You are on page 1of 2

เมือ ่ ผู้ปกครองพูดเรือ ่ งการศึกษา

เวที ระดมความเห็นเพือ ่ ขับเคลือ ่ นปฏิ รป ู การศึกษา (กลุ่ม/เครือข่ายพ่อแม่ผก ้ ู ครอง) วันที ่ ๙ มีนาคม ๒๕๕๗

บทบาทของพ่อแม่ทม ่ี ต ี ่อการศึกษา ไม่ใช่การยกลูกให้กบ ั ครู ฝากครูดูแลลูก เพราะพ่อแม่นน ั ้ คือ ครูคน แรกของลูก เป็ นครูท่ส ี ามารถสร้างการเรียนรู้ ให้ลูกได้ตลอดชีวต ิ ด้ว ยความสาคัญเช่นนี้ การศึกษาจึงไม่ใ ช่ ภาระหน้าทีเ ่ ฉพาะของกระทรวงศึกษาธิการเท่านัน ้ แต่เป็นภารกิจร่วมกันของสังคม เสียงสะท้อนทุกข์จากการศึกษา จากปากพ่อแม่/ผูป ้ กครอง หัวอกคนเป็ นพ่อแม่ท่ฝ ี ากอนาคตลูกไว้กบ ั ั ชัดว่าทุกวันนี้ปญ ั หาการศึกษามีมากมายและหลายระดับ ใน กระทรวงศึกษาธิการไม่ได้อก ี ต่อไปนัน ้ เสียงดังฟง ั หาสาคัญ ระดับครอบครัวนัน ้ แน่ นอนว่าความเข้าใจ ความเอาใจใส่ดูแลของพ่อแม่/ผูป ้ กครองที่มต ี ่อลูกก็เป็ นปญ โดยพ่อแม่/ผู้ปกครองต่างยอมรับว่า ทุ กวันนี้ มีพ่อแม่/ผูป ้ กครองจานวนไม่น้อยทีไ ่ ม่ได้มเ ี วลาในการถามไถ่หรือ เอาใจใส่ลูกเท่าทีค ่ วร ฝากลูกไว้กบ ั โรงเรียน กับครูเป็ นหลัก ขณะเดียวกันก็ขาดทักษะ ความรูใ ้ นการดูแลเด็กทีม ่ ี เรื่องของพัฒนาการตามช่วงวัยที่ต่างกัน ซ้าร้ายในบางราย สภาพครอบครัวไม่พร้อมหน้าด้วยการหย่าร้า ง การ ทางานต่างถิน ่ ฝากลูกให้ตายายเลี้ยง สถานการณ์เหล่านี้ก็ส่งผลกระทบต่อจิ ดใจและการเติบโตของเด็ก และใน ระดับชุมชนเองนัน ้ ก็ขาดการมีส่วนร่วมในการเข้ามาดูแลเด็กเยาวชนร่วมกัน ั หาที่ส าคัญ อย่างยิง ขณะที่ระดับนโยบาย พ่ อแม่/ผู้ปกครองสะท้อนว่า เป็ นฐานปญ ่ การศึกษาไทยที่ เป็ นอยู่นัน ้ เด็กไม่ได้รบ ั การผลักดันในเรื่องที่ตว ั เองถนัด มุ่งเน้นวิชาการเป็ นเลิศแต่อ่อนแอในการพัฒนาจิตใจ คุณธรรม จริยธรรมของเด็ก , นโยบายการจัดการศึกษาของโรงเรียนก็ไม่ต่อเนื่องเปลี่ยนตามผู้บริหารที่ยา ้ ยไป ย้ายมา, ผู้บริหารมีอานาจค่อนข้างเบ็ดเสร็จ, ระบบงบประมาณรายหัว ก็สะท้อนถึงความเหลื่อมล้าไม่เท่าเทียม, ระบบการประเมินโรงเรียนและครู เกณฑ์การวัดผลยังไม่สอดคล้องกับสภาพพืน ้ ที่ทต ่ี ่างกัน อีกทัง ้ ยังทาให้ครูมุ่ง แต่การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการประเมินภายนอกจนละเลยการเรียนการสอน , หลักสูตรยังไม่เหมาะสมกับช่วง วัย และระบบการศึกษาไม่สอดคล้องกับบริบททางวัฒนธรรม เป็นต้น เสียงสะท้อนข้างต้นเป็นเพียงส่วนหนึ่งของสถานการณ์การศึกษาทีท ่ าให้พ่อแม่/ผูป ้ กครองตระหนักได้ว่า ถึงเวลาแล้วทีจ ่ ะต้องลุกขึน ้ มาเปลีย ่ นแปลงการศึกษาโดยการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย ทุกภาคส่วน โดยมีขอ ้ เสนอ ดังนี้ ๑.ปฏิ รป ู การกระจายอานาจ งบประมาณ ให้โรงเรียนมีการบริหารจัดการ/ ระบบการศึกษาทีม ่ ส ี ภาพ คล่องมากทีส ่ ุด โดยมีการกระจายอานาจไม่ขน ้ึ กับส่วนกลาง ให้การจัดการศึกษาขึน ้ อยู่กบ ั ท้องถิน ่ เอาการศึกษา ออกนอกระบบ และเมื่อโครงสร้างเปลีย ่ น งบประมาณการจัดการศึกษาก็ให้ขน ้ึ ตรงกับท้องถิน ่ ให้ทุกภาคส่วนในระดับ ท้องถิน ่ เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารัดการงบประมาณการศึกษา ทีจ ่ ะทาให้ได้งบประมาณที่เพิม ่ ขึน ้ เพราะเป็ น การระดมจากทรัพยากรทีม ่ อ ี ยูใ ่ นท้องถิน ่ นัน ้ ๆ เอง

๒.ปฏิ รป ู การพัฒนากลไกของพ่อแม่ผป ้ ู กคองและชุมชน จัดตัง ้ องค์กรกลางทีม ่ บ ี ทบาทเชิงสนับสนุ น เพื่อทาหน้าทีส ่ นับสนุบองค์ความรู( ้ กิจกรรม กระบวนการ เครือ ่ งมือ ความรู) ้ งบประมาณ รวมทัง ้ เป็นทีป ่ รึกษา พี่ เลีย ้ งแก่พ่อแม่/ผูป ้ กครอง และต้องมีการยกระดับ ระเบียบ สพฐ.ว่าด้วยเรือ ่ งเครือข่ายผูป ้ กครองให้ชด ั เจนมากขึน ้ เพราะที่ผ่านมาแม้ว่า พรบ.การศึกษาแห่งชาติได้ประกันสิทธิให้แก่เครือข่ายพ่อแม่/ผู้ปกครอง แต่ ระเบียบของ สพฐ.นัน ้ ยังไม่มก ี ารเน้นย้าถึงสิทธิท่ช ี ด ั เจน ทาให้เกิดการไม่ยอมรับจากโรงเรียน ที่ส่งผลทาให้การทางานของ เครือข่ายพ่อแม่/ผูป ้ กครองในหลายโรงเรียนเป็นไปอย่างยากลาบาก นอกจากนี้ ควรต้องแก้ไขพรบ.การศึกษาแห่งชาติ โดยส่วนทีเ ่ กี่ยวข้องกับเครือข่ายพ่อแม่/ผูป ้ กครองนัน ้ ควรต้องระบุว่า รัฐหรือองค์กรกลางทีจ ่ ะจัดตัง ้ ขึน ้ ใหม่ก็ตามนัน ้ จะต้องจัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุ นกิจกรรม ของพ่อแม่/ผู้ปกครอง เช่น งบประมาณพัฒนาผู้ปกครอง เป็ นต้น รวมทัง ้ ควรจะต้องมีสมัชชาเครือข่ายพ่อแม่ ผูป ้ กครองทีม ่ ก ี ฎหมายรองรับเพื่อให้เป็นกลไกในการเสนอข้อเสนอในระดับนโยบายได้ ๓.ปฏิ รป ู การพัฒนาครูและกระบวนการเรียนการสอน การพัฒนาหลักสูตร ควรมีระบบการนิเทศก์ ส่งเสริมความรู้ การวัดผล การประเมินที่พ่อแม่/ผู้กครองเข้ามามีส่วนร่วม, ควรจัดให้มบ ี ุคลากรเพียงพอต่อการ เรียนการสอน และมีบุคลากรตรงกับแผนการเรียนการสอน, จัดให้มก ี ารบูรณาการแหล่งเรียนรูท ้ ่ส ี ่งเสริมให้เด็ก ได้เรียนรูจ ้ ริง โดยผูป ้ กครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการทัง ้ ในการช่วยดาเนินการ เป็ นครูอาสาช่วย สอน หรือระดมทุนหาครูมาสอนเสริม และทีส ่ าคัญ ควรมีการปฏิรป ู หลักสูตรให้สอดคล้องกับความเป็ นจริงมาก ยิง ่ ขึน ้ ๔.ปฏิ รูปการพัฒ นาทักษะ/สานึ กของพ่ อ แม่ ผ้ป ู กครอง ให้ม ีการจัดตัง ้ ศู นย์ใ ห้ค าปรึก ษาส าหรับ ครอบครัว โดยมีบทบาทในการให้ความรู้ ฝึกอบรมตัง ้ แต่เรื่องความเป็ นพ่อแม่ การสื่อสาร การรู้เท่าทันลูกในแต่ ละช่วงวัย พัฒนาเด็กในแต่ละอายุ การเป็ นแบบอย่าง และหน้าทีพ ่ ลเมือง จัดตัง ้ ชมรมอาสาเพื่อลูก(พ่อแม่อาสา) ทีม ่ ก ี ารช่วยสอนหนังสือ อาชีพ ศีลธรรม และเฝ้าระวังพฤติกรรม นัก เรียน ทากิจกรรมที่หลากหลายเพื่อ สร้างความสัมพันธ์ระหว่างบ้าน ศาสนสถาน โรงเรียน ชุมชน(บวร./ บวรส.) ๕.ปฏิ รป ู การประเมิ นคุณภาพ รร.และนร. ต้องมีการปฏิรป ู คุณภาพการศึกษาทัง ้ ระบบ ทีผ ่ ่านมาการ ประเมินคุณภาพทางการศึกษาไม่ชด ั เจน การรับรูข ้อ ้ มูลของพ่อแม่/ผูป ้ กครองในเรื่องนี้ ไม่เท่ากัน ต้องทาให้การ ประเมินเป็ นการประเมินทุกระดับอย่างมีส่วนร่วม นักเรียน ครู โรงเรียน ผูป ้ กครอง(ประเมิน ๓๖๐ องศา) โดย ต้องทาให้ทุกภาคส่วนตระหนักถึงบทบาทหน้าทีท ่ ม ่ี ต ี ่อการจัดการศึกษา ถึงเวลาแล้วทีจ ่ ะต้องสร้างการเปลี่ยนแปลง อย่างปล่อยให้การศึกษาผูกขาดและเป็ นภาระหน้าที่เฉพาะ ั และอนาคตร่วมของสังคม ดังนัน ของกระทรวงศึกษาธิการเท่านัน ้ เพราะการศึกษาเป็ นความหวัง ความฝน ้ การ ปฏิรป ู การศึกษาจึงเป็นภารกิจร่วมกันของพวกเราทุกๆ คน ....เริม ่ ต้นปฏิรป ู การศึกษาทันที ด้วยตัวเอง

You might also like