You are on page 1of 21

พุทธปรัชญา

การแตกเป็นนิกาย
การแตกเป็นนิกาย คือ สังฆเภท
ทางกายภาพ
– ไม่เกี่ยวข้องกัน ไม่ทำากิจกรรมร่วมกัน แยกกันอยู่คนละวิถี
– มีความประพฤติทางกาย และ วาจาต่างกัน
– กำาหนดเอกลักษณ์เฉพาะตน
ทางจิตภาพ
– ความคิดเห็นต่างกัน แม้ในเรื่องเดียวกัน
– ขาดมิติแห่งการระลึกถึงกันด้วยเมตตาธรรม
สาเหตุแห่งการแตกแยกเป็นนิกาย
ความขัดแย้งกันทางควา  เพราะการตีความไม่เหมือนกัน

มคิดเห็น  เพราะไม่มีเมตตาธรรมต่อกัน
 เพราะต้องการความโดดเด่น
(ขาดทิฏฐิสามัญญตา)
ความขัดแย้งกันทางควา  เพราะต้องการอำานาจ
 เพราะผลประโยชน์ขัดกัน
มประพฤติ
 เพราะไม่ได้รับความทัดเทียม
(ขาดสีลสามัญญตา)
ร่องรอยการแตกแยกเป็นนิกาย
ครั้งพุทธกาล: กรณีพระพุทธเจ้า กับ พระเทวทัต
– พระเทวทัตต้องการอำานาจในการปกครองคณะสงฆ์
เสนอเงื่อนไขเพื่อแบ่งแยก ๕ ข้อ
๑. ภิกษุทงั้ หลาย ควรอยู่ปา่ ตลอดชีวิต
๒. ภิกษุทั้งหลายควรเทีย่ วบิณฑบาตตลอดชีวิต
๓. ภิกษุทงั้ หลายควรถือผ้าบังสุกุลตลอดชีวิต
๔. ภิกษุทงั้ หลายควรอยู่โคนไม้ตลอดชีวิต
๕. ภิกษุทั้งหลายไม่ควรฉันปลาและเนื้อตลอดชีวิต
ร่องรอยการแตกแยกเป็นนิกาย
๓ ข้อแรก
พระพุทธองค์ตรัสห้ามการปฏิบตั ิเพราะสุดขั้วเกินไป
ส่วนข้อที่ ๔ ทรงอนุญาตให้อยู่ในรุกขมูลเสนาสนะตลอด
๘ เดือนเท่านั้น
และทรงอนุญาตให้ฉันปลาและเนื้อที่บริสุทธิ์ด้วยอาการ
๓ อย่าง คือ ๑. ไม่ได้เห็น ๒. ไม่ได้ยนิ ๓.
ไม่ได้รังเกียจ
ร่องรอยการแตกแยกเป็นนิกาย
หลังพุทธกาล: กรณีสงั คายนาครั้งที่ ๑ (พ.ศ. ๑)
– ความเห็นไม่ตรงกัน ๘
เรื่องเกี่ยวกับวินัยระหว่างคณะทำาสังคายนากับคณะของ
พระปุราณะ
– ทั้งสองต่างถือปฏิบัติตามที่ได้รับฟังจากพระโอษฐ์ของพ
ระพุทธเจ้าทีต่ รัสต่างวาระกัน
เรื่อง (วัตถุ) ๘ ข้อ คือ
 1. เก็บสิ่งของ เช่น เกลือ นำำามัน มติเป็น ๒ คือ
ข้าวสารเป็นต้นไว้ภายในที่อยู่
b. ทรงอนุญาตในคราวข้าวยากหมากแ
 2. ปรุงอาหารภายในที่อยู่
พง
 3. ปรุงอาหารเองได้
และทรงห้ามในคราวที่มคี วามอุดม
 4. ของที่ยงั ไม่ประเคน
สมบูรณ์
 5. ของที่นำามาจากที่นิมนต์
c. พระปุราณะ
 6. ของที่รับประเคนไว้ก่อนเวลาฉัน
ได้รบั ฟังจากพระโอษฐ์เฉพาะตอน
 7. สิ่งของที่เกิดในป่า
ที่ทรงอนุญาตเท่านั้น
 8. สิ่งของที่เกิดในสระ
ไม่ได้รบั ฟังตอนที่ทรงห้าม
จึงไม่ยอมรับว่า ๘ เรื่องนี้ ผิด
ร่องรอยการแตกแยกเป็นนิกาย
หลังพุทธกาล: กรณีสงั คายนาครั้งที่ ๒ (พ.ศ. ๑๐๐)
– ความเห็นไม่ตรงกัน ๑๐
เรื่องเกี่ยวกับวินัยระหว่างคณะทำาสังคายนากับคณะของ
พระภิกษุวัชชีบุตร
– ทั้งสองต่างถือปฏิบัติตามความเห็นของตนเอง
– แตกออกเป็น ๒ นิกาย คือ เถรวาท กับ มหายาน
ข้อที่เห็นแย้งกัน 10 เรื่อง
1. เก็บเกลือไว้ในกระบอกเขาสัตว์ 6.
2. เวลาบ่ายเงาตะวันคล้อยไปได้ 2 ให้ประพฤติตามที่อุปัชฌาย์อาจารย์์เ
นิ้วยังฉันอาหารได้ คยทำามา
3. เข้าไปบ้านฉันอาหารที่ไม่ประเคนได้ 7.
4. วัดที่มีสีมาเดียวกัน แยกทำาอุโบสถได้ ดืม่ นมสดที่แปรสภาพแล้วแต่ยังไม่เ
ป็นนมส้มได้
5.
สมาชิกยังมาไม่ครบให้ทำาสังฆกรรมไป 8. ดืม่ สุราอ่อน ๆ ได้
ก่อนได้แล้วขออนุมัติภายหลัง 9. ใช้ผ้าปูนั่งทีไ่ ม่มีชายผ้าได้
10. รับเงินและทองได้
มติ: เถรวาท เห็นว่า ผิด ส่วนมหายาน ถือว่า ไม่ผิด
ร่องรอยการแตกแยกเป็นนิกาย
หลังพุทธกาล: กรณีสงั คายนาครั้งที่ ๓ (พ.ศ. ๒๓๔)
– ความเห็นไม่ตรงกันเกี่ยวกับธรรมและวินัยระหว่างคณะ
สงฆ์เดิมกับคณะสงฆ์ที่ปลอมบวช
– ทั้งสองยังคงต่างถือปฏิบัติตามความเห็นของตนเอง
– แตกออกเป็นนิกายมากขั้น เป็น ๑๘ นิกาย
สรุปข้อแตกต่างระหว่างพุทธปรัชญาเถรวาทกับมหายาน

เถรวาท อาจริยวาท
หีนยาน มหายาน
สาวกยาน โพธิสัตวยาน
ทักษิณนิกาย อุตตรนิกาย
นิกายอนุรักษ์นิยม นิกายเสรีนย
ิ ม
พุทธปรัชญาเถรวาท กับ พุทธปรัชญามหายาน

• ยึดคำาสอนในพระไตรปิฎกภาษา • ยึดคำาสอนในพระสูตรภาษาสันส
บาลี กฤตรุ่นหลัง
• มีปณิธานแบบพระพุทธเจ้าหรือมุ่ • มีปณิธานแบบพระโพธิสัตว์
งความเป็นพระอรหันต์
• ถือเคร่งครัดในวินัยตามพุทธบัญ • ไม่ถือเคร่งวินัยมากนัก
ญัติ ยืดหยุ่นได้ขึ้นอยู่บริบท
พุทธปรัชญาเถรวาท กับ พุทธปรัชญามหายาน

• อนุรกั ษ์นิยม • เสรีนิยม


• ไม่คอ่ ยแตกเป็นนิกายย่อยนัก • มักแตกเป็นนิกายย่อยมากขึ้น
• คำาสอนของพระพุทธองค์ถือว่าสม • ความคิดไม่หยุดนิ่ง
บูรณ์ดีอยู่แล้ว ตีความคำาสอนให้เหมาะกับสังคม
• ถือปฏิบัติไปตามลำาดับ ศีล สมาธิ • ไม่ถือปฏิบัติตามลำาดับ ข้ามขั้นได้
ปัญญา เช่น เน้นศรัทธา (สุขาวดี)
เน้นปัญญา (เซน)
พุทธปรัชญาเถรวาท กับ พุทธปรัชญามหายาน

• คับแคบ มุ่งเอาตัวรอดเฉพาะตัว • นำ้าใจกว้าง มุ่งช่วยผู้อื่นก่อน


• ตรัสรู้แจ้งในบุคคลศูนยตา • เห็นแจ้งทัง้ บุคคลศูนยตาและธรร
แต่ไม่เห็นแจ้งในธรรมศูนยตา มศูนยตา
• เป็นการหลุดพันแบบลบ • เป็นการหลุดพ้นแบบบวก
เพราะไม่รีบจนกว่าจะช่วยผู้อื่นก่
• ปฏิเสธจิตสากล อน
หรือพุทธภาวะทีม่ ีอยู่ในสรรพสัต • สรรพสัตว์มีพุทธภาวะที่ปราศจาก
ว์ กิเลสอยู่แล้ว
พุทธปรัชญาเถรวาท กับ พุทธปรัชญามหายาน

• พระพุทธเจ้าทรงเป็นมนุษย์ • พระพุทธเจ้ามิใช่มฐี านะเป็นมนุษ


มิใช่เทพผู้มีอำานาจเหนือธรรมชา ย์ธรรมดา
ติ • พระพุทธเจ้ามี ๓ ภาค คือ
• พระพุทธเจ้ามีเพียงกายเดียวเท่า ธรรมกาย สัมโภคกาย
นั้น และนิรมาณกาย
• เมื่อปรินิพพานแล้ว • สิทธัตถพุทธเจ้าปรินิพพานเพียง
ก็ไม่มกี ารเกิดอีกต่อไป นิรมาณกายเท่านั้น
ความเป็นพุทธะอยู่ทธี่ รรม ธรรมกายและสัมโภคกายยังคงอ
มิได้อยู่เนื้อหนังร่างกาย ยู่
พุทธปรัชญาเถรวาท กับ พุทธปรัชญามหายาน

• เป้าหมายสูงสุด คือ นิพพาน • เป้าหมายสูงสุด คือ


• ไม่ค่อยแตกเป็นนิกายย่อยนัก โพธิสัตวญาณ หรือ โพธิจิต
• คำาสอนของพระพุทธองค์ถือว่าสม • กแตกเป็นนิกายย่อยมากขึ้น
บูรณ์ดีอยู่แล้ว • ความคิดไม่หยุดนิ่ง
• ถือปฏิบัติไปตามลำาดับ ศีล สมาธิ ตีความคำาสอนให้เหมาะกับสังคม
ปัญญา • ไม่ถือปฏิบัติตามลำาดับ ข้ามขั้นได้
เช่น เน้นศรัทธา (สุขาวดี)
เน้นปัญญา (เซน)
ประเด็นเพื่ออภิปรายร่วมกัน

• การทำาสังคายนาธรรมวินัย มีประโยชน์อย่างไร
และบรรลุวัตถุประสงค์มากน้อยเพียงไร?
• การแตกแยกเป็นนิกายต่าง ๆ ของพุทธปรัชญานั้น
มีข้อดีหรือข้อเสีย นักศึกษามีความเห็นว่าอย่างไร
• การแตกแยกเป็นนิกายมีสาเหตุที่แท้จริงมาจากอะไร
• ข้อแตกต่างระหว่างพุทธปรัชญาเถรวาทกับมหายานที่เด่นชั
ดคืออะไร

You might also like