You are on page 1of 8

ปฐมพุทธภาสิ ตคาถา

(หันทะ มะยัง ปะฐะมะพุทธะภาสิ ตะคาถาโย ภะณามะ เส) เชิญเถิด เราทังหลาย ้ จงกล่าวคาถาพุทธภาษิตครัง ้ แรกของพระพุทธเจ้ า เถิด อะเนกะชาติสังสารัง สั นธาวิสสั ง อะนิพพิสัง เมื่อเรายังไม่พบญาณ, ได้ แล่นท่องเที่ยวไปในสงสารอันเป็ นอเนกชาติ

คะหะการัง คะเวสั นโต ทุกขา ชาติ ปุนป ั ปุนง ั , แสวงหาอยูซ ่ง ึ่ นายช่างปลูกเรื อน, คือตัณหาผู้สร้ างภพ, การเกิดทุกคราวเป็ นทุกข์ร่ าไป

คะหะการะกะ ทิฏโฐสิ ปุนะ เคหัง นะ กาหะ สิ นี่แน่ะ นายช่างปลูกเรื อน, เรารู้จก ั เจ้ าเสียแล้ ว, เจ้ าจะทาเรื อนให้ เราไม่ได้ อีกต่อไป สั พพา เต ผาสุกา ภัคคา คะหะกูฏง ั วิสังขะตัง , โครงเรื อนทังหมดของเจ้ ้ าเราหักเสียแล้ ว, ยอดเรื อนเราก็รือ ้ เสียแล้ ว วิสังขาระคะตัง จิตตัง ตัณหานัง ขะยะมัชฌะคา จิตของเราถึงแล้ วซึง ่ สภาพที่อะไรปรุงแต่งไม่ได้ อีกต่อไป, มันได้ ถึงแล้ วซึง ่ ความสิ ้นไปแห่งตัณหา (คือ ถึงนิพพาน)

(หันทะ มะยัง โอวาทะปาติโมกขะคาถาโย ภะณามะ เส) เชิญเถิด เราทังหลาย ้ จงกล่าวคาถาแสดงพระโอวาทปาติโมกข์เถิด สั พพะปาปัสสะ อะกะระณัง กุสะลัสสูปะสั มปะทา การทากุศลให้ ถง ึ พร้ อม สะจิตตะปะริโยทะปะนัง เอตัง พุทธานะ สาสะนัง พระพุทธเจ้ าทังหลาย ้ การชาระจิตของตนให้ ขาวรอบ ธรรม ๓ อย่างนี ้เป็ นคาสัง ่ สอนของ การไม่ทาบาปทังปวง ้

นะ หิ ปัพพะชิโต ปะรูปะฆาตี

ผู้

กาจัดสัตว์อื่นอยูไ ่ ม่ชื่อว่าเป็ นบรรพชิตเลย


สะมะโณ โหติ ปะรัง วิเหฐะยันโต ผู้ทาสัตว์อื่นให้ ลาบาก

อยูไ ่ ม่ชื่อว่าเป็ นสมณะ


อะนูปะวาโท อะนูปะฆาโต ร้ าย ปาติโมกเข จะ สั งวะโร การสารวมในปาติโมกข์ มัตตัญญุตา จะ ภัตตัส๎มิง ความเป็ นผู้ร้ ูประมาณในการ การไม่พด ู ร้ าย, การไม่ทา

ปัจฉิมพุทโธวาปาฐะ
(หันทะ มะยัง ปัจฉิ มะพุทโธวาทะปาฐัง ภะณามะ เส) เชิญเถิด เราทังหลาย ้ จงกล่าวคาแสดงพระโอวาทครัง ้ สุดท้ ายของพระพุทธเจ้ าเถิด

หันทะทานิ ภิกขะเว อามันตะยามิ โว ดูก่อน ภิกษุทงหลาย ั้ , บัดนี ้เราขอเตือนท่านทังหลายว่ ้ า


วะยะธัมมา สั งขารา สังขารทังหลายมี ้ ความเสื่อมไปเป็ นธรรมดา อัปปะมาเทนะ สั มปาเทถะ ท่านทังหลายจงท ้ าความไม่ประมาทให้ ถง ึ พร้ อมเถิด อะยัง ตะถาคะตัสสะ ปัจฉิ มา วาจา นี ้เป็ นพระวาจามีในครัง ้ สุดท้ ายของพระตถาคตเจ้ า

ตระกูลปริตรตางๆ ่
รัตนปริตร
เนื ้อมนต์สรรเสริญคุณของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ การตังจิ ้ ตของอาราธนาเอา คุณความดีของพระรัตนตรัยนันมาปกปั ้ กรักษาตน ช่วยทาลายความทุกข์โศกให้ สิ ้นไป และขออานวยความสุขสวัสดิ์แก่ตน

เมตตปริตร
ทาให้ หลับเป็ นสุข ตื่นเป็ นสุข ไม่ฝันร้ าย เป็ นที่รักของมนุษย์และอมนุษย์ทงหลาย ั้ เทพ พิทก ั ษ์ รักษา ไม่มีภยันตราย จิตเป็ นสมาธิง่าย ใบหน้ าผ่องใส มีสิริมงคล ไม่หลงสติใน เวลาเสียชีวิต และเป็ นพรหมเมื่อบรรลุเมตตาฌาน

ตระกูลปริตรตางๆ ่
ขันธปริตร
เป็ นคาถาที่ใช้ สวดก่อนนอนหรื อเวลาเดินป่ าเดินเขา ป ้ องกันสัตว์ร้าย หลายจาพวก อาทิ พวกสัตว์ ไม่มีเท้ า สองเท้ า สี่เท้ าและสัตว์ที่มีเท้ ามากๆเช่น งู ตะขาบ เป็ นต้ น

เมตตปริตร
หรื อที่ชาวบ้ านเรี ยกว่า "พระคาถาพญายูงทอง" สาหรับความศักดิ์สท ิ ธิ์ของคาถานี ้นัน ้ หลายท่านอาจจะเคยได้ ยินมาบ้ างแล้ วคาถา "นะโมวิมมุตตานัง นะโมวิมต ุ ติยา" เป็ น คาถาที่ปรากฏในตานานโมรปริตร (อุเทตะยัญจักขุมา) ซึง ่ เป็ นนิทานชาดก โดยสมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าเสวยพระชาติเป็ น "พญานกยูงทอง"

You might also like