอาจารยจึงดูไมเหมือนคนอายุ 80 มีเคล็ดลับอะไร”
อาจารยสัญญาก็ตอบวา “ผมทําบริหาร 2 อยางทุกวัน 1 บริหารกาย 2 บริหารจิตบริหารกาย คือ
การตองไมอยูนิ่ง ออกกําลังกายตามวัย บริหารจิตตรงกันขามจิตตองนิ่ง กายเรามักไมเคลื่อนไหว แตจิต
เหมือนลิงบนยอดไม พระพุทธเจาตรัสวาอยางนั้น มันไมเคยหยุด ยิ่งวางงานมากมันยิ่งโดดมากจับมาฝกให
นิ่งแลวมันจะสงบและมีพลัง มีความสุข เพราะฉะนั้น ผมทําบริหารจิตทุกวันตั้งแตทํางานพระพุทธศาสนา
พุทธสมาคมเปนตนมา แตยังสูในหลวงไมได เพราะวาผมนั่งกรรมฐาน 20 นาทีเทานั้น แตพระเจาอยูหัวฯ
ทรงนั่งกรรมฐานวันละ 40 นาทีตลอดมา ทรงพัฒนาจิตใจ พระราชหฤทัยของพระองคมาโดยตลอด แมจะมี
พระราชภาระหนักกวาคนทั้งปวง แตทรงสามารถที่จะปฏิบัติรับพระราชภาระไดเปนอยางดีเพราะไดพัฒนา
พระราชหฤทัย หรือจิตใจของพระองค”
อาจารย สัญ ญา ธรรมศัก ดิ์ กลา วไวอยา งนี้ นี่ก็ห มายความวา ในขณะที่แ สวงหาทรั พ ยภ ายนอก
พระเจาอยูหัวฯ ก็ทรงแสวงหาทรัพยภายใน “อริยทรัพย” หรือวาสมบัติภายในซึ่งในที่นี้มี 4 ขอ ดวยกัน
1. สัทธาสัมปทา สมบัติ คือ ศรัทธา
2. สีลสัมปทา สมบัติ คือ ศีล
3. จาคสัมปทา สมบัติ คือ ความเสียสละ และ

4
4. ปญญาสัมปทา สมบัติ คือ ปญญา
ในข อ แรกนั้ น สั ท ธาสั ม ปทา ศรั ท ธาในพระศาสนา ศึ ก ษาธรรมมี เ ป า หมายชี วิ ต ที่ สู ง ขึ้ น
นอกเหนือไปจากทรัพยภายนอก มีคํากลาววาไมมีใครแกเกินเรียน ควรจะเพิ่มไปอีกวา บัดนี้ไมมีใครแกเกิน
เรียนธรรมะ ปฏิบัติธรรมะ ยิ่งในวัยอยางนี้ยอมจะเห็นธรรมที่ลึกซึ้งกวาเด็กทั้งหลาย จึงเปนวัยแหงการเห็น
สัจจะธรรม ศรัทธาตรงนี้ตองมั่นคง ขอที่ 2 สีลสัมปทา ศีลคือจรรยาเครื่องประดับชีวิต ปกตินั้นรางกายที่เคย
งดงามก็เปลี่ยนแปลงแตสิ่งที่งดงามภายในตางหากเลาจะตองเพิ่มมากขึ้น ก็คือศีลหรือกริยามารยาท จรรยา
ขอประพฤติปฏิบัติที่ทําใหชีวิตรูสึกไมคอยเศราหมองเสียใจ มีศีลมีขอปฏิบัติดีแลวชีวิตผองใส งดงามดังพระ
บาลี ว า “สี ลั ง อาภะระนั ง เสดถั ง ” ศี ล เป น อาภรณ เ ครื่ อ งประดั บ ที่ ป ระเสริ ฐ ที่ สุ ด ใช ไ ด กั บ ทุ ก วั ย ดั ง คํ า
ประพันธที่วา
“คนจะงาม งามน้ําใจ ใชใบหนา
คนจะสวย สวยจรรยา ใชตาหวาน
คนจะแก แกความรู ใชอยูนาน
คนจะรวย รวยศีลทาน ใชบานโต”
รวยศีลทาน คือ สมบัติขอที่ 3 เรียกวา “จาคสัมปทา” ไดแสวงหาไดทําประโยชนตนมาพอสมควรแลว มีทรัพย
ภายนอกมากแลว ตอจากนี้ตองเปนผูใหมากขึ้น เพราะมีเวลามาก สามารถที่จะทําประโยชนใหผูอื่นไดมาก
เรียกวา “ปะระติตะปฏิบัติ” ชีวิตมีคุณคา เพราะการทําใหคนอื่นมีความสุข อยากจะเปน อมตะ นั้นไมยาก
1. เขียนหรือพูดอะไรเปนคําสอนเปนขอคิด ฝากไวในโลกนี้ ก็จะทําใหเราเปนอมตะ ก็จะทําใหคน
ไดอานไดศึกษา ไดฟง หรือ
2. ทําอะไรใหเปนประโยชนใหคนเขาพูดถึง เขาเขียนถึง ก็โดยที่เราเปนผูเสียสละโดยที่เราเปนผูให
เปนนักสังคมสงเคราะห...
...อํานาจก็เปลี่ยนแปลงได สิ่งตางๆ ก็หมดไปได ไมทุกข ไมยึดติด มีปญญาเครื่องสลัดออก ปลอย
วาง คือ เกษียณ คือ ปลอยวางจริงๆ ในหัวใจ ก็จะมีความสุขเกษียณแลวเกษม เมื่อพระโมคคัลลานะปฏิบัติ
ธรรม ไมสามารถบรรลุเปนอรหันตพระพุทธเจาไปเยี่ยม
พระโมคคัลลานะไดทูลถามพระพุทธเจาวา
“ขอใหแสดงธรรมยอๆ ใหปฏิบัติไดเวลาไมมากนักแลวบรรลุได”
พระพุทธเจาไดตรัสวา

5
“สัพเพ ธัมมา นาลัง อภินิเวสายะ” แปลวา “สิ่งทั้งหลายทั้งปวงไมควรยึดมั่นถือมั่น”
การเห็นวาสิ่งทั้งปวงไมควรยึดมั่นถือมั่นเพราะเปนอนิจจังไมเที่ยง ทุกขัง เปนทุกข อนัตตาไมมี
แกนสาร นี่แหละ คือ “ปญญา”
พระโมคคัลลานะนอมนําไปปฏิบัติก็ไดสําเร็จเปนพระอรหันต เพราะพระพุทธเจาทรงอธิบายวา
เมื่อสิ่งตางๆ เกิดขึ้นถูกใจเราก็ไดความสุข ไมถูกใจเราก็ไดความทุกข หรือไมมีอะไรถูกใจ หรือถูกใจเราก็
เฉยๆ เรียกวาเวทนา สุข ทุกข เวทนา เกิดขึ้นเหมือนกับละครที่มาแสดงอยูในชีวิตของเรา บางวันสุข บางวัน
ทุกข แลวเราจะไปยึดมั่นถือมั่นทําไม เพราะมันสุข สุขก็ไมยั่งยืน เวลาสุขแลวอยากจะใหสุขตอไป อยากมี
หนามีตามีชื่อเสียงเกียรติยศแตมันเปนไปไมไดเราก็ทุกข ก็เครียด ปลอยวางเสียบาง มองสิ่งตางๆ ไมเที่ยง
ต อ งเปลี่ ย นแปลงเราก็ ไ ม ยึด ติ ด แม แ ต สั ง ขารสุ ข ภาพของเรา ซึ่ง ก็ ต อ งมี วัน ทรุ ด โทรมเปลี่ ย นแปลงไป
ภายนอกจะเปนอยางไร แตจิตใจตองผองใสมีความสุข กระสับกระสายที่กายเพราะโรคภัยไมเปนไร แต
พระพุทธเจาบอกวา แตจิตใจอยาไดกระสับกระสายทุรนทุรายไปดวย รักษาจิตใจใหมีความสุขดวยปญญา
อยางนี้ชีวิตก็เปนอิสระไมเปนทาส
ชีวิตเปนทาสกัน 3 วัย
วันตนคนหนุมสาวเปนทาสของความฝน
วัยกลางคนเปนทาสของงานหนัก
วัยเกษียณเปนทาสของความกังวลคนอาลัยในอดีต
ไมอาลัยกับอดีตแตคิดถึงอนาคต ชีวิตสดใสมีสมบัติภายในที่เราจะตองพัฒนาตอไป ก็ชื่อวาชีวิตนั้น
สดใส และมีความสุขไดตองมองวา การเกษียณนั้นเปนวาระที่ปฉลู คือ วัวงานนั้นไดปลดแอกแลว เพราะนั้น
ปลดแอกยังไปหวงแอกอยูทําไมเลา ไปทําอยางอื่นที่มีความสุขดีกวา นั่นก็คือพัฒนาจิตใจ ใหมีศรัทธา
มีความหวังที่ถูกตอง มีเปาหมายที่ดีงามตอไป และมีศีลคือความประพฤติปฏิบัติที่ทําใหชีวิตและสุขภาพ
ดีงาม มีจาคะอยูเพื่อคนอื่นมากขึ้นเพราะเราก็ไดมามากแลว และมีปญญาไมยึดติด ไมยึดมั่นกับสิ่งตางๆ ที่
เปนอดีต มองเห็นสัจจะธรรมในความเปนจริง ชีวิตเปนละครก็เชนนี้เอง
“ชีวิตคือโรงละคร ปวงนิกรเราทานเกิดมา ตางรายรําทําทีทา ตามลีลาของบทละคร บางครั้งก็เศรา
บางคราวก็สุข บางครั้งก็ทุกขหัวอกสะทาน มีรางมีรัก มีจากมีจร พอจบละครชีวิตก็ลา”
ละครฉากหนึ่งในชีวิตเปนละครแหงการทํางานแสวงหาสมบัติภายนอกผานไปตอนหนึ่งแลว ก็ตอง
แสวงหาสมบั ติ ภ ายในให ชี วิ ต พั ฒ นาก า วหน า ในทางจิ ต ใจให ม ากขึ้ น ซึ่ ง รออยู ใ นช ว งชี วิ ต ต อ ไป

6
การดํารงชีวิตในชวงตอไปใหเปนดังที่เราคาดหวังบุญกุศลก็หนุนสงนําสง เพราะบางทานก็ไมสามารถมีเวลา
วางไดมากนัก เพราะการแสวงหาทรัพยภายนอกยังฝดเคือง แตถาหากถึงเวลาที่มีบําเหน็จบํานาญปลอยวาง
ภาระไดก็ใชประโยชนตรงนี้ ใหเจริญในทางจิตใจพัฒนาในชวงชีวิตใหมอยางมีความสุขมากขึ้น บุญกุศลจะ
นําสุขสงใหทานทั้งหลายดําเนินชีวิตไปสูชวงชีวิตใหมดวยกําลังที่เปนสมบัติ 4 ประการดังพรรณนามา...”

ŒŒŒŒŒ™ŒŒŒŒŒ

You might also like