You are on page 1of 27

กำำเนิ ดเครื่องคอมพิวเตอร์

ในระยะ 5,000 ปี ที่ผ่านมา มนุษย์เริ่มรูจ


้ ก
ั การใชูนิ้วมือและนิ้ วเทูา
ของตนเพื่อช่วยในการคำานวณ และพัฒนาเป็ นอุปกรณ์อ่ น ื ๆ เช่น
ล้กหิน
ประมาณ 2,600 ปี ก่อนคริสตกาล ชาวจีนได้ประดิษฐ์
เครื่องมือเพื่อใช้ในการคำานวณขึ้นมาชนิ ดหนึ่ ง เรียกว่า
ลูกคิด
พ.ศ. 2158 นักคณิตศาสตร์ชาวสก็อตแลนด์ช่ อื John Napier
ไดูประดิษฐ์อุปกรณ์ท่ีใชูช่วยในการคำานวณขึ้นมา
เรียกว่า Napier's Bones
พ.ศ. 2185 นั กคณิ ตศาสตร์ชาวฝรัง่ เศส ชื่อ Blaise
Pascal ได้ออกแบบเครื่องมือช่วยในการคำานวณโดยใช้
หลักการหมุนของฟั นเฟื อง
พ.ศ. 2373 Charles Babbage ศาสตราจารย์ทาง
พ.ศ. 2373 Charles Babbage ศาสตราจารย์ทาง
คณิ ตศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยแคมบริดจ์ของอังกฤษ
ได้สร้างเครื่องหาผลต่าง (Difference Engine)
ได้พัฒนาเครื่องมือหนึ่ งเรียกว่า เครื่องวิเคราะห์
(Analytical Engine)
ประกอบด้วย 4 ส่วน คือ
1. ส่วนเก็บข้อมูล
2. ส่วนประมวลผล
3. ส่วนควบคุม
4. ส่วนรับข้อมูลเข้าและแสดงผลลัพธ์
● พ.ศ. 2385 สุภาพสตรีชาวอังกฤษชื่อ Lady Augusta Ada Byron
ทำาการแปลเรื่องราวเกี่ยวกับเครื่อง Analytical Engine
เป็ นโปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก และยังค้นพบอีกว่าชุดบัตรเจาะรูท่ีบรรจุชุด
คำาสัง่ ไว้สามารถนำากลับมาทำางานซำ้าใหม่ได้ถ้าต้องการ
● พ.ศ. 2480 ศาสตราจารย์ Howard Aiken ได้พัฒนาเครื่องคำานวณตาม
แนวคิดของแบบเบจ ร่วมกับวิศวกรของบริษัท ไอบีเอ็ม
เครื่องมือนี้ มีช่ ือว่า MARK I หรือมีอีกชื่อหนึ่ งว่า IBM Automatic
Sequence Controlled Calculator เป็ นเครื่องคำานวณแบบอัตโนมัติ
เครื่องแรกของโลก
● พ.ศ. 2486 เป็ นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ศูนย์วิจัยของกองทัพบก
สหรัฐอเมริกา ต้องการเครื่องคำานวณหาทิศทางและระยะทางในการส่งขีปนาวุธ
สร้างคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิ กส์ข้ ึนมา มีช่ ือว่า ENIAC (Electronic
Numerical Intergrater and Calculator) สำาเร็จในปี 2489 นำา
หลอดสุญญากาศจำานวน 18,000 หลอดมาใช้ในการสร้าง
การออกแบบเพื่อประสิทธิภาพ

ซีพียแ้ บบ Cartridge
มีร้ปร่างแผงสัญญาณของซีพีย้
สำาหรับเสียบลงในช่อง
เสียบแบบสล๊อต (slot) แบ่ง 3
แบบ
Slot 1 พัตนาโดย Intel ใช้กับซีพียู Pemtuim III , Pentuim II และ
ซีพียู Celeron (รุ่นเก่า) มีจำานวนขาสัญญาณ 242 ขา ( 2 แถว )

Slot 2 ของอินเทลอีกเช่นกัน โดยใช้กบ


ั ซีพย
ี ู Pentuim II Xeon และซีพียู

Pentuim III Xeon มีขาสัญญาณ 330 ขา ( 2 แถว )


ี ้ Athlon (รุ่นเก่า)
Slot A พัฒนาโดย AMD ใชูกับซีพย
มีขาสัญญาณ 242 ขา เหมือนกับซีพย
ี ้แบบ Slot 1
ของอินเทล
ซีพียูแบบ PGA
มีลักษณะเป็ นชิปแบนๆ มีขาจำานวนมากอยู่ใต้ตัว
ซีพียูสำาหรับเสียบลงในซ็อกเก็ต เรียกว่า PGA
หรือ Pin grid array แบ่งได้ 3 แบบ
Socket 7 ใชูกบ
ั ซีพีย้รน
ุ่ เก่า เช่น Pentuim
MMX ,AMD (K5, K6,K6-2,K6-III)และ Cyrix
III ,มีขาสัญญาณ 321 ขา
Socket 370 พัฒนาโดยอินเทลใช้กับซีพียู Pentuim
III,Celeron(รุ่นใหมุ)
และ Cyrix III ,มีขาสัญญาณ 370 ขา
Socket 423 เป็ นซ็อคเก็ตที่พัฒนาโดยอินเทล
เพื่อ
รองรับกับ Pentuim 4 โดยเฉพาะ มีจำานวนขา
สัญญาณ 423 ขา
Socket A พัฒนาโดย AMD เพื่อใช้กับซีพียูของตนเองใน
Athlon รุน
่ ใหมุและ Duron ,มีขาสัญญาณ 462 ขา
ซีพียูค่าย Intel
Pentuim
เป็ นซีพย
ี ร
้ ุ่นแรกในตระก้ล P5 มีแคชระดับ 2 บน
เมนบอร์ดขนาด
256 KB
ทำางานได้ในแบบ 32 บิต
สามารถส่งผ่านขูอม้ลติดต่อกับอุปกรณ์ภายนอก
ดูวย Data bus ขนาด 64 บิต
มีแคชระดับหนึ่ งจำานวน 16 KB ใชูสำาหรับประมวลผล
คำาสั่ง 8 KB
และจัดการกับข้อมูลจำานวน 8 KB
Pentuim MMx
เพิ่มขนาดหน่ วยความจำาระดับ 1 ( L1 cache)
เป็ น 32 KB
สนั บสนุ นการทำางานกับระบบมัลติมเี ดีย
ใชูกับเมนบอร์ดแบบ Socket 5 และ 7 ใชูความถี่
บัส 66 MHz มีความเร็วระหว่าง 166 ถึง 233 MHz
Pentuim Pro
เป็ นซีพียเ้ ริ่มตูนของตระก้ล P6 ถ้กออกแบบ
มาเป็ นแบบ 32 บิตสมบ้รณ์
มีหน่ วยความจำาแคชระดับ 2 อย่ใ้ นตัวขนาด
256KB ถึง 512 KB
ใชูกับเมนบอร์ดแบบ Sacket 8
ทำางานที่ความถี่บัส 60 MHz และ 66 MHz
มีรน
ุ่ ความเร็ว150 ,166 ,180 และ200MHz
Pentuim II
มีหน่ วยความจำาแคชระดับ 1 ขนาด 32KB สำาห
ระบประมวลผลคำาสั่ง และจัดการกับขูอม้ล
อย่างละ 16 KB
หน่ วยความจำาแคชระดับ 2 อีก 513 KB
ทำางานที่ความเร็วเพียงหครึงหนึ่ งของซีพียู ใชู
กับเมนบอร์ดแบบ Slot 1
ผลิตด้วยเทคโนโลยี 0.25 ไมครอน ใช้ความถี่
บัส 100 MHz
Celoron
เป็ นซีพียท ้ ่พ
ี ฒ
ั นามาจากสถาปั ตยกรรรมเดียวกับ Pentuim
II รุน
่ Deschutes
มีแคชระดับ 1 จำานวน 32 KB
ไดูเพิ่มแคชระดับ 2 จำานวน 128 KB ในรุ่น 300 A
มีการเปลี่ยนแปลงจากแบบ SECC ที่ใชูกับ Slot 1 ไปเป็ นแบบ FC-PGA
ใช้กับเมนบอร์ดแบบ Socket 370
Pentuim III
เพิ่มชุดคำาสั่ง SSE (Streaming SIMD Extention )
เพิ่มชุดคำาสั่ง
มีแคชระดับ 1 จำานวน 32KB
ร่น
ุ แรกคือ Katmai ใชูกับเทคโนโลยีการผลิตขนาด 0.25 ไมครอน
มีความเร็วระหว่าง 450 MHz ถึง 600 MHz
ร่นุ Coppermine ใชูกับเทคโนโลยีการผลิต ขนาด 0.18 ไมครอน
แคชระดับ 2 ไดูปรับเปลี่ยนใหูมีการทำางานดูวยความเร็วเดียวกับ
ซีพย ี ้ มีขนาด 256 KB
ความถี่บส ั แบบ 100 MHz และ 133MHz
ร่น ุ ที่ใชูกับเมนบอร์ดแบบ Slot 1 มีความเร็วระหว่าง 450 MHz ถึง 1.13 MHz
ร่น ุ ที่เป็ นแบบ PGA ใชูกับเมนบอร์ด Socket 370 มีความเร็วตั้งแต่ 500 MHz
Pentuim 4
ทำางานที่ความถี่บัส 400 MHz (100 MHz *
4)
มี 423 ขา ใชูกับเมนบอร์ดแบบ Socket 423
ใช้เทคโนโลยีการผลิตขนาด 0.18 ไมครอน
Pentuim (Northwood)
เพิ่มขาสัญญาณจากเดิมที่มี 423 ขา ไปเป็ น
478
ใช้เทคโนโลยีการผลิตเป็ นขนาด 0.13 ไมครอน
เพิ่มหน่ วยความจำาแคชระดับ 2 จากเดิม 256
KB ขึ้นมาเป็ น 512 KB
ใชูกับเมนบอร์ดแบบ Socket 478
ซีพีย้ค่าย AMD
K5
มีโครงสรูางเท่าเทียบกับซีพียร้ ุ่น Pentuim ของ
อินเทล
ใช้เมนบอร์ดแบบ Socket 7
ความเร็วระหว่าง 90 - 166 MHz
K6
เพิ่มความสามารถทางด้าน MMX
ใชูความถี่บัส66 MHz มีหน่ วยความจำาแคช
ระดับ 1 จำานวน 32 + 32 KB
รุ่นนี้ มีความเร็วระหว่าง 166 - 266 MHz
K 6 -2
มีการใชูคำาสั่ง 3D NOW!
มีหน่ วยความจำาแคชระดับ 2 อย่้ภายนอกซีพีย้
จำานวน 512 KB
มีความถี่บัส 66 และ 100 MHz
มีความเร็วตั้งแต่ 300 MHz ถึง 550 MHz
K 6 III
มีการเพิ่มหน่ วยความจำาแคชระดับ 2 ขนาด 256 KB
เข้าไปในตัวชิป
หน่ วยความจำาแคชระดับ 3 ที่อย่้นอกซีพีย้บน
เมนบอร์ด มีขนาด 512 KB 1 MB และ 2 MB ขึ้นอย่ก ้ ับ
รุ่นของเมนบอร์ด
หน่ วยความจำาแคชระดับ 1 มีขนาด 32 +32 KB
ชุดคำาสั่ง MMX แล 3D NOW!
ความถี่บส ั 100 MHz ใชูกับเมนบอร์ดแบบ Super 7
(Socket 7)
Athlon
เป็ นซีพียใ้ นรุ่นแรกในตระก้ล K 7
ใชูระบบบัสแบบ EV6 ความถี่ 100 MHz
ชุดคำาสั่ง MMX และ 3D NOW! Enhance
หน่ วยความจำาแคชระดับ 1 จำานวน 64+64 KB
แคชระดับ 2 จำานวน 512 KB
ผลิตด้วยเทคโนโลยี ขนาด 0.18 ไมครอน
ตัวชิปเป็ นแบบ PGA เรียกว่า "Thunderbird"
CD-ROM
ซีดีรอม (CD ROM ย่อมาจาก Compact disc
Read Only Memory) เป็ นสื่อ บันทึก ข้อมูล
ชนิ ดหน่วย เก็บข้อมูล สำารอง (Secondary
Storage Media)
สามารถเก็บข้อมูลเทียบเท่ากับดิสก์เก็ตความจุ 1.44
MB จำานวน 600 แผ่นหรือเท่ากับฮาร์ดดิสก์ขนาด
ความจุ 600 MB
ฮำร์ดดิสค์ (Hard disk)
มีความหนาแน่นของการจุข้อมูลบนผิวหน้าได้สูง
จำานวนวงรอบสูงมากกว่า 1000 แทร็กขึ้นไป
เครื่องขับจานแม่เหล็ก (Disk Drive)
ใช้อ่านและบันทึกข้อมูลบนจานแม่เหล็ก มีสองแบบ
คือ
แบบจานติดอยู่กบ ั เครื่อง (fixed disk)
แบบยกจานออกเปลี่ยนได้ (removable disk)
สามารถค้นหาข้อมูลด้วยเวลาเฉลี่ยประมาณ 50 มิลลิ
วินาที
ย้ายข้อมูลด้วยอัตราเร็วสูงถึง 320,000 ไบต์ต่อวินาที
Diskket / Floppy disk
ยุคแรก ใช้แผ่นจานแม่เหล็กแบบอ่อน เรียกว่า
แผ่นดิสเก็ทท์ (floppy diskette)
ขนาด 5.25 นิ้ ว ความจุ 360 KB
(360,000 ตัวอักษร)
ต่อมามีรุ่น HD (High Density - ความหนาแน่น
สูง) ความจุ 1.2 MB (1,200,000 ตัวอักษร)
ภายหลังแผ่นดิสเก็ทท์มีขนาดเล็กลงเหลือ 3.5 นิ้ ว
ความจุ 1.44 MB (1,440,000 ตัวอักษร)

You might also like