You are on page 1of 11

1

การปลูกมะขามหวาน
โดย โสภณ มงคลวัจน

มะขามหวานมีชื่อสามัญวา Sweet Tarmarind มีชื่อวิทยาศาสตรวา Tarmarindus indica L.


มะขามหวานเปนพืชในวงศถัว่ (Lequminosae) เชนเดียวกับ ราชพฤกษ, กัลปพฤกษ และขี้เหล็ก

แหลงกําเนิดและการกระจายพันธุ
มะขามมีแหลงกําเนิดในอัฟริกาเขตรอน เปนไมปาแถบสะวันนาไดนําเขาไปปลูกในอินเดีย และตอมา
ไดแพรกระจายทั่วไปในเอเชียและเขตรอนอื่น ๆ ประเทศไทยจัดวาเปนแหลงปลูกมะขามเปรี้ยวและมะขาม
หวานที่ใหญที่สุด พบวามีการปลูกมะขามหวานกันมานานแลวในภาคเหนือของไทย โดยเฉพาะที่อําเภอหลม
เกา จังหวัดเพชรบูรณซึ่งเปนตนกําเนิดมะขามหวานพันธหมื่นจง สีทอง และอินทผลัม ที่มีชื่อที่สุด
นอกจากนั้นยังพบในบางจังหวัดทางภาคอีสาน ปจจุบันไดมีการคัดเลือกขยายพันธุและปลูกเปนอาชีพเกือบทุก
ภาคของประเทศไทย คาดวาในอนาคตอาจจะเปนไมผลเศรษฐกิจทํารายไดใหแกประเทศ

อุปนิสัย
มะขามหวานเปนไมผลยืนตนขนาดใหญ มีอายุยืน แผกิ่งกานสาขาเปนพุมทรงกลมแนน ลําตนเหนียว
หักโคนยาก และรากลึก ทนแลงเปนไมผลกึ่งเขียวตลอดป (Semi-evergreen) แตจะคอย ๆ สลัดใบแกในฤดู
รอน ประมาณเดือนมีนาคม - เมษายน พรอมกันนั้นก็จะผลิใบใหมขึ้นมาแทน เมื่อใบเริ่มแกก็จะออกดอก
คือประมาณเดือนเมษายน - พฤษภาคม ติดฝกออนพอมองเห็นไดราว ๆ ปลายเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน
และฝกจะแกเก็บไดประมาณปลายเดือนธันวาคม - มีนาคม ซึ่งจะชาหรือเร็วขึ้นอยูกับพันธุ ปริมาณของฝน
และความชื้น

______________________________________________________________________________
* อาจารย ภาควิชาภูมิทัศนและอนุรักษสิ่งแวดลอม
สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแมโจ

ลักษณะทางพฤกษศาสตร

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/
2

ใบ (Leaves) มะขามหวานเปนพืชใบเลี้ยงคู ชนิดใบประกอบ (compound leaves) ใบเรียงตัวแบบ


สลับ (alternate) มีความยาวประมาณ 10 - 16 ซม. ประกอบดวยใบยอยเล็ก ๆ รูปคลายสี่เหลี่ยมผืนผา
(oblong) ขนาด 1 - 2.5 x 0.5 - 1.0 ซม. เรียงตัวติดกานใบใหญแบบตรงขาม (opposite) มีจํานวนใบยอย
ประมาณ 10 - 17 คู

ดอก (Flowers) มะขามหวานมีดอกเปนชอแบบ Racemes ยาวประมาณ 5 - 16 ซม. บานจาก


โคนชอไปยอดในชอหนึ่ง ๆ จะมีดอกประมาณ 5 - 12 ดอก ขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณ 2 - 2.5 ซม. มี
กลีบไมเทากัน (Zygomorphic) ประกอบดวยใบประดับ (Bracteoles) จํานวน 2 อัน รูปเรือมีสีครีม, ชมพู-
ครีม หรือสีแดง ซึ่งแลวแตพันธุ ใบประกอบนี้จะหุมตาดอกไว แตจะรวงกอนดอกบาน ดอกมะขามหวานจะมี
กลีบเลี้ยง (Sepals) 4 อัน สีครีมยาวประมาณ 1 - 1.5 ซม. กลีบดอก (Petale) 3 อัน สีเหลืองหรือสีชมพู
และมีเสนลายแดงคลายเสนโลหิตฝอยยาวประมาณ 1 - 1.5 ซม. ดอกมะขามหวานเปนดอกประเภทสมบูรณ
เพศมีเกสรตัวผูที่สมบูรณ (Fertile stamens) 3 อัน สลับดวยเกสรตัวผูที่ฝอหรือไมสมบูรณ (Staminodes)
กานเกสร (Filaments) ยาวประมาณ 1 ซม. และโคงเล็กนอย มีฐานติดกันประมาณครึ่งหนึ่งของความยาวมี
กระเปราะเกสรตัวผู (Anthers) 2 อัน ติดอยูที่ปลายตามขวาง เกสรตัวเมีย (Pistil) 1 อัน กานเกสร (Style)
ยาวกวาของตัวผูเล็กนอยและมีขนออนปกคลุม การติดของรังไข (overy) เปนแบบ Superior มี 1 ชอง
(locule) แตมีไขออน (ovules) จํานวนมาก มะขามหวานสวนใหญมีการผสมพันธุขามดอก เนื่องจากเกสรตัว
ผูจะบานกอนเกสรตัวเมีย และมักจะมีอายุในการผสมราว 1 - 2 วัน และถาไมไดรับการผสมหรือผสมไมติด
ประมาณ 2 - 3 วัน ตอมาดอกจะรวงโดยกลีบดอกจะรวงกอน สวนดอกที่ไดรับการผสมติดแลว รังไขก็จะ
ขยายตัวเจริญเปนฝกมะขามตอไป

ฝกหรือผล (Pods or Fruits) ฝกมะขามหวานเปนฝกเดี่ยวยาว มีหลานเมล็ดประมาณ 1 - 10 เมล็ด


ฝกออนจะมีสีเขียวและมีสะเก็ด (scurfy) สีน้ําตาลปกคลุม เมื่อฝกแกจะแข็งเปนสีน้ําตาล เปลือกจะแยกออก
จากเนื้อ (pulp) ซึ่งหุมแตละเมล็ดเชื่อมตอกันทั้งฝก มะขามหวานมีฝกลักษณะรูปรางตาง ๆ มีขนาดเล็กจนถึง
ใหญ พอจะแบงตามลักษณะของฝกไดดังนี้.-

1. ฝกดิง่ หรือตรง เปนมะขามที่มีลักษณะของฝกเหยียดตรงรูปรางคลายกระบอกหัวทายมน ฝกไม


โคงหรืองอ เวลาติดฝกอยูกับตน ปลายฝกจะหอยชี้ลงเปนแนวตรงไดแก พันธุขันตี, อินทผลัม และศรีชมภู
2. ฝกดาบ เปนมะขามที่มีลักษณะของฝกคลาย ๆ กับฝกดิ่งแตจะโคงงอเล็กนอย เหมือนกับรูปมีด
ดาบ ฝกอาจจะกลมหรือคอนขางแบนไดแก พันธแจหม, ฟากเลย, ปากดุก และอินทผลัม
3. ฝกฆองหรือโคง เปนมะขามที่มีลักษณะของฝกกลมยาวโคงงอ บางทีเกือบเปนวงกลมเหมือนฆอง
วง ไดแก พันธุหมื่นจง สีทอง น้ําผึ้ง และพันธหลังแตก
4. ฝกดูก เปนมะขามที่มีลักษณะของผักแบนเปนเหลี่ยม ฝกเล็กอาจจะโคงหรือตรง มีเนื้อนอย
น้ําหนักเบา บางทีเรียกวามะขามขี้แมว มะขามกระดูก และมะขามฝกแป ฯลฯ

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/
3

เนือ้ มะขาม (Pulp) เนื้อมะขามหวานเปนสวนที่ใชรับประทาน ซึ่งมะขามหวานที่ดีนั้นควรจะมร


รสหวาน มีกลิ่นหอม เนื้อนุมหรือกรอบ มีพังพืดหรือเยื้อหุมเมล็ดไมเหนียว และเมล็ดเล็กหลุดออกจากเนื้องาย
อยางไรก็ตามมะขามแตละพันธจะใหเนื้อดีแคไหน ขึ้นอยูกับปจจัยหลายอยาง สวนเรื่องสีของเนื้อมะขามหวาน
นัน้ มีตั้งแตสีน้ําตาลเข็มเกือบดํา สีน้ําตาลแดง สีน้ําตาล สีน้ําตาลเหลือง ตลอดจนสีน้ําตาลออนซีด หรือดาน
ๆ มะขามเมื่อแกแลวเก็บไวนาน ๆ สีของเนื้อจะเข็มหรือคล้ําขึ้น และกลิ่นหอมจะหายไปบาง
มะขามหวานขณะยังออนอยาจะมีรสเปรี้ยวและฝาด เนื่องจากเนื้อมะขามมีกรดทาแทริค (Tartaric
acid) เมื่อแกแลวความฝาดจะหายไป ปริมาณกรดจะลดลงและน้ําตาลจะเพิ่มขึ้น ถาประมาณของน้ําตาลสูงมี
กรดนอย มะขามก็จะหวานจัด ซึ่งมะขามแตละพันธุมีความหวานแตกตางกัน
มะขามไมวาหวานหรือเปรี้ยว ในฝกหนึ่ง ๆ ควรจะมีเนื้อ (pulp) อยูอยางนอย 40% ซึ่งเนื้อมะขาม
ประกอบดวย น้ําประมาณ 20% โปรตีน 3 - 3.5% ไขมัน 0.4 - 0.5% คารโบไฮเดรท 70% เสนไย 3.0%
และขี้เถา 2.1% ความเปรี้ยวของเนื้อมะขามจะขึ้นอยูกับประมาณกรดทาแทริคในเนื้อ มะขามเปรี้ยวสวนใหญ
จะมีกรดประมาณ 12% สวนมะขามหวานจะมีนอยกวาและคารโบไฮเดรทสวนใหญจะอยูในรูปของน้ําตาล

เมล็ด (Seeds) เมล็ดมะขามเมื่อแกจัดจะแข็ง มีสีน้ําตาลเขม ผิวเรียบเปนมัน เมล็ดจะมีลักษณะ


เปนแทงสี่เหลี่ยมหัวปาน (obovoid) ภายในมีเนื้อประกอบดวย แปง 63% โปรตัน 16% และน้ํามัน 5.5%
สามารถใชประกอบอาหารได เมล็ดมะขามไมมีระยะพักตัว เมื่อแกจัดนําไปเพาะจะงอกเปนตนออนราว 5 - 7
วัน ขึ้นอยูกับความชื้นและความสมบูรณของเมล็ดแตไมควรเก็บเมล็ดไวนาน ๆ เพราะความงอกจะลดลง และ
จะเสียหายจากตัวแมลงเจาะกิน

สภาพดิน ฟา อากาศ


มะขามหวานเปนไมผลที่เจริญเติบโตไดดีในเขตรอน ขึ้นไดในดินเกือบทุกชนิด ทนแลง ตองการ
ปริมาณน้ําปานกลาง นับวาตองการน้ํานอยกวาไมผลชนิดอื่น ๆ ไมชอบน้ําทวมขัง ปลูกเลี้ยงงาย โตเร็ว ไม
คอยมีปญหาเนื่องจากมะขามจะออกดอกและติดฝกออนในฤดูฝน ผลแกในฤดูแลงอยางไรก็ตาม สภาพดินฟา
อากาศ ที่เหมาะในการปลูกมะขามหวานเปนอาชีพนั้น ควรเปนดินคอนขางเหนียว มีความเปนกลางหรือดาง
ออน ๆ มีปริมาณอินทรียวัตถุพอสมควร เปนที่สูงน้ําไมทวมขัง และในฤดูแลงมีน้ําใหบาง สรุปแลวใน
ประเทศไทยสามารถปลูกมะขามหวานไดเกือบทุกภาค และถามีการบํารุงรักษาตามสมควร แลวก็จะไดผล
ดีกวาไมผลอื่น ๆ มากทีเดียว

พันธุม ะขามหวาน
ปจจุบันในประเทศไทยมีมะขามหวานอยูมากมายหลายพันธุแตละพันธุก็มีลักษณะและคุณสมบัติ
แตกตางกัน ซึ่งพอจะสรุปพันธุมะขามหวานที่ควรแนะนําและสงเสริมดังนี้.-

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/
4

1. พันธุสีทอง เปนมะขามหวานฝกฆองหรือโคงยาวใหญเปลือกฝกหนา สีน้ําตาลออน ผิวเกลี้ยง


นวล เนื้อมะขามหนา กรอบ เนื้อสีน้ําตาลเหลือง พังพืดหรือเยื่อหุมเมล็ดไมเหนียว เมล็ด หลุดออกจากเนื้อ
งาย กลิ่นหอมพอสมควร รสหวานจัด เมล็ดเล็กนับวาเปนพันธที่มีฝกใหญที่สุดมีจํานวนฝกประมาณ 25 - 30
ฝก ในหนึ่งกิโลกรัม เปนพันธุมะขามหวานพุมกวางสูงใหญ ทรงพุมไมแนนอน ใบใหญ ยอดออน สีแดงปน
ชมพู ลําตนคอนขางละเอียด สีน้ําตาลออนออกนวล ๆ ฝกแกชาหรือเปนมะขามพันธหนัก ซึ่งกลายพันธมา
จากพันธุหมื่นจง มีถิ่นกําเนิดที่อําเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ จัดวาเปนพันธุที่นิยมมากที่สุด

2. พันธหมื่นจง เปนมะขามหวานฝกฆอง พันธุเกาแกดั้งเดิมเปนพอแมพันธุของพันธุสีทองน้ําผึ้ง


และพันธุฝกฆองอื่น ๆ ฝกมีขนาดกลางเล็กกวาพันธุสีทองเล็กนอย ผิวฝกหยาบสีน้ําตาล เปลือกหนา เนื้อหนา
สีน้ําตาลเขมปนเหลือง มีกลิ่นหอมมาก และรสหวานจัด มีเปอรเซ็นตน้ําตาลสูงถึง 45.2% ลําตนสีน้ําตาลเขม
เกือบดํา เปลือกหนาหยาบเปนรองลึก ใบใหญสีเขียวเขม ยอดออนสีแดงออนปนชมพู พุมตนกวางใหญ กิ่ง
กานโปรง ใบไมคอยดก ตาดอกแตกออกจากกิ่งใหญและยอดใหผลดกกวาพันธุสีทอง และเปนพันธุหนักพอ
ๆ กันฝกแกเก็บไดประมาณเดือนกุมภาพันธ ตนมะขามพันธหมื่นจงมีถิ่นกําเนิดอยูที่ อําเภอหลมเกา จังหวัด
เพชรบูรณ เปนพันธุดีที่นิยมกันมานานจนถึงปจจุบัน

3. พันธุน้ําผึ้ง เปนมะขามหวานฝกฆอง คาดวากลายพันธุมาจากกพันธุหมื่นจง จัดเปนมะขาม


หวานฝกเล็ก แตใหผลผลิตสูง เนื่องจากติดผลดกลักษณะฝกและสีผิวคลายหมื่นจง เนื้อสีน้ําตาลเขม เนื้อหนา
พอสมควร ความหวานและกลิ่นหอมนอยกวาพันธุหมื่นจง-สีทอง พังพืดหรือเยื่อหุมเมล็ดคอนขางเหนียว
เมล็ดเล็ก เปลือกหนา ลําตนสีน้ําตาลดํา ใบเล็กสีเขียวเขม ใบดก พุมแนนทรงกลม ขนาดสูงปานกลางเปน
มะขามพันธุเบา ฝกแกเก็บไดเร็วประมาณเดือนธันวาคม

4. พันธศรีชมพู เปนมะขามหวานฝกดิ่งหรือฝกตรง ซึ่งตนเดิมนํามาจากประเทศลาวและปลูกขยาย


พันธจนมีชื่อที่อําเภอเมืองเพชรบูรณ ฝกใหญและยาวที่สุดในบรรดามะขามหวานฝกตรงดวยกัน ฝกสีน้ําตาล
ออกนวลผิวเรียบ เปลือกคอนขางบางแตกงาย เนื้อหนาฉ่ําสีน้ําตาลใสอมเหลือง มีรสหวานปานกลาง รสชาติ
อาจจะเปลี่ยนแปลงไดตามสภาพของดินและความสมบูรณของตน ดังนั้นถาจะปลูกพันธศรีชมพูตองเลือกดินดี
มีน้ําพอในฤดูแลงจึงจะใหผลดี จัดวาเปนมะขามพุมขนาดกลาง ทรงรูปไข กิ่งกานนานทึบ ลําตนหยาบสี
น้ําตาลเขม ใบใหญและดกสีเขียวเขม ยอดออนอวบและมีสีแดงแกเห็นชัดเจน ซึ่งเปนลักษณะเดนของพันธุศรี
ชมภู และเปนพันธุเบา ดกปานกลาง

5. พันธุอ นิ ทผลัม เปนมะขามหวานฝกดิ่งมีฝกขนาดกลางหรืออาจใหญพอ ๆ กับพันธุศรีชมพู ฝก


อาจโคงเล็กนอยไมคอยตรงนัก บางทีฝกอาจจะเปนเหลี่ยมมีสัน เปลือกคอนขางบางสีน้ําตาลแก เนือ้ หนา
เหนียวและฉ่ําสีน้ําตาลเขมเหมือนเนื้ออินทผลัม มีกลิ่นหอมเล็กนอย รสหวานปานกลางหรือพอกับพันธุศรี
ชมพู แตหวานกวาพันธุขันตีเปนมะขามพุมขนาดกลางทรงรูปไขเกือบกลม กิ่งกานแนนทึบใบใหญและดก

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/
5

ยอดออนสีเขียวครีม ซึ่งเปนลักษณะพิเศษแตกตางจากพันธุอื่น ๆ ลําตนหยาบปานกลางแตละเอียดกวาและสี


ออนกวาพันธุศรีชมพู เปนพันธุเบาและดกถึงดกปานกลาง เปนรองพันธุน าํ้ ผึง้ สําหรับมะขามพันธุอินทผลัม
เวลาเก็บฝกจะตองใหฝกแกจริง ๆ เก็บมาแลวควรผึ่งอากาศไวสัก 2-3 วัน จึงคอยรับประทาน จะทําใหมีรส
หวานจัดและกลิ่นหอมเพิ่มขึ้น อยางไรก็ตามการเลือกที่ปลูกและดูแลรักษานั้นเชนเดียวกับพันธุศรีชมพู

6. พันธุขันตี เปนมะขามหวานฝกดิ่งอีกพันธุหนึ่งซึ่งนาสนใจเนื่องจากมีความดกเปนพิเศษ เปลือก


หนา เนื้อมาก เมล็ดเล็ก มีรสหวานพอควร ฝกขนาดกลางและตรงสั้นปอม สีของฝกคลายพันธุศรีชมพู แต
เห็นเปนขอปลองชัดกวาลําตนคอนขางละเอียด สีน้ําตาลออนและขาวนวล มีพุมขนาดกลาง ทรงกลม กิ่งกาน
แนนทึบ ใบเล็กหนาและดกสีเขียวเขม ยอดสีชมพูออนเปนมะขามพันธุเบาใหผลตอบแทนสูง

7. พันธุปากดุก เปนมะขามหวานฝกดาบ ฝกคอนขางสั้น จะโคงเล็กนอย สีน้ําตาลปนเทา เปลือก


หนา เนื้อหนาและออน รสหวานอรอยเปนพันธุคอนขางหนักพอกับหมื่นจง มีความดกพอสมควร มีพุมขนาด
กลาง ทรงรูปไขเกือบกลม กิ่งกานพอประมาณไมทึบนัก ใบเล็กสีเขียวเขม

8. พันธุแจหม เปนมะขามหวานฝกดาบอีกพันธุหนึ่ง ซึ่งมีชื่อเสียงของจังหวัดลําปาง ฝกกลมยาวอา


จะเปนเหลี่ยมนิดหนอยและโคงเล็กนอยเหลือกบาง เนื้อหนาพอสมควรแตคอนขางแฉะ สีนาํ้ ตาลแดง รส
หวานปานกลางหวานจัด ฝกมักจะแตก เปนเหตุใหเชื้อราเขาทําลายไดงาย เปนมะขามพันธกลางถึงหนักพอกับ
พันธุหมื่นจง แตใหผลดกพอสมควร ทรงพุมกลมและใหญมีกิ่งกานพอประมาณ นับวาเปนมะขามหวานพันธุดี
พันธุหนึ่ง

นอกจากพันธุที่กลาวแลวยังมีพันธมะขามหวานอีกหลายพันธ ซึ่งมีขอดีเสียและคุณสมบัติแตกตางกัน
ออกไป

มะขามหวานเปนไมผลที่สามารถขยายพันธุไดหลายวิธี เชน การเพาะเมล็ด, การตอน, การทาบกิ่ง,


การติดตา, ตอกิ่งและแมกระทั่งการปกชําก็ยังไดผลดีแตตองมีฮอรโมนชวย

การเพาะเมล็ด นิยมกันในสมัยกอนคนโบราณทํากันมานานแลวมะขามหวานพันธุตาง ๆ ที่มีใน


ปจจุบันไดมาจากการเพาะเมล็ดทั้งนั้น แตวาโอกาสที่จะไดพันธุดี ๆ มีนอ ย สวนใหญจะกลายเปนพันธุเลว
และตองใชเวลาหลายปจึงจะใหผล ตนสูงใหญเกินไปเก็บฝกยาก ปจจุบันการเพาะเมล็ดไมคอยนิยม

การติดตา เปนวิธีคอนขางจะยาก เนื่องจากมะขามเปนไมเนื้อแข็ง เปลือกขรุขระและหยาบ ใบรวง


งาย มีตาขนาดเล็กแบนราบ เลือกตาลําบากตองอาศัยความชํานาญและอุปกรณตองคม จึงไมคอยมีผูนิยมการ
ติดตามะขามเนื่องจากมีวิธีอื่นที่ทํางายกวา

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/
6

การตอกิ่ง เปนวิธีขยายพันธซึ่งนิยมทํากันแตก็ยังนอยกวาการทาบกิ่ง วิธีนี้มักกระทําเพื่อเปลี่ยนยอด


ของตนเดิมเปนการเปลี่ยนพันธ ซึ่งวิธีการตอกิ่งทําเชนเดียวกับมะมวงหรือไมผลอื่น ๆ และควรตอกิ่งในฤดูที่
มะขามพักตัวหรือกอนที่จะผลัดใบ จะชวยใหเปอรเซ็นตการตอกิง่ ไดผลดีและระวังอยาตัดตนตอใหต่ํานักหรือ
ตัดออกหมดทีเดียวตนตออาจจะตายได

การทาบกิ่ง เปนวิธีที่งายและนิยมมากที่สุดใชเวลาในการทาบกิ่งประมาณ 45 - 60 วัน โดยใชตน


ตอจากการเพาะเมล็ดมะขามเปรี้ยวจะเพาะลงแปลงแลวขุดใสถุงพลาสติกหรือจะเพาะลงถุงเลยก็ได อายุของตน
ตอ (root stock) ประมาณ 3 เดือนถึง 1 ป ก็ใชทาบได ไมควรใชตนตออายุมากเกินหรือขนาดใหญนัก
เพราะเนื้อไมจะแข็งทาบยาก และอาจมีรากไมคอยแข็งแรง เนื่องจากรากบางสวนที่ยาวเกินและโผลออกจากถุง
ตองถูกตัดออกกอนเอาตนตอขึ้นทาบกิ่ง สวนวิธีการทาบกิ่งนั้นทําเชนเดียวกับมะมวงหรือไมผลอื่น ๆ
ชาวสวนมะขามเพชรบูรณสวนใหญจะขยายพันธุมะขามหวานดวยการทาบกิ่งเพราะวาไดผลดี สะดวก แข็งแรง
เจริญเติบโตเร็วและทนแลว ตลอดจนใหฝกเร็วอีกดวยเพียง 2-3 ปก็เห็นผล

การตอนกิ่ง เปนวิธีการขยายพันธุมะขามอีกวิธีหนึ่ง ซึ่งเคยใชกันมาในสมัยกอนและใหผลดี


พอสมควร ไดตนพันธุขนาดคอนขางใหญและใหฝกเร็ว ปจจุบันไมคอยนิยมเพราะวาตนมะขามหวานที่ไดจาก
การตอนไมมีรากแกว ทําใหโคนลมงาย ไมทนตอสภาพแหงแลงและดินเลว มดและปลวกรบกวน ตลอดจน
การตอนก็ใชเวลานานและตองรอใหกิ่งตอนมีรากมากพอจากนั้นจะตองเอาไปชําจนตั้งตัวดีแลวจึงจะนําออก
ปลูกได ชวงเวลาที่ใหผลดีในการตอนนั้นสั้นทําไดเฉพาะฤดูฝนและอาจตองใชฮอรโมนเขาชวยดวยเมื่อ
เปรียบเทียบกับการทาบกิ่งแลว สูการทาบกิ่งไมได

การปลูก

มะขามหวานถึงแมวาจะเปนไมผลที่ขึ้นไดเกือบทุกสภาพทองที่และทุกลักษณะดินก็ตาม แตถาจะให
ไดผลดีตองอาศัยเทคนิคตาง ๆ พอสมควร เชน การปลูก การดูแลรักษา และการเก็บผล ตลอดจนการเลือก
ใหพันธุอยางเหมาะสม สําหรับการปลูกมะขามหวานนั้นพอสรุปเปนแนวทางไดดังนี้.-
1. การเลือกพันธุมะขามและระยะปลูก มะขามหวานแตละพันธุนั้นมีลักษณะนิสัยและคุณสมบัติ
แตกตางกัน ดังนั้นในการเลือกพื้นที่และวางระยะปลูกจึงตองพิจารณาใหเหมาะสม และคํานึงการใชเทคนิคทาง
วิชาการที่เกี่ยวของ ตลอดจนแผนงานของผูเปนเจาของสวนที่ไดวางไวดวย มีหลักการแนะนําเปนแนวทางดังนี้
.-
1.1 ลักษณะดินและน้ําดี ควรใชระยะปลูก 7 x 7 ม. ใชตนพันธุจํานวน 32 ตน หรือระยะ 8 x 8 ม.
ใชตนพันธุจํานวน 25 ตน หรือระยะ 10 x 10 ม. ใชตนพันธุจํานวน 16 ตน

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/
7

1.2 ลักษณะดินไมดี ควรใชระยะปลูก 5 x 5 ม. ใชตนพันธุจํานวน 64 ตน หรือระยะ 5 x 6 ม. ใช


ตนพันธุ 53 ตน หรือระยะ 6 x 6 ม. ใชตนพันธจํานวน 44 ตน หรืออาจใชระยะปลูก 7 x 7 ม. หรือ 8 x 8
ม. ก็ได
1.3 ลักษณะพันธมะขามหวาน มะขามทรงพุมกวางไดแก พันธุสีทอง, หมื่นจง และแจหม ใชระยะ
ปลูก 8 x 8 ม´ หรือ 10 x 10 ม. ทรงพุมขนาดกลางไดแก พันธุน้ําผึ้ง, ขันตี, ปากดุก และหลังแตก ใชระยะ
7 x 7 ม. หรือ 8 x 8 ม. สวนทรงพุมขนาดเล็กหรือแคบไดแก พันธุศรีชมพู และอินทผลัม ใชระยะ 5 x 6 ม.
หรือ 6 x 6 ม. หรือ 7 x 7 ม.

ในปจจุบันนี้มีชาวสวนบางรายปลูกมะขามหวานระยะประชิดหรือระยะถี่ 3 x 6 ม. หรือ 4 x 5 ม.
โดยใชเทคนิคทางวิชาการแผนใหมเขาชวย เชนการใหน้ําแบบหยดการใหปุย ยา และฮอรโมน ทางใบ
ตลอดจนการตัดแตงกิ่งไมใหโตเกินไป ซึ่งสะดวกตอการดูแลรักษา การเก็บฝกและสามารถใหผลผลิตดีมี
คุณภาพอีกดวย

2. การเตรียมดิน กอนจะปลูกมะขามหวานควรจะกําจัดวัชพืชที่จะแยงอาหาร บดบังแสงหรืออาจ


เปนอันตรายตอตนมะขาม ตลอดจนเปนอุปสรรคตอการปลูกและการดูแลรักษาอื่น ๆ หลุมปลูกควรขุดหลุม
กวาง 50 ซม. ลึก 50 ซม. หรือถาดินและน้ําดีอาจหลุมเล็กกวานี้ จะชวยใหประหยัดเงินและแรงงาน แตถา
ดินเลวเปนดินลูกรังกันดารน้ําก็ควรใหหลุมใหญขึ้น ผสมดินปลูกลงในหลุมดวยแกลบดิบหรือเปลือกถั่วลิสง 2
สวน, ปุยคอกเกา 1 สวน และหนาดิน 1 สวน หรือถาไมมีจริงก็ใชเศษหญาใบไมแหงกับหนาดินก็ได ดิน
ผสมประมาณ 1 ลูกบาศกเมตร เติมกระดูกปนหรือปุยซูเปอรฟอสเฟต ½ - 1 กก. ถาแหลงใดดินเปนกรด
ควรเติมปูนขาวหรือปูนดินอีก ½ กก. เตรียมหลุมรดน้ําไวพรอมที่จะปลูกได

นําตนพันธุมะขามหวานลงปลูกกลางหลุม ในระดับผิวดินเติมกลบดินโคนตนใหรอยตอพนดิน อัดดิน


ใหแนนพอสมควร ใหหลักไมปกขางตนผูกยึดโคนตนใหแนน อาจจะใหปุยยูเรียหรือปุยผสม 15-15-15 อัตรา
1 ชอน รดน้ําใหชุมทั่วหลุมปลูกแลวคลุมโคนตนดวยฟางหรือเศษหญาแหง เพื่อรักษาความชื้นและปองกัน
วัชพืชขึ้นแซม ควรปลูกตนตนฤดู หรือถามีน้ําพอก็สามารถปลูกไดทุกฤดูกาล

การดูแลรักษา

การดูแลรักษาหลังปลูก ในระยะ 1-2 ปแรกหรือขณะที่ตนมะขามหวานยังเล็กอยู ควรดูแลรักษาใหดี


อาจรดน้ําใหสัปดาหละ 1-2 ครัง้ ในฤดูแลงหรือเมื่อฝนไมตกและกรีดพลาสติกที่พันรอยตอของกิ่งทาบ
หลังจากปลูกแลว 1-2 เดือน ถาไมเอาออกตนจะคอดไมโตหรืออาจจะหักโคนตรงรอยตอได คอยริดและ
ทําลายตาขางที่แตกออกมาจากตนตอ (root stock)

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/
8

หมั่นพรวนดินกําจัดวัชพืช และคลุมโคนตนดวยอินทรียวัตถุหรือหญาแหง เพื่อรักษาความชื้นไว


ปองกันไฟปาในฤดูแลง และใหปุยคอก แกลบเผา หรืออินทรียวัตถุอื่น ๆ ในตนฤดูฝนควรเรงใหตนมะขาม
โตเร็วดวยปุยเคมีสูตร 30-20-10 หรือ 15-15-15 ถามีแมลงรบกวน กัดกินใบยอดออนใชยาเซฟวิน 85 พนให
ทัว่ ตน สวนโรคราแปงและโรคใบจุดใชยาโลนาโคลหรือดาโคนิล พนทุกสัปดาหจนกวาจะหายหรือพนปองกัน
เดือนละครั้ง และถาหากมีปญหาเกี่ยวกับโรคแมลงรบกวนมาก ๆ ใหรีบปรึกษาสํานักงานเกษตรหรือหนวย
ปราบศัตรูพืชที่อยูใกล

การดูแลและบํารุงรักษา เมื่อตนมะขามโตและใหผลแลว หลังจากปลูกมะขามหวานดวยกิ่งทาบ


ประมาณ 2-3 ป มะขามจะเริ่มใหผลผลิตโดยจะออกดอกในตนฤดูฝนและฝกจะแกเก็บไดในฤดูแลง ดังนัน้
เกษตรกรที่จะปลูกมะขามหวานเปนอาชีพ ควรจะวางแผนบํารุงรักษาตนมะขามหวานดังนี้.-

1. การใหน้ํา ควรใหน้ําตนมะขามทันทีหลังจากเก็บฝกและตัดแตงกิ่งแลว เพื่อมะขามจะไดผลิใบ


ใหมออกดอกเร็วขึ้น และออกดอกพรอมกัน ทําใหฝกแกเก็บไดเร็วขึ้นอีกดวย ควรใหน้ําทุกครั้งเมื่อมีการใหปุย
ทางดินและใหบาง ขณะติดฝกออนในชวงที่ฝนทิ้งระยะ หรือดินมีความชื้นนอย และหยุดการใหน้ําเมื่อฝกเริ่ม
แก

2. การใสปุย มะขามหวานนั้นตองการปุยเชนเดียวกับไมผลอื่น ๆ ถึงแมวามะขามจะเปนพืชที่หา


อาหารเกงหรือเจริญเติบโตไดดีในทุกสภาพดินก็ตาม แตถาไมใสปุยเพิ่มเติม หรือใหปุยไมถูกจังหวะ ไมถูก
สูตรและไมพอกับความตองการแลวอาจทําใหผลผลิต และคุณภาพของมะขามหวานไมดีเทาที่ควร ดังนั้นการ
ใสปุยจึงควรพิจารณาใหดังนี้.-
2.1 ใสปุยคอก หรืออินทรียวัตถุ และกระดูกปน หรือปุยซูเปอรฟอสเฟต เปนประจําทุกป ตอนตน
ฤดูฝน ปริมาณมากนอยขึ้นอยูกับขนาดของทรงพุม และความสมบูรณของดิน
2.2 ใสปุยเคมี ที่มีไนโตรเจนสูง เพื่อเรงใหตนสมบูรณพรอมที่จะออกดอก โดยใชปุยสูตร 30-20-10
กอน พอตนสมบูรณแลวตามดวยปุยสูตร 15-15-15 หรือสูตร 15-30-15 การใสปุยใหใสเปนรางดินรอบ ๆ
โคนตนตามปลายรมเงาของทรงพุม และกอนออกดอกราวเดือนพฤษภาคม ใชปุยเกล็ดหรือปุยเกล็ดหรือปุยน้ํา
สูตรตัวกลางสูง เชนสูตร 15-30-15 หรือ 12-27-23 หรือ 10-45-10 (ถามะขามสมบูรณเกินไป) โดยพนปุยให
ทางใบและจะใชฮอรโมนแพลนโนฟกซ (Planofix) ซึ่งมีสารออกฤทธิ์คือ 1-Naphthylacetic acid (NAA)
ผสมสารจับใบพืชพนใหอีกเพื่อชวยใหการติดดอกและฝกออนดีขน้ึ ในชวงที่มะขามหวานเปนฝกออน ควรให
ปุยบํารุงฝกสักระยะหนึ่ง จนถึงกอนฝกมะขามโตเขาระยะคาบหมู จึงใหปุยที่มีธาตุโปแตสเซี่ยมสูง เชนสูตร
13-13-21 หรือสูตร 9-24-24 หรือปุยเกล็ดสูตร 12-22-32 หรือ 10-20-30 พนทางใบรวมกับยากันเชื้อราและ
ยาปองกันกําจัดแมลงเจาะฝก ปุยดังกลาวจะใหธาตุโปแตสเซี่ยมและฟอสเฟตสูง ชวยใหขนาดฝก คุณภาพของ
เนื้อมะขามและความหวานดีขึ้น

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/
9

ปริมาณของปุยเคมีที่ใหทางพื้นดินแกตนมะขามนั้น พิจารณาจากอายุ และขนาดทรงพุม อาจจะใหปุย


ตนละ 1-2 กก.ตอป และเพิม่ ขึน้ เรื่อย ๆ ควรแบงใส 2 ครั้ง แลวใหน้ําทุกครั้งเมื่อใสปุย

การตัดแตงกิ่ง
การตัดแตงกิ่งมะขาม ถือวาเปนเทคนิคทางวิชาการที่จะชวยเพิ่มผลผลิต เพิ่มคุณภาพ เพิ่มความสะดวก
ในการดูแลรักษาและเก็บผล การตัดแตงจะกระทําหลังจากเก็บฝกมะขามเรียบรอย โดยตัดแตงกิ่งที่แนนทึบ
กลางพุม กิ่งที่เปนโรคหรือแหงตายหรือกิ่งกิ่งกระโดง และตัดกิ่งยอดที่สูงเกินไปออก เพื่อควบคุมความสูงหรือ
ตัดแตงกิ่งที่กอยยอยลงต่ําเกินไปออก ควรทาแผลหรือรอยตัดดวยยาปองกันเชื้อโรค หรืออาจใชปูนขาวผสมน้ํา
ทา

การปองกันกําจัดโรคแมลง
แมลง แมลงศัตรูมะขามที่สําคัญและทําความเสียหายใหไดแก.-

1. แมลงนูนหรือแมลงปกแข็ง กัดกินใบออนและดอก จะระบาดในระยะมะขามผลิใบออน และออก


ดอก แมลงจะทําลายในตอนเย็นหรือกลางคืน ควรใชยาเซฟวิน 85 พนขณะที่มีการระบาด ควรพนยาในตอน
เย็นใหถูกตัวแมลง และพนยาปองกันไวทุกเดือน

2. หนอนคืบสีเทา เปนศัตรูสําคัญ ทีทําความเสียหายใหแกสวนมะขาม ตัวหนอนจะระบาดในชวง


ฤดูฝนระยะมะขามกําลังผลิใบจวนแกและกําลังออกดอก ถึงติดฝกออน หนอนจะอยูใตใบ กัดกินใบ ดอก
และฝกออน ทั้งกลางวันและกลางคืน และจะชักใยทิ้งตัวลงเมื่อไดรับความกระเทือนควรใชยาแลนเนท หรือ
เซฟวิน 85 พนใหถูกตัว และควรพนยาปองกันไวเมื่อถึงระยะการระบาด

3. หนอนเจาะฝก จะเขาทําลายโดยเจาะฝกมะขาม ตั้งแตฝกเริ่มอายุ 2 เดือนขึ้นไป ทําใหฝก


เสียหายมาก ควรใชยาอโซดริน หรือคารโบนอกซ พนปองกันและกําจัด ซึ่งยาดังกลาวสามารถปองกันกําจัด
พวกเพลี้ยแปง และเพลี้ยหอย ไดอีกดวย

โรค
มะขามหวานมีโรครบกวนคอนขางนอย อาจจะมีบางในบางทองที่หรือบางป และสวนใหญเกิดกับ
มะขามในแปลงขยายพันธุ สําหรับตนใหญมักพบกับตนที่ไดรับไนโตรเจนมาก และในชวงแตกใบออนไดแก.-

1. โรคราจุดสีดํา (Black Spot) จะระบาดในชวงฤดูฝนอากาศมีความชื้นสูง หรือรอนชื้นมาก โดยจะ


ทําความเสียหายใหกับใบออนและยอดออน เปนจุดสีดํา ทําใหใบรวงหรือเสียหาย การปองกันกําจัดควรหยุด
ใหปุยที่มีไนโตรเจนสูง และใชยาโกรแรม-คอมบี้ หรือเบนแลทหรือดาโคนิล พนกําจัดและปองกัน

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/
10

2. โรคราแปง (Powdery mildew) จะระบาดในชวงปลายฤดูฝนตนฤดูหนาว หรือเมื่อมีอากาศเย็น


ชืน้ โรคนี้ระยาดรุนแรง ทําความเสียหายใหทั้งในแปลงขยายพันธุ และแปลงปลูก หรือตนมะขามที่ใหผลแลว
โรคนี้เกิดที่ใบออน หรือยอดออน ทําใหใบบิดงอ และรวง มะขาม ชงักการเจริญ มีผลตอคุณภาพของฝกดวย
การปองกันกําจัด หยุดการใหปุยที่มีไนโตรเจนสูง ตัดยอดหรือสวนที่เสียหายทิ้ง และใชยาไดเทนเอม 45
หรือโลนาโคล หรือโกรแรม-คอมบี้ หรือ มิลเดก หรือคาราเทน พนกําจัดและปองกัน

สําหรับเรื่องโรคและแมลงศัตรู ถาทานมีปญหาและไมแนใจวาจะปองกันกําจัดอยางไร หรือหากเกิดมี


การระบาดในสวนของทาน ใหรีบปรึกษาสํานักงานเกษตร หรือหนวยปองกันและปราบศัตรูพืช ที่ใกลบาน
ทาน

การเก็บผลหรือฝก
มะขามหวาน จะแกเก็บไดในฤดูแลงประมาณเดือนธันวาคม-มีนาคม ขึ้นอยูกับพันธุและสภาพดินฟา
อากาศ ปใดฝนตกตนฤดูและหมดเร็วมะขามก็จะแกเร็ว และพันธุเบา ฝกเล็ก คุณภาพปานกลาง จะแกเก็บได
กอนสวนพันธุดี ๆ นั้นจะเก็บไดตอนกลางฤดู คือประมาณเดือนมากราคม-กุมภาพันธ หรือตนมีนาคม
การเก็บฝกมะขาม ตองพิจารณาดูเปนตน ๆ หรือเปนฝก ๆ ไปบางทีอาจจะแกเก็บไดไมพรอมกัน ฝก
ปลาย ๆ หรือดานนอกพุมมักจะแกกอนโดยสังเกตจากสีของฝก ความเหี่ยวของกานฝก และลักษณะอื่น ๆ ซึ่ง
ตองใชความชํานาญ หรือประสบการณ จะตองเก็บทีละฝก โดยใชมีดหรือกรรไกรตัดออกจากตน นําฝก
มะขามหวานที่เก็บไดไปกองผึ่งอากาศไวสัก 2-3 วัน เพื่อใหความชื้นในฝกมีอยูพอสมควร จึงทําการตัดแตง
กานหรือขั้วฝกแลวบรรจุภาชนะจําหนายได มะขามจัดวาเปนผลไมรับประทานสดที่สามารถเก็บไวไดนานที่สุด
และสามารถแปรรูปเปนอาหารและเครื่องดื่มไดหลานอยาง เชน มะขามแชอิ่ม มะขามเปยก แยมมะขาม
มะขามคลุก ทอปฟมะขาม น้ํามะขามเขมขน และไวนมะขาม

การเก็บรักษาฝกมะขามหวาน มะขามถึงแมวาจะเปนผลไมที่เก็บไวรับประทานไดนานก็ตามแตถา
ตองการเก็บไวนานมาก ๆ เนือ่ งจากผลผลิตมากเกินไป จําหนายไมหมด หรือเพื่อรอตลาด ควรมีการเก็บรักษา
ใหถูกวิธี แนวทางการเก็บรักษาฝกมะขามหวานที่ชาวสวนมะขามหวานเพชรบูรณใชกันและไดผลดีคือ การอบ
ดวยไอน้ําเดือดหรือหรือการนึ่งฝกมะขามโดยใชเวลาประมาณ 10-15 นาที จะชาหรือเร็วขึ้นอยูกับ ขนาดของ
ฝกพันธุมะขาม และปริมาณของฝกที่ใชอบ ตลอดจนอุปกรณและเชื้อเพลิง ซึ่งอาจจะนําไปอบไอรอนเพื่อลด
ความชื้นในฝก ทําใหฝกแหง จากนั้นบรรจุมะขามลงในโองเคลือบที่แหงและสะอาด คลุมดวยผาพลาสติกแลว
ปดฝาทับอีกใหมิดชิด กันอากาศเขา หรือจะบรรจุใสถึงพลาสติกหนา เย็บปากถุงใหสนิทก็ไดผลเชนกัน วิธี
ดังกลาวจะชวยทําลายไขและตัวแมลง ตลอดจนเชื้อราตาง ๆ ที่ติดมากับฝกมะขามใหหมดไป สามารถเก็บไว
ไดนานตามตองการหรืออาจจะเปนแนวทางที่จะชวยใหสามารถสงฝกมะขามหวานไปจําหนายยัง

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/
11

ฝายสงเสริมการเกษตร สํานักวิจัยและสงเสริมวิชาการการเกษตร
มหาวิทยาลัยแมโจ จ. เชียงใหม 50290 โทร. 0-53873938 , 0-53873939

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

You might also like