You are on page 1of 13

1

บทที่ 3
การใชมันสําปะหลังเพื่อผลิตเอทานอล

3.1 เทคนิคการผลิตเอทานอลจากมันสําปะหลัง
ประเทศไทยมีวัสดุที่มีศักยภาพผลิตเอทานอลหลายชนิดแตจากการประเมินขั้นตนพบวาตาม
สภาพที่เปนอยูในปจจุบันทั้งมันสําปะหลังและออยมีความเหมาะสมเหนือพืชอื่นในแงที่มีวัตถุดิบ
ปริมาณมากพอสําหรับการผลิตอุตสาหกรรมขนาดใหญ นอกจากนั้นประเทศไทยมีความพรอมดาน
ความรูความเขาใจรายละเอียดและเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับการผลิตเอทานอลจากมันสําปะหลัง อยางไร
ก็ตามยังคงมีความจําเปนตองศึกษาคนควาตอไปเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในทุกขั้นตอน
ของขบวนการ

3.1.1 การจัดการในภาพรวมการใชประโยชนจากมันสําปะหลัง
ปริมาณมันสําปะหลังในประเทศ
ในประเทศไทยมีอุตสาหกรรมมันสําปะหลังมานานมากกวา 40 ป ในอดีตประเทศไทยไดชื่อ
วาเปนผูสงออกแปงมันสําปะหลังรายใหญที่สุด และไดมีการพัฒนาอุตสาหกรรมมันสําปะหลังใหมี
ความหลากหลายมากยิ่งขึ้นโดยการขยายออกสูอุตสาหกรรมอาหารและอุตสาหกรรมยารักษาโรค
และลาสุดไดมีการพัฒนามันสําปะหลังเปนผลิตภัณฑพลาสติกที่ยอยสลายได
ปจจุบันมีปริมาณการผลิตหัวมันสําปะหลังสดรวม 20 ลานตันตอป ปริมาณมันสําปะหลัง
ประมาณ 50 เปอรเซ็นต ใชในการผลิตมันเสนและมันอัดเม็ดเพื่อสงขายเปนอาหารสัตวในประเทศยุ
โรปซึ่งสวนนี้สามารถนํามาใชในอุตสาหกรรมผลิตเอทานอลไดเกือบทั้งหมด อยางไรก็ตามยังมีลูทาง
เพิ่มปริมาณการผลิตมันสําปะหลังไดอีกโดยการเพิ่มผลผลิตตอไรซึ่งปจจุบันมีคาเฉลี่ยอยูที่ต่ํากวา
3,000 กิโลกรัมตอไรขณะที่ผลผลิตในไรที่มีการจัดการดวยเทคโนโลยีที่เหมาะสมจะเพิ่มขึ้นถึงระดับ
5000 กก.ตอไร นอกจากดานเพิ่มปริมาณผลผลิตยังมีชองทางปรับปรุงพันธุ และการจัดการดานการ
เก็บเกี่ยวใหมีปริมาณแปงมากขึ้น ซึ่งรวมถึงการใชประโยชนวัสดุเหลือจากการผลิต
2

ตารางที่ 5 ผลผลิตรวม

2545 2546 2547 2548 2549


(คาดการณ)
ผลผลิตเฉลี่ย (ตันตอไร) 2.73 2.73 2.87 3.16 3.70
ผลผลิตรวม (ลานตัน) 16.87 18.43 19.23 21.17 24.79
ผลิตภัณฑ
แปงมัน (ลานตันแปง) 2.08 2.56 2.73 3.13 3.66
หัวมันสดเพื่อใชในการผลิตแปง (ลานตัน) 9.15 11.25 12.03 13.76 16.11
มันเสน/อัดเม็ด (ลานตัน) 3.43 3.19 3.20 3.29 3.86
หัวมันสดเพื่อใชในผลิตภัณฑอื่น (ลานตัน) 7.72 7.18 7.20 7.41 8.68

ตารางที่ 6 ผลผลิตมันสําปะหลังใชภายในประเทศ

2545 2546 2547 2548 2549


(คาดการณ)
การใชภายในประเทศ
แปงมัน (ลานตันแปง) 0.81 0.90 0.99 1.09 1.20
หัวมันสดเพื่อผลิตแปง (ลานตัน) 3.56 3.96 4.36 4.79 5.28
มันเสน/อัดเม็ด (ลานตัน) 0.33 0.45 0.49 0.54 0.60
หัวมันสดเพื่อใชในผลิตภัณฑอื่น (ลานตัน) 0.75 1.01 1.11 1.22 1.34

เอทานอล (ลานลิตร) - 57.60 280.80 376.20 376.20


หัวมันสดเพื่อผลิตเอทานอล (ลานตัน) - 0.32 1.56 2.09 2.09

รวมใชภายในประเทศ
หัวมันสด (ลานตัน) 4.31 5.29 7.03 8.10 8.70
3

จากสวนแบงตนทุนการผลิตเอทานอล ตนทุน 45.57 เปอรเซ็นต เปนตนทุนของวัตถุดิบ ดัง


นั้นถาสามารถลดตนทุนตรงสวนนี้ไปไดจะทําใหตนทุนการผลิตเอทานอลลดลง โดยจากตารางที่ 9 จะ
แสดงใหเห็นวาถาทําการคัดเลือกพันธุมันสําปะหลังและอายุเก็บเกี่ยวที่องคประกอบของเปอรเซ็นต
แปงสูง เชน พันธุระยอง 90 และ CMR 35-64-1 ที่มีแปง 27 และ 30 เปอรเซ็นตตามลําดับ จะทํา
ใหใชปริมาณของมันสําปะหลังเปนวัตถุดิบในการผลิตเอทานอลนอยลง ตนทุนของวัตถุดิบลดลง ตน
ทุนการผลิตเอทานอลลดลง และทําใหราคาตนทุนเทาอนลไรน้ําที่ผลิตไดลดลง

ตารางที่ 7 ปริมาณมันสําปะหลังที่ใชตนทุนวัตถุดิบ และราคาตนทุนเอทานอลไรน้ําของโรงงาน


ตนแบบ ขนาด 1,500 ลิตรตอวัน ที่เปอรเซ็นตแปงตางกัน

ปริมาณ ตนทุนเอทานอลไรน้ํา
แปง ตนทุนวัตถุดิบ ตนทุนวัตถุดิบที่ลดลง
มันสําปะหลัง เปอรเซ็นต
(เปอรเซ็นต) (กิโลกรัม) (บาท) (เปอรเซ็นต) (บาทตอลิตร)
24 9,500 9,500 - 13.90
25 9,120 9,120 4.00 13.69
26 8,769 8,769 7.69 13.48
27 8,444 8,444 11.11 13.27
28 8,143 8,143 14.28 13.06
29 7,862 7,862 17.24 12.85

3.1.2 พื้นที่ปลูก
พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังมีอยูอยางจํากัดการวางแผนการผลิตระดับไรนา จะตองมีการประเมิน
ความเหมาะสม การคัดเลือกพันธุ ใหเหมาะกับสิ่งแวดลอมของพื้นที่ โดยมีเปาหมายใหสามารจัดการ
ไดอยางมีประสิทธิผลสูงสุด สัมพันธกันกับแผนการผลิตของโรงงานเอทานอล ปจจุบันพื้นที่ปลูกรวม
ทั้งประเทศ 9 ลานไร โดยสวนใหญอยูในพื้นที่ภาคตะวันออกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง

3.2 พันธุมันสําปะหลังเพื่อการผลิตเอทานอล
พันธุมันสําปะหลังที่ใหผลผลิตสูงหลายพันธุที่ศูนยวิจัยพืชไรระยองของกรมวิชาการเกษตรได
คนควาวิจัยปรับปรุงพันธุขึ้นและแนะนําเกษตรกรปลูกในหลายพื้นที่มี 4 พันธุ ความกาวหนาเกี่ยวกับ
4

การปรับปรุงพันธุมันสําปะหลังเพื่อการผลิตเอทานอล พบวา ปริมาณเอทานอลที่ไดขึ้นอยูกับปริมาณ


แปงในหัวมันสด พันธุที่ใหปริมาณแปงในหัวสดสูง เมื่อหมักแลวจะไดปริมาณเอทานอลสูงดวย และ
จากการทดลองรวมกั น ระหวา งศู น ย วิจัย พื ชไรระยอง สถาบั น วิจัย พื ชไร กรมวิช าการเกษตร และ
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ พบวา มันเสนที่ไดจากมันสําปะหลังอายุเก็บเกี่ยว
12-18 เดื อ น เป น วั ต ถุ ดิ บ ที่ เ หมาะสมกั บ การผลิ ต เอทานอล โดยการใช ร ว มกั บ ยี ส ต พั น ธุ
Saccharomyces cerevisiae TISTR 5596 โดยไมตองเพิ่มสารอาหาร สําหรับความสัมพันธระหวาง
สายพันธุและปริมาณเอทานอล พบวา มันสําปะหลังพันธุ 196 และ 199 ใหปริมาณเอทานอลเขม
ขนกวามันสําปะหลังพันธุอื่น ๆ อีก 5 พันธุ ดังแสดงในตารางที่ 5-2 จากผลการทดลองนี้มันสําปะหลัง
พันธุ 199 มีลูทางใชเปนมันสําปะหลังพันธุที่เหมาะกับการผลิตเอทานอล ทั้งนี้ขึ้นกับการพิจารณาคุณ
สมบัติที่เหมาะสมดานอื่นๆ เชน ปริมาณผลพลอยไดอื่น

ตารางที่ 8 พื้นที่ปลูกและรอยละของพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังแตละพันธุ

พื้นที่ พันธุ เนื้อที่ปลูก (ไร) รอยละของพื้นที่ปลูก


ภาคกลาง ระยอง 5 599,160 29.95
ภาคตะวันออก ระยอง 90 358,920 17.94
เกษตรศาสตร 50 768,602 38.42
พันธุอื่น ๆ 274,047 13.69
รวม 2,000,729 100.00

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระยอง 5 288,409 8.64


ระยอง 90 95,341 2.85
เกษตรศาสตร 50 2,309,662 69.55
พันธุอื่น ๆ 628,390 18.96
รวม 3,314,294 100.00

ภาคเหนือ ระยอง 5 248,417 28.05


ระยอง 90 38,349 4.33
เกษตรศาสตร 50 436,985 49.34
พันธุอื่น ๆ 160,270 18.28
รวม 876,753 100.00
5

ตารางที่ 9 แสดงผลผลิตหัวมันสดของพันธุมันสําปะหลังที่เหมาะกับการใชผลิตเอทานอล 7 พันธุ

ผลผลิตหัวมันสด (ตันตอไร)
พันธุ
8 เดือน 12 เดือน 18 เดือน
ระยอง 5 4.36 4.81 6.93
ระยอง 72 4.52 5.46 6.49
ระยอง 90 3.95 4.99 6.56
เกษตรศาสตร 50 4.30 4.99 7.34
CMR35-21-199 4.33 5.12 8.08
CMR35-22-196 3.29 4.76 7.68
CMR35-64-1 3.65 4.94 7.79
ที่มา : ศูนยวิจัยพืชไรระยอง (2537)
6

3.3 มันสําปะหลังพันธุแนะนําเพื่อการผลิต
3.3.1 ขอมูลมันสําปะหลังที่มีศักยภาพในการผลิตเอทานอล

พันธุระยอง 90
กรมวิชาการเกษตรรับรองพันธุป 2534

ลักษณะประจําพันธุ
- ลําตนโคงสีน้ําตาลอมสม
- ใบแกสีเขียวแก
- เนื้อภายในหัวสีขาว
- ผลผลิตสูง
- ยอดออนสีเขียวออน
- กานใบสีเขียวออน
- เปลือกนอกของหัวสีน้ําตาลเขม
7

- เปอรเซ็นตแปงสูง
ลักษณะดีเดน
- เปอรเซ็นตแปงสูง
25 เปอรเซ็นต ในฤดูฝน
30 เปอรเซ็นต ในฤดูแลง
- ตอบสนองตอปุยและตอสภาพแวดลอมไดดี
ขอจํากัด
- ลักษณะตนโคง
- ตนพันธุแหงเร็ว เก็บรักษาไวไดนาน (ไมควรเกิน 15 วัน)
8

พันธุระยอง 5
กรมวิชาการเกษตรรับรองพันธุป 2537

ลักษณะประจําพันธุ
- ยอดออนสีมวงออน
- ใบแกสีเขียวเขม และกานใบสีแดงเขม
- ลําตนสีเขียวปนน้ําตาล
- เปลือกนอกของหัวสีน้ําตาลออน
- เนื้อภายในหัวสีขาว
- ผลผลิตสูง
- เปอรเซ็นตแปงสูง
ลักษณะดีเดน
- ผลผลิตสูง
- เปอรเซ็นตแปงสูง
23 เปอรเซ็นต ในฤดูฝน
27 เปอรเซ็นต ในฤดูแลง
- ปรับตัวไดดีกับสภาพแวดลอม ปลูกไดดีทั้งในชวงตนฤดูฝน และปลายฤดูฝน
9

พันธุระยอง 72
กรมวิชาการเกษตรรับรองพันธุป 2542

ลักษณะประจําพันธุ
- ยอดออนสีมวง
- กานใบแกสีเขียวเขม
- เปลือกนอกหัวสีขาวนวล
- ผลผลิตสูงมาก
- ใบแกสีเขียวเขม
- ลําตนสีเขียวเงิน
- เนื้อภายในหัวสีขาว
- เปอรเซ็นตแปงสูงปานกลาง
ลักษณะดีเดน
- ทรงตนสูงตรง แตกกิ่งนอย ทอนพันธุแข็งแรง
- ปรับตัวไดดีกับสภาพแวดลอมโดยเฉพาะเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
- ผลผลิตสูงในทุกสภาพแวดลอม และ สูงมากในสภาพแวดลอมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
10

ขอควรระวัง
ปลูกในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใหเปอรเซ็นตแปงใกลเคียงกับพันธุระยอง 5 แตถาปลูก
ในเขตภาคตะวันออก จะใหเปอรเซ็นตแปงต่ํากวาพันธุระยอง 5

3.3.2 พันธุมันสําปะหลังพันธุแนะนําเพื่อการผลิตเอทานอล

พันธุระยอง 9
ประวัติ
มันสําปะหลังพันธุระยอง 9 หรือ CMR35-64-1 เปนมันสําปะหลังสําหรับอุตสาหกรรม ที่ได
จากการผสมขามระหวางพันธุที่มีเปอรเซ็นตแปงสูง 2 พันธุ คือ พันธุ CMR31-1-23 และพันธุ OMR29-
20-118 ในป 2535 ที่ศูนยวิจัยพืชไรระยอง คัดเลือกและประเมินศักยภาพของพันธุ ในป 2535-2542
ที่ศูนยวิจัย ศูนยบริการวิชาการ และไรเกษตรกร ในจังหวัดที่เปนแหลงปลูกมันสําปะหลังที่สําคัญใน
ภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวม 14 จังหวัด จํานวน 38 แปลงทดลอง พบวา ใหผล
ผลิตแปงและผลผลิตมันแหงสูง จึงนําไปประเมินผลผลิตเอทานอลรวมกับพันธุระยอง 5 ระยอง 72
ระยอง 90 และเกษตรศาสตร 50 ในระดับหองปฏิบัติการ และระดับโรงงานตนแบบ ที่สถาบันวิจัย
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย ในป 2544-2547 รวมระยะเวลาในการทดลองทั้งสิ้น 13
ป เสนอขอรับรองพันธุตอกรมวิชาการเกษตร ในป 2548 โดยใชชื่อวา “มันสําปะหลังพันธุระยอง 9”
เกษตรกรเรียกกันทั่วไปวา “พันธุเหลืองร่ํารวย”
ลักษณะประจําพันธุ
1. ลั ก ษณะทางพฤกษศาสตร ลํ า ต น สี น้ํ า ตาลอ อ น ถึ ง สี น้ํ า ตาลอมเหลื อ ง ความสู ง 235
เซนติเมตร ลําตนสูงตรง โดยทั่วไปไมคอยมีการแตกกิ่ง ในพื้นที่ที่มีการแตกกิ่งจะแตกกิ่งที่ระดับความ
สูง 160-180 เซนติเมตร กิ่งทํามุมแคบ 45-60 องศา กับลําตน มีจํานวนลําที่ใชทําพันธุ 1-3 ลําตอตน
กานใบสีเขียวออนอมชมพู ใบกลางเปนรูปใบหอก ใบและยอดออนสีเขียวออน หัวสีน้ําตาลออน เนื้อ
ของหัวสีขาว
2. ลักษณะทางเกษตรศาสตร ใหผลผลิตหัวสด 4.9 ตันตอไร สูงกวาพันธุระยอง 5 รอยละ 3
เมื่อเก็บเกี่ยวในฤดูฝน มีเปอรเซ็นตแปง 24.4 เปอรเซ็นต ใหผลผลิตแปง 1.24 ตันตอไร มีเปอรเซ็นต
มันแหง 42.9 เปอรเซ็นต ใหผลผลิตมันแหง 2.11 ตันตอไร เมื่อเก็บเกี่ยวในฤดูแลง เปอรเซ็นตแปงจะ
สูงขึ้นเปน 28-30 เปอรเซ็นต
11

3. ลักษณะทางเคมี เมื่ออายุ 8 เดือน 12 เดือน และ 18 เดือน มีแปงจากการวิเคราะหทาง


เคมี 28.9 30.8 และ 29.3 เปอรเซ็นต และมีปริมาณเอทานอล 191 ลิตร 208 ลิตร และ 194 ลิตร
จากหัวมันสด 1 ตัน
ลักษณะเดน
1. มีเปอรเซ็นตแปงสูงกวาพันธุรับรองทุกพันธุ ทําใหไดผลผลิตแปงและผลผลิตมันแหงสูง
1.24 และ 2.11 ตันตอไร สูงกวาพันธุระยอง 5 รอยละ 14 และ 19 ตามลําดับ จึงเหมาะสําหรับอุต
สาหกรรม แปงมัน มันเสน และมันอัดเม็ด
2. ใหผลผลิตเอทานอลสูงทุกอายุเก็บเกี่ยว โดยเก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 8 เดือน 12 เดือน และ 18
เดือน ใหเอทานอล 191 208 และ 194 ลิตร จากหัวสด 1 ตัน สูงกวาพันธุระยอง 90 ที่ใหเอทานอล
170 174 และ 155 ลิตร จากหัวสด 1 ตัน การทดสอบการผลิตในโรงงานตนแบบ พบวา การผลิตเอทา
นอล 1 ลิตร ใชหัวสดของพันธุระยอง 9 หนัก 5.05 กิโลกรัม เปรียบเทียบกับพันธุระยอง 90 ที่ใชหัวสด
5.68 กิ โลกรัม ซึ่ ง ทํ า ให ต น ทุ น วั ต ถุ ดิ บ ลดลงลิ ต รละ 40-80 สตางค เมื่ อ หั ว มั น สํ า ปะหลั ง สดราคา
กิโลกรัมละ 1.00 บาท และ 1.70 บาท ตามลําดับ จึงเหมาะสําหรับอุตสาหกรรมเอทานอล
3. ทรงตนดี สูงตรง ไดตนพันธุสําหรับขยายพันธุมาก อัตราการขยายสูงกวา 1:8
4. เปนโรคใบพุม ซึ่งเปนโรคที่พบมากในภาคตะวันออก นอยกวาพันธุรับรองทุกพันธุ
พื้นที่แนะนํา
มันสําปะหลังพันธุระยอง 9 ปลูกในพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังไดทั่วไปทั้งในภาคตะวันออก และ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ศักยภาพในการใหผลผลิตขึ้นกับศักยภาพของพื้นที่ ปริมาณน้าํ ฝนและการดู
แลรักษา พื้นที่ที่ใหผลผลิตไดดี ไดแก พื้นที่ท่ีเปนดินรวนปนทราย ไมเปนที่ลุมฉ่ําน้ํา ไมเปนดินทรายจัด
หรือลูกรังจัด มีปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยสูงกวา 1,000 มิลลิเมตรตอป ในเขตจังหวัดระยอง ชลบุรี ปราจีนบุรี
สระแกว นครราชสีมา มหาสารคาม กาฬสินธุ รอยเอ็ด
ขอควรระวัง
ควรเก็บเกี่ยวเมื่ออายุประมาณ 1 ป ถาเก็บเกี่ยวเร็วจะใหผลผลิตหัวสดต่ํากวาพันธุรับรอง
พันธุ อื่น ๆ เนื่องจากพันธุระยอง 9 มีเปอรเซ็นตแปงสูง แตสะสมน้ําหนักชา
12
13

You might also like