You are on page 1of 6

1

บทที่ 4
การบริหารจัดการเรื่องการผลิตเอทานอล

4.1 การเลือกเทคโนโลยีการผลิต
ปจจุบันโรงงานตนแบบระดับอุตสาหกรรมขนาดเล็กกําลังผลิตวันละ1500 ลิตรโรงแรกเพิ่งจะ
ทดลองผลิตโดย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ และระบบการกลั่นเอทานอลขั้นสุดทายเพื่อ
ใหไดบริสุทธิ 99.5 เปอรเซ็นต ยังคงเปนแบบธรรมดาคือการกลั่นดวยการเติมสารตัวที่ 3 สําหรับโรง
งานขนาดใหญ และการเลือกใชเทคโนโลยีแบบอื่นจําเปนตองซื้อจากตางประเทศเทานั้นเพราะขอ
จํากัดที่ไมมีการวิจัยพัฒนาที่ตอเนื่องดวยตัวเองมากอนหนานี้ การเลือกซื้อจึงยึดปจจัยราคาคาโรงงาน
และค าใชจายในการเดิน เครื่องเปน เกณทในการตัดสิน ใจ การจัดตั้งเครื่องจัก รโดยสวนใหญ เป น
บริการแบบ turnkey ที่รวมออกแบบและติดตั้งเบ็ดเสร็จ รวมทั้งใหคําปรึกษาในการบริหารการเดิน
ระบบ

4.2 การจัดการดานสิ่งแวดลอม
การจัดการดานสิ่งแวดลอมเปนสวนสําคัญในขบวนการผลิตในขั้นสุดทายและมักจะไดรับ
ความสนใจเปนลําดับรองจากสวนผลิตหลักของโรงงาน การจัดการดานสิ่งแวดลอมเปนสวนที่จะทําให
โครงการมีผลตอบแทนในระดับเปนไปได
เงื่อนไขที่สําคัญในการจัดการดานสิ่งแวดลอมคือ
- การใชทรัพยากรรวมกับระบบการผลิตสวนอื่น
- จัดการของเสียจากการผลิตมีใหออกสูบรรยากาศหรือแหลงน้ํา
- กูคืนพลังงานนํากลับมาใชใหมลดตนทุนพลังงานที่ใชในโรงงานหรือเผื่อแผใหชุมชนโดยรอบ
- การสนับสนุนจากชุมชนทําใหโรงงานอยูไดอยางยั่งยืนในชุมชนใกลเคียง
ประสบการณในตางประเทศเชนที่สหรัฐอเมริกาซึ่งมีการผลิตเอทานอลมานานกวา 20 ป พบวาโครง
การผลิตเอทานอลเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในระดับที่มีสาระสําคัญ ในเรื่องตอไปนี้
• การใชน้ํา โรงงานมีความตองการใชน้ําเปนจํานวนมาก โรงงานขนาดกลางจําเปนตองใชน้ํา
ประมาณ 2500 ลู ก บาศกเมตรต อวัน ** หรือ ประมาณ 75000 ลู กบาศก เมตรต อเดื อนซึ่ง
สําหรับพื้นที่ที่มีน้ําใชจํากัดอยางยานอุตสาหกรรมภาคตะวันออก การเพิ่มภาระการใชน้ําอาจ
ทําใหสถานะการขาดน้ํามีความรุนแรงขึ้นได หากมีโรงงานผลิตเอทานอลในพื้นที่ใกลเคียงกัน
4-5 โรงงาน แนวทางการแกไขผลกระทบเรื่องน้ําใชจําเปนตองมีการจัดการระบบบําบัดน้ํา
เพื่อการจัดเก็บแลวหมุนเวียนนํากลับมาใชใหม ซึ่งจําเปนตองมีคาลงทุนขั้นตนแตสามารถลด
ขอจํากัดหรืออุปสรรคของการผลิต
2

• การจัดการของเสีย ปริมาณของเสียจากการผลิตเอทานอลมีหลายรูปแบบทั้งที่เปนน้ํา เปน


กาซ และเปนฝุนจากวัตถุดิบหรือการทําความสะอาดเครื่องจักรตามปกติ
- น้ําเสีย จัดการโดยระบบหมุนเวียนนําน้ํากลับมาใชใหมซึ่งตองมีการลงทุนขั้นตนที่ตอง
รวมเขาไวในตนทุนโครงการ การลดผลกระทบโดยการรวมกลุมโรงงานเขาไวดวยกันและ
ใหมีแหลงบําบัดรวมจะเปนการลดตนทุนอุตสาหกรรม และเปนการใชทรัพยากรรวมอยาง
คุมคา
- กาซ ในรูปกลิ่นรบกวนจากขบวนการหมักหรือขบวนการจัดการมันสําปะหลังในขัน้ ทีเ่ ปน
วัต ถุ ดิ บ ซึ่ งเป น ป ญ หาท อ งถิ่ น ที่ เกิด ขึ้น ประจํา เป น ปกติ ในพื้ น ที่ ที่ มี โรงงานแปรรูป มั น
สําปะหลัง การลดผลกระทบโดยการรวมกลุมโรงงานไวในกลุมเดียวกันในทํานองเดียวกัน
กับการจัดการน้ําเสียจะเปนการลดจํานวนผูที่รับผลกระทบใหอยูในวงจํากัด
- ฝุนรบกวน เปนปกติของขบวนการจัดการในอุตสาหกรรมแปรรูปมันสําปะหลัง โดย
เฉพาะที่เกี่ยวกับการขนถายและการจัดเก็บในทุกขั้นตอน
• การกูคืนพลังงานและการหาทางประหยัดการใชพลังงานพลังงานเฉพาะที่ใชในการหมักและ
การกลั่นเปนตนทุนถึงหนึ่งในสี่ของตนทุนรวมหรือครึ่งหนึ่งของตนทุนวัตถุดิบการกูคืนพลังงาน
จากวัสดุเหลือจากการผลิตจึงจําเปนตองศึกษาคนควาอยางเปนระบบ
• การอยูรวมกับชุมชนมีผลกระทบที่เห็นไดชัดคือ การจราจรที่เกิดจากรถบรรทุกขนวัตถุดิบ และ
ผลิตภัณฑที่ผลิตไดออกสูตลาด

4.3 ศักยภาพผลิตเอทานอลของประเทศไทย
4.3.1 เอทานอลในประเทศไทย
ในสภาพปจจุบันอุตสาหกรรมการผลิตเอทานอลมีการขยายตัวโดยมีโรงงานผลิตเอทานอลได
รับการสงเสริมจากหนวยงานของรัฐ ถึง 23 โรงงาน มีกําลังการผลิตรวม 4.06 ลานลิตรตอวัน สวนที่
เริ่มผลิตแลว 3 โรงงานกําลังการผลิตรวม 350000 ลิตรตอวัน การปโตรเลียมแหงประเทศไทย ได
ประกาศแผนการทดแทนเบนซิน 95 ดวยกาสโซฮอล (เอทานอลผสมแกสโซลีน 10 เปอรเซ็นต) ใหเร็ว
ขึ้นอีก 1 ป ขณะเดียวกัน บริษัทไทยออยล จํากัด ผูกลั่นน้ํามันรายใหญ ประกาศจะลงทุนโครงการ
เอทานอลจากมันสําปะหลังขนาดใหญระดับกําลังผลิต 1 ลานลิตรตอวันโดยจะใชวัสดุเหลือทิ้งจาก
การผลิตเอทานอลไปใชผลิตไฟฟา

4.3.2 นโยบาย การปฏิบัติและการอุดหนุนของรัฐ และงานวิจัย


การดําเนินนโยบายเกี่ยวกับการผลิตเอทานอลเปนสวนหนึ่งของยุทธศาสตรการพัฒนาและสง
เสริมพลังงานทดแทน ซึ่งประกอบดวย 4 กลยุทธหลัก
3

ก. กลยุทธภาคบังคับ โดยการกําหนดมาตรการใหการลงทุนอุตสาหกรรมผลิตไฟฟาที่ใชพลัง
งานจากฟอสซิล เชน น้ํามันหรือถานหิน ตองสรางโรงไฟฟาที่ใชพลังงานหมุนเวียนที่มีกําลังการผลิต
ขนาดรอยละ 5 ของกําลังการผลิตติดตั้ง
ข. กลยุทธการสงเสริม โดยใชมาตรการดานการเงิน เชนการหาแหลงเงินกูดอกเบี้ยต่ํา การยก
เวนการสงเงินเขากองทุน การรับซื้อผลิตภัณฑในราคาพิเศษ หรือมาตรการใหสิทธิพิเศษดานการลงทุน
ดานภาษี
ค. กลยุทธสงเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม เพื่อใหมีการสรางองคความรูและวิจัยและ
พัฒนาเทคโนโลยีพลังงานทดแทนในประเทศ เพื่อลดตนทุนการผลิตพลังงานทดแทน ซึ่งรวมถึงการ
พัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมตอเนื่องที่ไดจากการผลิตพลังงานทดแทน และนวัตกรรมใหมดานการ
ขนสง
ง. กลยุทธการประสานและบูรณาการ โดยการนําแนวทางบริหารจัดการแบบมีสวนรวม
ของทุกภาคสวนเขามาดําเนินงานไมวาจะเปนการดําเนินงานในระดับนโยบายหรือระดับปฏิบัติและทั้ง
ในสวนกลางและสวนภูมิภาครวมถึงประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมในการพัฒนาโครงการพลังงานทอง
ถิ่ น มากขึ้ น และให ทํ า หน า ที่ ตั ว กลางการดํ า เนิ น ธุ รกิ จ ระหว า ง เจ า ของเทคโนโลยี ผู ล งทุ น ผู ใ ช
เทคโนโลยี
4.3.3 สัดสวนเงินตราตางประเทศในวงจรการผลิตเอทานอล
ในแตละปประเทศไทยนําเขาน้ํามันปโตรเลียมในระดับ 4 แสนลานบาท ดังนั้นหากสามารถ
ประหยัดสวนที่ตองนําเขาจากตางประเทศไดแมเพียงรอย 10 จะมียอดเงินที่ยังคงอยูภายในประเทศได
ถึง 4 หมื่นลานบาทตอป การริเริ่มโครงการเพิ่มการใชเอทานอลในประเทศไทยมีเหตุผลและเปาหมาย
ลดการนําเขาน้ํามันปโตรเลียมซึ่งเปนการลดการสูญเสียเงินตราตางประเทศไดโดยตรงและหากเงิน
จํานวนนี้ยังคงหมุนเวียนอยูภายในระบบเศรษฐกิจในประเทศก็จะเกิดการจางงานทั้งทางตรงทางออม
อีกหลายเทา ในการวิเคราะหขบวนการผลิตและใชเอทานอลจึงจําเปนตองวิเคราะหโดยละเอียดถึงผล
ประโยชนหรือการสูญเสียอื่นๆ ทุกดานในรูปตัวเงินตราตางประเทศที่ประหยัดไดจริงเพื่อใชเปนพืน้ ฐาน
การทํางานศึกษาวิจัยตอไปในอนาคตเพื่อมุงสูเปาหมายการลดการสูญเสียเงินตราตางประเทศ
ในวงจรการผลิตเอทานอล ตั้งแตการเตรียมแปลงปลูกพืชจนไดวัตถุดิบเขาสูโรงงานผลิตจนได
เอทานอลบริสุทธิพรอมใชผสมกับน้ํามันเชื้อเพลิงอื่นนั้นมีขั้นตอนหลักที่มีคาใชจายเปนกลุมใหญดังนี้
1. ตนทุนการปลูก เก็บเกี่ยว และขนสงสูโรงงานผลิตเอทานอล
2. การจัดการวัตถุดิบ จัดเก็บและปรับปรุงสภาพใหพรอมเขาขบวนการผลิต
3. การผลิตโดยเครื่องจักรในโรงงานและ การขนสง
4. การจัดการของเสียจากการผลิต
4

ตารางที่ 10 ตนทุนการผลิตมันสําปะหลังแสดงสัดสวนเงินตราตางประเทศ

รายการคาใช การปลูก การปลูก การเก็บเกี่ยว การขนสง ตนทุนรวม %ตนทุน


จาย ตอไร ตอตัน* ตอตัน สูโรงงาน ตอตัน รวมตอตัน
ตอตัน ** FC, LC
คาใชจายรวม 2200 630 100 75 803 100%
บาท
สัดสวนเงินตรา 600 170 0 60 230 27%
ตางประเทศ
% FC 27% 27% 80% 25%

* ประมาณการผลผลิตเฉลี่ย 3500 กิโลกรัมตอไร สํานักพัฒนาเกษตรเขตที่ 3 ระยอง


** ประมาณระยะทางขนสง 30 กิโลเมตรอัตราตอตัน 2.5 บาทตอกิโลเมตร

4.4 การศึกษาขั้นตนดานการเงินและมาตรการของรัฐ
4.4.1 การสนับสนุนและสิทธิพิเศษ
ปจจุบันมีมาตรการของรัฐที่มีจุดประสงคสงเสริมการพัฒนาการใชและการลงทุนดานพลังงาน
ทดแทน ซึ่งโครงการผลิตเอทานอลเขาขายประเภทโครงการที่ไดรับสิทธิพิเศษดานตาง ๆ คือ
- ยกเวนภาษีสรรพสามิต
- ยกเวนการสงเงินเขากองทุนน้ํามัน
- กําหนดมาตรฐานคุณภาพ มิใหเกิดความไดเปรียบระหวางผูคา
- สิทธิพิเศษการสงเสริมการลงทุน (ยกเวนภาษีเงินได อากรเครื่องจักร/เพื่อการผลิต)
- การใชสิทธิโดยขบวนการ SPV

4.4.2 มาตรการภาคบังคับในตางประเทศในการสงเสริมการผลิตและการใชงาน
เอทานอล
ประเทศสหรัฐอเมริกาเปนตัวอยางของประเทศที่มีความมุงมั่นสงเสริมการใชเอทานอลอยาง
จริงจังมานานนับสิบปในหลายรัฐสําคัญ อุตสาหกรรมการผลิตเอทานอลในปจจุบันมี 60 โรงงาน และ
อยูระหวางเตรียมเปดการผลิตในป 2548 นี้อีก 47 โรงงาน จะมีกําลังการผลิตรวม 4 พันลานแกลลอน
ตอป(15000ลานลิตรตอปเทียบกับประเทศไทยที่จะมีแผนการผลิตในระดับ 700 ลานลิตรตอปในราวป
2550) ทําใหมีการจางงานมากกวา 170000 คน ทั้งในภาคการเกษตรและภาคอุตสาหกรรมการผลิต
5

และทําใหลดการพึ่งพาเชื้อเพลิงจากฟอสซิลลงไดอยางมีสาระสําคัญและที่สําคัญยิ่งกวา การสงเสริม
ที่ผานมาไดสงใหการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตและการจัดการเอทานอลมีความกาวหนามากที่สุด
แหล ง หนึ่ ง ของโลก มี ก ารค น คว า วิ จั ย ในมหาวิ ท ยาลั ย ชั้ น นํ า หลายแห ง และเป น เจ า ของลิ ข สิ ท ธิ์
เทคโนโลยีการผลิตและการยอยเซลลูโลสใหเปนน้ําตาลกลูโกลสที่มีความสําคัญ เชิงอุตสาหกรรม
หลากหลายชิ้น
ในประเทศไทยได กําหนดมาตรการเกี่ยวกับ การส งเสริม การผลิตเอทานอล ตามที่มี ราย
ละเอียดในบทที่ 2 อยางไรก็ตาม ระดับความเขมแข็งของมาตรการยังไมถึงระดับเปนกฎหมายบังคับ
เหมือนในสหรัฐอเมริกาซึ่งอาจทําใหมีความไมแนนอนหากมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายของรัฐกรณีที่
เปลี่ยนรัฐบาล ยุทธศาสตรการพัฒนาและสงเสริมพลังงานทดแทน ซึ่งประกอบดวย 4 กลยุทธหลัก
1) กลยุทธภาคบังคับกําหนดใหการลงทุนอุตสาหกรรมผลิตไฟฟาที่ใชพลังงานจาก ฟอสซิล
ตองสรางโรงไฟฟาที่ใชพลังงานหมุนเวียนที่มีกําลังการผลิตขนาดรอยละ 5 ของกําลังการผลิตติดตั้ง
2) กลยุทธการสงเสริม มาตรการการดานการเงิน เชนการหาแหลงเงินกูดอกเบี้ยต่ํา การยก
เวนการสงเงินเขากองทุน การรับซื้อผลิตภัณฑในราคาพิเศษ หรือมาตรการใชสิทธิพิเศษดานการลงทุน
ดานภาษี
3) กลยุทธสงเสริมการวิจัยและพัฒนาวัตกรรม ใหมีการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีพลังงาน
ทดแทนการพัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมตอเนื่องที่ไดจากการผลิตพลังงานทดแทน
4) กลยุทธการประสารและบูรณาการ โดยการนําแนวทางบริหารจัดการแบบมีสวนรวมของ
ทุกภาคสวนเขามาดําเนินงานทั้งในระดับนโยบายหรือระดับปฏิบัติ

4.5 การสงเสริมดานงานวิจัย
การวิจัยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพโดยรวมของขบวนการผลิตเอทานอล เปนสิ่งที่มีความจําเปน
อยางยิ่งจากขอมูลตัวเลขคาการใชพลังงานในการผลิตทั้งระบบมีคาเปนลบไดเปรียบดานพลังงาน 30
เปอรเซ็นต หมายความวาในการไดมาซึ่งเชื้อเพลิงเอทานอล 130 หนวยพลังงาน นั้นมีความจําเปน
ตองใชพลังงานในการผลิต 100 หนวย ผลิตเอทานอลในสหรัฐอเมริกาตองใชพลังงานมากกวา 1.5
เทาตัว หากปลอยใหเปนไปในลักษณะดังกลาวโดยไมมีการแกไขจะหมายถึงวาในระยะยาวสังคม
สวนรวมตองเปนผูสูญเสียประโยชนโดยทางออมใหกับกลุมผูเกี่ยวของกับการผลิตเอทานอลทั้งระบบ
เชนที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาที่มีการอุดหนุนในทุกระดับตั้งแตผูปลูกขาวโพดจนถึงผูขายเชื้อเพลิงเอทา
นอลการอุดหนุน ทําใหตัวเลขทางการเงิน ในการทําธุรกิจเอทานอลนั้นยังคงมีความเปนไปได

แนวทางวิจัยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทั้งวงจรการผลิต
6

• วิจัยจุลินทรียที่มีประสิทธิภาพที่ใชในการเปลี่ยนวัสดุเซลลูโลสธรรมชาติเชนลําตนของพืชที่
เปนวัสดุเหลือทิ้งใหเปนน้ําตาลวัตถุดิบในการหมักเอทานอล ปจจุบันมีลูทางยอยเซลลูโลไดถึง
90 เปอรเซ็นต ใหเปนน้ําตาลกลูโคส เชนเทคนิคที่เปนลิขสิทธิของมหาวิทยาลัยฟลอริดา
• วิจัยเทคโนโลยีขบวนการกลั่นแยกเอทานอลใหบริสุทธิขั้นสุดทายใหมีตนทุนต่ําลงอีก เชนการ
วิจัย membrane pervaporation
• การจัดการวัตถุดิบในการผลิตที่มีตนทุนต่ํามากโดยการประสานการเก็บเกี่ยวใหตรงเขาสูโรง
งานโดยไมตองมีการแปรสภาพเพื่อเก็บเปนสตอกวัตถุดิบ
• การลดตนทุนดานพลังงานของโรงงานเอทานอลโดยใชความรอนสวนเกินจากกิจการโรงงาน
ผลิตไฟฟาพลังความรอนที่ตองมีระบบหลอเย็นดวยการตั้งโรงงานผลิตเอทานอลไวในบริเวณ
เดียวกัน การศึกษาขั้นตนพบวามีลูทางลดการใชพลังงานในการผลิตเอทานอลลงไดถึง 70
เปอรเซ็นต หรือการใชกากจากการผลิตเอทานอลไปใชผลิตไฟฟา
• การตั้งโรงงานเปนกลุมคลัสเตอรเพื่อใชทรัพยากรรวมกันใหมีขนาดรวมที่ใหญอยางมีประสิทธิ
ภาพ บริหารวัตถุดิบและการขนสงผลิตภัณฑรวมกัน
• การวิ จัย ระบบเชื้ อ เพลิง ในเครื่องยนต เพื่ อให ส ามารถใช เอทานอลความบริสุ ท ธิระดั บ 95
เปอรเซ็นต เปนเชื้อเพลิงโดยไมมีผลเสียไดยังเปนสิ่งทาทายและจะเกิดประโยชนในแงที่จะ
สามารถลดตนทุนการผลิตเอทานอลที่ใชในการขนสงลงได

4.6 การศึกษาวิจัยมันสําปะหลังที่สัมพันธกับการผลิต
- ลักษณะแปงที่สัมพันธกับสายพันธุยีสตที่หมักไดเอทานอลสูงสุด
- พันธุที่ให Total mass สูงเพื่อรองรับเทคนิคการยอยเซลลูโลสในสําตนใหเปนน้ําตาล แลวจึง
หมักเอทานอล
- การคงสภาพรอการเก็บเกี่ยวโดยคุณสมบัติเปลี่ยนนอยมาก

You might also like