You are on page 1of 9

Good Agricultural Practice

(GAP) for Longan


การผลิตทางการเกษตรที่ถูกตองและเหมาะสม
Good Agricultural Practice : GAP

การผลิตทางการเกษตรที่ถูกตองและเหมาะสม คือ แนวทางในการทําเกษตรกรรมเพื่อใหไดผลผลิตที่มีคุณภาพ


ที่ดี ตรงตามมาตรฐานที่กําหนด ผลผลิตสูงคุมคาการลงทุน และขบวนการผลิตจะตองปลอดภัยตอเกษตรกร และผู
บริโภค มีการใชทรัพยากรที่เกิดประโยชนสูงสุดเกิดความยั่งยืนทางการเกษตรและไมทําใหเกิดมลพิษตอสิ่งแวดลอม
การผลิตดังกลาวจะมีคําแนะนําของทางราชการ ซึ่งจัดทําขึ้นเพื่อใหเกษตรกรนําไปปฏิบัติไดภายใตสภาวะที่
เปนจริง เหมาะสมแกสภาพทองถิ่น และภูมิประเทศ
ขั้ น ต อ น ก า ร ผ ลิ ต ท า ง ก า ร เ ก ษ ต ร บ า ง ขั้ น ต อ น อ า จ ก  อ ใ ห  เ กิ ด ป  ญ ห า
ทําใหผลผลิตที่ไดไมเปนไปตามวัตถุประสงค เชน การปองกันกําจัดศัตรูพืช อาจมีการใชสารเคมีปองกันกําจัดศัตรูพืช
ที่มีอันตรายและมีพิษตกคางสูง เปนอันตรายตอผูบริโภค หรือการใหปุยใหนํ้าแกผักหรือผลไมที่ใชบริโภคสด อาจมีเชื้อ
โรคติดมาเปนอันตรายตอผูบริโภคได ดังนั้นจึงจําเปนตองมีการแนะนําแนวทางการผลิตทางการเกษตรที่ถูกตองและ
เหมาะสมเพื่อไมใหเกิดปญหา ดังกลาว

การผลิตลําไยอยางถูกตองและเหมาะสม
Good Agricultural Practice (GAP) for Longan

การผลิตทางการเกษตรอยางถูกตองและเหมาะสมสําหรับลําไยเปนคําแนะนําสําหรับใหเกษตรกรนํา
ไปปฏิบัติ เพื่อใหไดผลผลิตลําไยที่มีคุณภาพตรงตามมาตรฐานที่กําหนดเปนที่ตองการของผูบริโภค และมีความปลอด
ภัยตอสิ่งแวดลอมมีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้
1. แหลงปลูก
แหลงปลูกที่เหมาะสมสําหรับลําไย ควรคํานึงถึงองคประกอบสําคัญ ดังนี้
1.1 พื้นที่
• มีความสูงจากระดับนํ้าทะเล 100 – 1,000 เมตร
• มีความลาดเอียง 10 – 15%
• มีการระบายนํ้าดี ระดับนํ้าใตดินลึกกวา 2 เมตร
1.2 ลักษณะดิน
• ดินมีความอุดมสมบูรณสูง หนาดินลึกมากกวา 50
เซนติเมตร
• มีความเปนกรดดาง 5.5 – 6.5
1.3 สภาพภูมิอากาศ
• มีอุณหภูมิชวงฤดูหนาวตํ่ากวา 15 องศาเซลเซียส นานติดตอ
กันประมาณ 2 สัปดาห
• มีปริมาณนํ้าฝนไมตํ่ากวา 1,000 มิลลิเมตร และมีการ
กระจายของฝนดี
1.4 แหลงนํ้า
• มีแหลงนํ้าสะอาดและมีปริมาณมากพอที่จะใหนํ้าไดตลอด
ชวงฤดูแลง

2. พันธุ
ควรมีลักษณะดังนี้
• ตนพันธุควรมีประวัติการติดผลดกติดตอกันอยางนอย 3 ป
• มีเปอรเซนตผลใหญจํานวนมาก มีคุณภาพดี เนื้อหนาเมล็ด
เล็ก สีผิวเหลืองนวล
• เหมาะสมสําหรับบริโภคสด และทําลําไยอบแหง

3. การปลูก
• ควรเตรียมพันธุดีที่ตองการไวลวงหนา 1 ป เพื่อจะไดตนลําไยที่
แข็งแรง
• เตรียมหลุมปลูกขนาด 80x80x80 เซนติเมตร วางผังใหระยะปลูก
8x10 เมตร
• ขุดหลุม รองกนหลุมดวยปุยคอก 3-5 กิโลกรัมคลุกเคลากับหนาดิน
แลวใสลงหลุม พูนดินสูงจากปากหลุม 15 เซนติเมตร
• กอนปลูกทําหลุมเทากระเปาะชําตนลําไย วางตนลําไยแลวกลบโคน
ใหแนน
• ทําหลักปองกันตนลําไยโยกคลอน รดนํ้าใหชุม
• พรางแสงใหจนกระทั่งแตกยอดออน 1 ครั้ง จึงงดการพรางแสง

4. การตัดแตงกิ่ง

• ตนลําไยอายุ 1-3 ป ซึ่งยังไมใหผลผลิต ควรตัดแตงใหลําไยมี


ลักษณะทรงพุมเปนทรงกลม
• ลําไยอายุ 4-5 ป ใหผลผลิตแลว ควรตัดแตงกิ่งภายหลังเก็บเกี่ยว
ตัดกิ่งกลางทรงพุมที่อยูในแนวตั้งเหลือตอกิ่ง เพื่อเปดกลางทรงพุม
ใหไดรับแสงสวางมากขึ้น
• ลําไยอายุ 5-10 ป ตัดแตงกิ่งภายหลังเก็บเกี่ยว เพื่อไมใหทรงพุมชน
กัน ตัดแตงเชนเดียวกับลําไยอายุ 4-5 ป ตัดปลายกิ่งทั้งแนวนอน
และแนวราบใหมีความสูงเหลือเพียง 3 เมตร เพื่อสะดวกในการ
ปฏิบัติงาน
สําหรับลําไยที่ใหผลผลิตแลว ควรตัดแตงกิ่งแบบกิ่งเวนกิ่งเพื่อใหลําไยออกดอกสมํ่าเสมอทุกป

5. การใหปุย
ลําไยอายุ 5 ป ขึ้นไป มีการใสปุยเคมี ดังนี้
• หลังเก็บเกี่ยวผลผลิต ใสปุย 15-15-15+46-0-0 อัตราสวน 1 : 1
ตนละ 2 กิโลกรัม กระตุนใหลําไยแตกใบออน
• เมื่อลําไยแตกใบออนชุดที่ 2 ประมาณตนเดือน กันยายน ใสปุย 15-
15-15+46-0-0 อัตราสวน 1 : 1 ตนละ 2 กิโลกรัม
• ประมาณตนเดือนตุลาคม กระตุนใหลําไยมีใบแก พักตัวสะสม
อาหาร เตรียมความพรอมตอการผานชวงหนาวที่จะกระตุนใหลําไย
ออกดอก ใสปุย 0-46-0 + 0-0-60 อัตราสวน 1:1 ตนละ 2 กิโลกรัม
• เดือนพฤศจิกายน ใสปุย 0-52-34 อัตรา 150 กรัมตอนํ้า 20 ลิตร
พนใหทั่วทรงพุมเพื่อไมใหลําไยแตกใบใหม
• เมื่อลําไยติดผล ขนาดเสนผาศูนยกลาง 1 เซนติเมตร ใสปุย 15-15-
15+46-0-0 อัตราสวน 1:1 ตนละ 1-1.5 กิโลกรัม เพื่อบํารุงผลให
เจริญเติบโต
• กอนเก็บเกี่ยว 1 เดือน ใสปุย 0-0-60 อัตราตนละ 1-2 กิโลกรัม เพื่อ
เพิ่มคุณภาพของผลผลิต

6. การใหนํ้า
6.1 วิธีการใหนํ้า
• แบบใชสายยางรด ลงทุนตํ่าแตตองมีแหลงนํ้าเพียงพอ
• แบบขอเหวี่ยงขนาดเล็ก เปนการใหนํ้าในกรณีมีแหลงนํ้า
จํากัด ตนทุนสูงกวาแบบแรก
• แบบนํ้าหยด เหมาะสําหรับที่มีแหลงนํ้าจํากัดมากตนทุนสูง
6.2 ปริมาณนํ้า
ชวงฤดูแลงหลังออกดอก เริ่มใหนํ้าเมื่อลําไยมีดอกบานปฏิบัติ ดังนี้
• สัปดาหแรก ฉีดนํ้าพรมที่กิ่งและโคนตนเล็กนอยเพื่อใหลําไย
คอยๆ ปรับตัว
• สัปดาหที่สอง เริ่มใหนํ้าเต็มที่ สําหรับตนลําไยที่มีเสนผาศูนย
กลางทรงพุม 7 เมตร ใหนํ้าปริมาณครั้งละ 200 – 300 ลิตร
ตอตน สัปดาหละ 2 ครั้ง

7. การดูแลรักษาหลังการติดผล
7.1 การคํ้ากิ่ง โดยใชไมไผคํ้ากิ่งทุกกิ่ง เพื่อปองกันกิ่งฉีกหักเนื่องจากพายุลมแรง และกิ่งที่มีผลลําไย
จํานวนมาก
7.2 การปองกันกําจัดศัตรูลําไย
เมื่อมีโรคและแมลงศัตรูระบาดในระยะนี้ ควรพนสารปองกัน
กําจัดโรค และสารฆาแมลงตามคําแนะนํา ในชวงกอนเก็บเกี่ยว 1 เดือนควรหอผลลําไยเพื่อปองกันการเขาทําลายของ
แมลงศัตรูพืช เชน ผีเสื้อมวนหวาน หนอนเจาะขั้ว คางคาว และเปนการหลีกเลี่ยงการใชสารเคมีกอนเก็บเกี่ยว เพื่อไมให
มีการตกคางของสารเคมีในผลผลิตลําไย ซึ่งจะเปนอันตรายตอ
ผูบริโภค

8. การปองกันกําจัดศัตรูลําไย
8.1 แมลงศัตรูที่สําคัญ
8.1.1 หนอนเจาะขั้วลิ้นจี่ (Litchi fruitborer)
หนอนเจาะขั้วลิ้นจี่ Conopomorpha sinensis (Bradly)
ทําลายขั้วผลลําไยในชวงเดือนมีนาคม – สิงหาคม
การปองกันกําจัด
• เก็บผลรวงเนื่องจากการทําลายของหนอนเจาะขั้วแลวทําลาย
ทิ้ง
• หลังการเก็บเกี่ยว ตัดแตงกิ่งโดยเฉพาะกิ่งที่ใบมีดักแดของ
หนอนเจาะขั้วทําลายทิ้ง
• หลังติดผลแลว 1-2 สัปดาห สุมชอผล 10 ชอตอตนถาพบไข
ใหพนคารบาริล 85% WP อัตรา 40 กรัมตอนํ้า 20 ลิตร ถาพบปริมาณมากเกิน 5%ของผลที่สุม พน
คลอรไพริฟอส/ไซเพอรเมทริน 55%EC (นูเรลล – L 505 EC)อัตรา 30 มิลลิลิตรตอนํ้า 20 ลิตร หรือ
ไซฟลูทริน 5% EC อัตรา 5 มิลลิลิตรตอนํ้า 20 ลิตร ควรหยุดพนกอนเก็บเกี่ยว 10 วัน
8.1.2 มวนลําไย (Longan stink bug)
มวนลําไย Tessaratoma papillosa (Drury) ทําลายผลลําไย
ชวงเดือนมกราคม – สิงหาคม
การปองกันกําจัด
• หลังการเก็บเกี่ยว ตัดแตงกิ่งใหโปรงปองกันการหลบซอนอยู
ขามฤดู
• สํารวจไข ตัวออน และตัวเต็มวัย ถามีไมมากเก็บทําลาย
• ถาสํารวจพบไขถูกแตนเบียนทําลาย(มีลักษณะเปนสีดํา)จํานวนมาก ไมควรพนสารฆาแมลง
• ถาพบไขจํานวนมาก และไมถูกแตนเบียนทําลาย(มีสีครีมหรือสีแดงเมื่อใกลฟก)พนดวยคารบาริล
85% WP อัตรา 45 กรัมตอนํ้า 20 ลิตร หยุดพนกอนเก็บเกี่ยว 7 วัน
8.1.3 ผีเสื้อมวนหวาน (Fruit moth)
ผีเสื้อมวนหวานชนิดที่พบมากคือ Othreis fullonia (Clerck)
ทําลายผลลําไยในชวง เดือนกรกฎาคม – สิงหาคม
การปองกันกําจัด
• หอผลดวยกระดาษเพื่อปองกันการทําลาย
• กําจัดวัชพืช เชน ยานาง ตนขาวสาร และบรเพ็ดที่อยูบริเวณ
รอบสวน
• ใชเหยื่อพิษ โดยใชสับปะรดสุกตัดเปนชิ้นจุมในสารละลาย
ของคารบาริล 85% WP อัตรา 2 กรัมตอนํ้า 1 ลิตร
นาน 5 นาที นําไปแขวนในสวนเปนจุด ๆ หางกันจุดละ 20เมตร ขณะผลลําไยใกลสุก
• ใชแสงไฟสองและใชสวิงโฉบจับผีเสื้อทําลาย (ชวงเวลา 20.00 – 22.00น.)

8.1.4 หนอนเจาะกิ่ง (Red coffee borer)


หนอนเจาะกิ่ง Zeuzera coffeae (Nietner) พบระบาดเปนครั้งคราวตลอดทั้งป
การปองกันกําจัด
• ตัดกิ่งแหงที่มีหนอนทําลายเผาทิ้ง
• ถาพบรูที่ถูกเจาะตามกิ่งและลําตน ใชสารฆาแมลง เชน คลอรไพริฟอส 40% EC อัตรา 1-2 มิลลิลิตร
ตอรู ฉีดเขาในรู แลวอุดดวยดินเหนียว
8.1.5 หนอนชอนใบ (Leaf miner)
หนอนชอนใบ Conopomorpha litchiella (Bradley) พบ
ระบาดทั้งปในชวงที่ลําไยแตกใบออน
การปองกันกําจัด
• การทําลายในตนเล็ก (อายุ 1-3 ป) ถามีปริมาณไมมาก ไม
ควรพนสารฆาแมลงเพราะจะมีอันตรายตอแมลงศัตรู
ธรรมชาติ
• ในระยะแตกใบออน หากพบอาการยอดแหงหรือใบออนถูก
ทําลาย พนดวยอิมิดาโคลพริด 10% SL อัตรา 8 มิลลิลิตรตอนํ้า 20 ลิตร พน 1-2 ครั้ง หางกันครั้งละ 7
วัน
8.1.6 ไรลําไย (Longan crineum mite)
ไรลําไย Aceria longana พบทําลายลําไยระหวางเดือน
กุมภาพันธ – พฤษภาคม

การปองกันกําจัด
• เมื่อสํารวจพบ ยอดมีอาการแตกเปนพุมคลายไมกวาดใหตัด
ทําลาย
• ถามีการทําลายเปนบริเวณกวาง พนดวยกํามะถันผง 80%
WP อัตรา 40 กรัม ตอนํ้า 20 ลิตรหรือ อามีทราซ 20% EC อัตรา 40 มิลลิลิตรตอนํ้า 20 ลิตร พน 1-3
ครั้ง หางกัน ครั้งละ 4 วัน
8.2 โรคที่สําคัญของลําไย
8.2.1 โรคกระหรี่ หรือโรคพุมไมกวาด
สวนที่เปนตาเกิดอาการแตกยอดฝอยเปนมัดไมกวาดเปน
รุนแรงทําใหตนลําไยมีอาการทรุดโทรม
การปองกันกําจัด
• ตัดกิ่งเปนโรคออกเผาทําลายในแหลงมีการระบาดของโรค
พนดวยกํามะถันผง 80% WP อัตรา 40 กรัม ตอนํ้า 20 ลิตร หรืออามีทราซ 20% EC อัตรา 40 มิลลิลิตร
ตอนํ้า 20 ลิตร
จํานวน 1-3 ครั้ง หางกัน 4 วัน เพื่อปองกันกําจัดไรลําไย
• ขยายพันธุปลูกจากตนแมพันธุที่สมบูรณตรงตามพันธุและไม
ปรากฏอาการของโรคพุมไมกวาด
8.2.2 โรครานํ้าฝน หรือโรคผลเนา โรคใบไหม
เมื่อเขาทําลายที่ผลจะทําใหผลเนาและรวง เปนที่ใบออน ยอดออนทําใหเกิดอาการใบและยอดไหม
ระบาดในชวงฤดูฝน
การปองกันกําจัด
พนดวยเมทาเลกซิล 25% WP อัตรา 20-30 กรัม ตอนํ้า 20 ลิตร พน
1 ครั้ง ทันทีที่พบโรคที่ผล และเก็บเกี่ยวผลผลิตไดหลังพนสาร 10-15 วัน สวนโรคที่ใบในชวงผลิใบออนพนปองกัน
กําจัดเชนเดียวกับเปนที่ผลลําไย
8.3 การจัดการวัชพืช
การจัดการวัชพืชมีหลายวิธี เชน การปลูกพืชคลุมดินซึ่งจะชวยปองกันการชะลางหนาดิน ชวยรักษาความชื้น
และเพิ่มความสมบูรณใหกับดิน การตัดวัชพืชระหวางแถวปลูก และระหวางตนลําไยซึ่งอาจจะใชสลับกับการพนสาร
กําจัดวัชพืชบาง โดยพนเพียงปละครั้งเมื่อไมสามารถตัดวัชพืชไดทัน ดวยเหตุผลเพราะขาดแรงงานหรือสภาพแวดลอม
ไมเหมาะสมที่จะตัดวัชพืชได การรักษาบริเวณโคนตนลําไยใหสะอาด ควรตัดวัชพืชใหสั้น ไมควรใชจอบดาย เนื่อง
จากเปนอันตรายตอระบบรากของลําไยและควรหลีกเลี่ยงการใชสารกําจัดวัชพืชบริเวณใตทรงพุม อยางไรก็ตามหากจํา
เปนจริง ๆ อาจใชไดบาง แตควรใหนอยครั้งที่สุด
สารกําจัดวัชพืชในสวนลําไย ไดแก ไกลโฟเสท กลูโฟซิเนตแอมโมเนียม และพาราควอท ใชพนหลังวัชพืช
งอกในขณะมีวัชพืชมีใบมากที่สุด ปริมาณนํ้าที่ใชผสมเพื่อพนในพื้นที่ 1 ไร คือ 60-80 ลิตร สําหรับอัตราการใช มีดังนี้
• ไกลโฟเสท 48% SL อัตรา 500-600 มิลลิลิตร/ไร
• กลูโฟซิเนต-แอมโมเนียม 15% SL อัตรา 800-2,000
มิลลิลิตร/ไร
• พาราควอท 27.6% SL อัตรา 300 – 600 มิลลิลิตร/ไร

8.4 การปองกันกําจัดศัตรูพืชอยางถูกตองและปลอดภัย
• จะตองทราบชนิดและรายละเอียดของศัตรูพืชที่ตองการ
ปองกันกําจัด
• เลือกใชสารใหเหมาะสมกับชนิดของศัตรูพืช สารนั้นตองมี
ประสิทธิภาพดีตอศัตรูพืชนั้นโดยเฉพาะ
• ใชสารที่สลายตัวเร็วกับพืชอาหารเมื่อใกลเวลาเก็บเกี่ยว
• ใหใชสารเฉพาะในกรณีที่จําเปนเทานั้น และไมควรใชเกิน
อัตราที่กําหนดไวในฉลาก หรือตามคําแนะนําของทาง
ราชการ
• ไมควรผสมสารเกิน 1 ชนิดขึ้นไปในการพนแตละครั้ง ยกเวน
ในกรณีที่ทางราชการแนะนําใหใช
• ควรพนสารเฉพาะเมื่อพบวามีศัตรูพืชเขาทําลายในระดับที่จะ
เกิดความเสียหายตอผลผลิต และหากมีการระบาดรุนแรงก็
ใหเพิ่มจํานวนครั้งมากขึ้นได
• การเลือกใชเครื่องพนสาร และวิธีการใชสารจะตองเหมาะสม
กับชนิดของสารและศัตรูพืช
• ไมควรเก็บเกี่ยวผลผลิตกอนสารที่ใชจะสลายตัวถึงระดับ
ปลอดภัย โดยดูจากคําแนะนํา การเวนระยะเก็บเกี่ยวหลัง
การพนสารครั้งสุดทายในฉลาก

9. สุขลักษณะและความสะอาด
ตัดวัชพืชใหสั้นอยูเสมอทั่วทั้งแปลง โดยเฉพาะบริเวณโคนตน และ
บริเวณระหวางตน ระหวางแถวลําไย หลังการตัดแตงกิ่งควรนํากิ่งที่ตัดทิ้งออกไปนอกสวนแลวเผาทําลาย เศษวัสดุจาก
บรรจุภัณฑตางๆ ที่ใชงานในสวนแลวควรเก็บออกไปฝงดินนอกสวน สารปองกันกําจัดศัตรูพืชและปุยเคมีควรเก็บในที่
ปลอดภัยหางไกลจากอาหาร แหลงนํ้า สัตวเลี้ยง และที่อยูอาศัย อุปกรณตางๆ ที่ใชในการพนสารปองกันกําจัดศัตรูพืช
ควรทําความสะอาดหลังจากใชงานแลว หากชํารุดควรซอมแซมใหอยูในสภาพดีพรอมจะใชปฏิบัติงาน

10 การเก็บเกี่ยว
ใชกรรไกรตัดชอผลลําไยจากตน นําชอผลบรรจุภาชนะรองรับเชน
ตะกราที่มีกระสอบหรือฟองนํ้ารองกน การตัดชอผลตองใหมีใบสุดทายที่ติดชอผล (หรือใบแรกที่ติดชอผล) ไปดวย
เพราะตาที่อยูถัดลงไปอีก 1 ตา เปนตาที่สมบูรณแข็งแรงพรอมที่จะแตกเปนกิ่งใหมตอไป ขนยายผลลําไยไปโรงคัด
เกรดอยางระมัดระวังเพื่อไมใหเกิดการบอบชํ้า

11. วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว
ตัดผลลําไยที่มีขนาดเล็กไมไดมาตรฐานในแตละชอออกตัดกานชอผล
เหลือยาวไมเกิน 15 ซม. รวมชอผลลงบรรจุในตะกราพลาสติกที่มีฟองนํ้ารองกน พรอมคัดขนาดไปในคราวเดียวกัน
บรรจุลําไยตะกราละ 10 กิโลกรัม ปดทับฟองนํ้ากอนปดดวยฝาตะกรา ผูกเชือกใหแนน นําตะกราบรรจุลําไยผานความ
เย็นโดยใชไอเย็นกอนการรมดวยซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) หลังการรมดวยซัลเฟอรไดออกไซด นําตะกราบรรจุลําไย
ขนสงโดยรถที่มีระบบหองเย็น เพื่อขนสงในวันเดียวกัน และเมื่อไปถึงทาเทียบเรือแลวควรขนลงตูคอนเทนเนอร
(container) ซึ่งปรับอุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียส เพื่อขนสงไปยังตลาดตางประเทศตอไป

12. การบันทึกขอมูล
ควรบันทึกขอมูลวันปฏิบัติการตางๆ โดยการจัดสมุดบันทึกทําเปน ตารางเพื่อเปนการรวบรวมขอมูลใช
ประโยชนในการพยากรณเหตุการณในปตอ ๆ ไป และเปนขอมูลประกอบการพิจารณาตางๆ ไดแก วันปฏิบัติการตางๆ
เชน วันตัดแตงกิ่ง วันใสปุย ชนิดปุยที่ใช วันพนสารปองกันกําจัดศัตรูพืช ชนิดและอัตราที่ใช วันที่มีโรคแมลงแตละ
ชนิดระบาด อุณหภูมิ ความชื้น ปริมาณนํ้าฝน (ถามี) ผลผลิต และอื่น ๆ

You might also like