You are on page 1of 14

การผลิตกลวยไมอยางถูกตองและเหมาะสม

Good Agricultural Practice (GAP) for Orchids


การผลิตทางการเกษตรอยางถูกตองและเหมาะสม คือ แนวทางในการทําการ
เกษตรกรรมเพื่อใหไดผลผลิตที่มีคุณภาพดี ตรงตามมาตรฐานที่กําหนด ผลผลิตสูงคุมคาการลงทุน
และขบวนการผลิตจะตองปลอดภัยตอเกษตรกร และผูบริโภค มีการใชทรัพยากรที่เกิดประโยชนสูง
สุด เกิดความยั่งยืนทางการเกษตร และไมทําใหเกิดมลพิษตอสิ่งแวดลอม
การผลิตดังกลาวจะมีคําแนะนําของทางราชการ ซึ่งจัดทําขึ้นเพื่อใหเกษตรกรนําไปปฏิบัติได
ภายใตสภาวะที่เปนจริง เหมาะสมแกสภาพทองถิ่น และภูมิประเทศ
ขัน้ ตอนการผลิตทางการเกษตรบางขั้นตอน อาจกอใหเกิดปญหา ทําใหผลผลิตที่ไดไมเปนไป
ตามวัตถุประสงค เชน การปองกันกําจัดศัตรูพืช อาจมีการใชสารเคมีที่มีอันตรายและมีพิษตกคางสูง เปนอันตราย
ตอผูบ ริโภค หรือการใหปุยใหนํ้าแกผักหรือผลไมที่ใชบริโภคสด อาจมีเชื้อโรคติดมาเปนอันตรายตอ
ผูบ ริโภคได ดังนั้นจึงจําเปนตองมีการแนะนําแนวทางการผลิตทางการเกษตรที่ถูกตองและเหมาะสมเพื่อไมใหเกิด
ปญหาดังกลาว
การผลิตกลวยไมอยางถูกตองและเหมาะสม มีขอควรคํานึงดังนี้

1.แหลงปลูกและโรงเรือน
1.1 แหลงปลูก
• อยูใกลแหลงนํ้าสะอาด นํามาใชไดสะดวก
• ไมเปนที่ลุม หรือมีนํ้าทวมขัง
• มีการคมนาคมสะดวก สามารถขนสงสูตลาดไดรวดเร็ว
• ไมมีรมเงาจากสิ่งกอสราง
• ไมอับลม หรือมีลมแรงเกินไป
• มีสภาพอากาศเหมาะสมกับชนิดของกลวยไมที่ปลูก
1.2 การสรางโรงเรือน
ควรใหเหมาะสมกับชนิดกลวยไม มีการพรางแสงตามความตองการ
ของกลวยไม รายละเอียดแสดงในตารางที่ 1
ตารางที่ 1 รายละเอียดโรงเรือนกลวยไมแตละสกุล

สกุล ความสูงโรงเรือน การพรางแสง วิธีการปลูก


(เมตร) (%)
หวาย 2.5-3.5 50-60 วางบนโตะ
ออนซิเดียม 2.5-3.5 40-50 วางบนโตะ
อะแรนดา 3.0-4.0 50-70 วางบนโตะหรือปลูกบนแปลง

ม็อคคารา 3.0-4.0 50-70 วางบนโตะหรือปลูกบนแปลง

แวนดา-ใบแบน 3.0-4.0 40-50 วางบนโตะหรือปลูกบนแปลงหรือ


- ใบรอง 3.0-4.0 20-30 แขวน
- ใบกลม - 0 ปลูกบนแปลง

เสาโรงเรือน : ใชเสาคอนกรีตขนาด 3x3 นิ้ว


หลังคาโรงเรือน : ใชตาขายพรางแสง (saran screen) สีดาโดยขึ
ํ งใหตึงติดกันทั้งผืน หรือเวนระยะหาง
กันเล็กนอย เพื่อระบายอากาศ
โตะวางกลวยไม : สรางโตะสลับกับทางเดิน กวาง 1.0-1.2 เมตร
สูง 60-70 เซนติเมตร สําหรับปลูก กลวยไมสกุลหวาย และสกุลออนซิเดียม และสูง 20-40 เซนติเมตร สําหรับปลูก
กลวยไมสกุลอะแรนดา สกุลม็อคคารา และสกุลแวนดา
พื้นโตะ : ใชไมระแนง คอนกรีต หรือลวด แบงเปนชองหางกันประมาณ 15 เซนติเมตร หรือตาม
ขนาดวัสดุปลูก

2. พันธุ
2.1 การเลือกพันธุ
ควรเลือกพันธุมีลักษณะดีเปนที่นิยมและตลาดตองการ ดังนี้
ตน : ปลูกเลี้ยงงาย ตานทานโรค เจริญเติบโตเร็ว ไมสูงเกินไป มีปลองสั้น ใบไมใหญมาก ออก
ดอกเร็วและออกตลอดป
ชอดอก : ยาวและตรง ดอกบานทน ทรงพุมสวยงามตามลักษณะดอก และเรียงเปนระเบียบ
ดอก : ขนาดพอดี สีสดใส กลีบหนา ไมเปราะหักงาย รูปทรง
สมดุลย ไมบิดเบี้ยว ไมรวงจากชอกอนตัด
2.2 พันธุที่นิยมปลูก
1. สกุลหวาย
• ดอกสีขาว
ขาว 4 เอ็น ขาวประวิทย
• ดอกสีขาวปนชมพู
บอม 28 กลาย บอมโจ บอมโจแดง บอมกันยา
• ดอกสีชมพู
ซากุระ มิสทีน
• พันธุอื่นๆ เชน ซาบิน
2. สกุลออนซิเดียม : โกลเดนชาวเวอร โกรเออรแรมเซย
3. สกุลอะแรนดา : คริสตินสีขาว คริสติน นอรา
4. สกุลม็อคคารา : แยลโลสตาร สายัน พรรณี คาลิปโซ จักกวน
5. สกุลแวนดา : วิรัตน กุลตลา
2.3 การเตรียมพันธุ
ตนพันธุที่จะนําไปปลูกเลี้ยงเตรียมได 3 วิธี
1. การเพาะเลี้ยงจากเนื้อเยื่อ นํากลากลวยไมจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมาปลูกในกระถางหมูขนาดเสน
ผาศูนยกลาง 4-5 นิ้ว โดยใชถานทุบและออสมันดาหรือใยมะพราวเปนวัสดุปลูก หรือปลูกลูกกลวยไมแตละตนใน
กระถางขนาดเสนผาศูนยกลาง 1 นิ้ว วางกระถางปลูกกลวยไมภายใตหลังคาเพื่อกันฝน พรางแสง 60% ปลูกเลี้ยง
4-5 เดือน จึงยายปลูก วิธีนี้จะไดตนสมํ่าเสมอจํานวนมาก และปลอดโรค
2. แยกลํา
• แยกลําหนา ลําหลัง หรือตะเกียง ในสกุลหวาย
• แยกลําหลัง 2-3 ลํา ในออนซิเดียม
3. ตัดยอดและตะเกียง ในอะแรนดา ม็อคคารา และแวนดา

3.การปลูก
3.1 สกุลหวาย
• ใชกระบะกาบมะพราวอัดขนาด 24x32 เซนติเมตร แตละกระบะจะปลูกหวายได 4 ตน
(ประมาณ 12,000 ตนตอไร)
• ใชกาบมะพราวพรอมเปลือกแข็ง ใชระยะปลูก 25 x 25เซนติเมตร
3.2 สกุลออนซิเดียม
• ปลูกในกระถางอัดกาบมะพราวขนาด 4 นิ้ว
• ปลูกโดยวางบนกาบมะพราวหงาย

3.3 สกุลอะแรนดา ม็อคคารา และแวนดา


• ไมตองมีวัสดุปลูก อาจปลูกบนโตะวางกลวยไมที่มีตาขายรองรับ หรือวางบนแปลงโดยมีกาบ
มะพราววางรองรับหากเปนแวนดาใบกลมปลูกบนแปลง และไมตองมีหลังคาพรางแสง สวนแวนดาชนิดอื่นๆ
นอกจากปลูกบนโตะปลูกลงแปลงหรือแขวนก็ได

4. การใหปุย
4.1 สกุลหวายและแวนดา
• ระยะการเจริญเติบโตทางลําตนและใบ อายุ ½ - 6 เดือน ใหปุยสูตร 21-21-21, 30-10-10 และ
30-20-10 สลับกันอัตรา 200-250 กรัมตอนํ้า 100 ลิตร พนครั้งแรกหลังปลูก 14 วัน หลังจากนั้นพนทุก ๆ 7 วัน
• ระยะออกดอก กลวยไมอายุ 7-9 เดือน ใหปุยสูตร 10-20-30 หรือ 16-21-17 อัตรา 250-500
กรัมตอนํ้า 100 ลิตร ทุก ๆ 7 วัน
• ระยะตัดดอก กลวยไมอายุ 10 เดือนขึ้นไป ใหปุยสูตร 21-21-21 อัตรา 200-250 กรัมตอนํ้า 100
ลิตร ทุก ๆ 7 วัน
4.1 สกุลออนซิเดียม
ไมสกุลออนซิเดียมเริ่มออกดอกเมื่อมีอายุประมาณ 10-12 เดือน ใหปุยสูตร 21-21-21 สลับกับ
ปุย สูตร 10-20-30 อัตรา 200 - 250 กรัมตอนํ้า/100 ลิตร ทุก ๆ 7 วัน ไมควรใหปุยที่มีไนโตรเจนสูงติดตอกันนาน
เพราะจะทําใหตนออนแอเปนโรคไดงาย
4.2 สกุลอะแรนดา และม็อคคารา
การใหปุยแกกลวยไมสกุลอะแรนดา แบงเปน 2 ระยะ คือ
• ระยะเพาะเลี้ยงกอนยายลงแปลงปลูกใหปุยเชนเดียวกับกลวยไมสกุลหวาย
• ระยะปลูกลงแปลง ใหปุยสูตร 21-21-21 อัตรา 400-500 กรัม ตอนํ้า 100 ลิตร ทุก ๆ 7 วัน
สําหรับไมตัดดอก ใหปยุ สูตร 15-30-15 สลับกับปุยสูตร 21-21-21 เดือนละ 2 ครั้ง จนกวาจะออกดอก
ชวงเปลีย่ นฤดูกาลใหปุยสูตร 10-20-30 อัตรา 400 – 500 กรัมตอนํ้า 100 ลิตร 1-2 ครั้ง

5. การใหนํ้า

5.1 แหลงนํ้า ไดแก นํ้าฝน นํ้าประปา นํ้า แมนํ้า-ลําคลอง และนํ้าบาดาล กอนใชควรเก็บกักนํ้าทิ้งไวจนสาร


แขวนลอยในนํ้าตกตะกอน
5.2 คุณสมบัติของนํ้าที่เหมาะสมกับกลวยไม นํ้าที่ใชรด ควรมีคุณสมบัติตามตารางที่ 2
ตารางที่ 2 คุณสมบัติของนํ้าที่เหมาะสมกับกลวยไม

ดัชนีคุณภาพนํ้า คามาตรฐาน หนวย

ความเปนกรด-ดาง(pH) 5.2-6.2
การนําไฟฟา (EC) ไมเกิน 750 U mhos/cm.
โซเดียม (Na) ไมเกิน 10 meq/l
โซเดียมที่ละลายได (SSP)ไมเกิน 60 %
โซเดียมคารบอเนตหรือ ไมเกิน 2.5 meq/l
ดางที่เหลือ (RSC)
อัตราการดูดซับโซเดียม (SAR) ไมเกิน 2.0 -
ซัลเฟต (SO4) ไมเกิน 10 meq/l
ไบคารบอเนต (HCO3) ไมเกิน 10 meq/l
ห ม า ย เ ห ตุ ก อ ง เ ก ษ ต ร เ ค มี ก ร ม วิ ช า ก า ร เ ก ษ ต ร ใ ห  บ ริ ก า ร ต ร ว จ วิ เ ค ร า ะ ห 
คุณสมบัติของนํ้า

5.1 ใหนาวั
ํ้ นละ 1 ครั้งในชวงเวลาเชาระหวาง 06.00 – 09.00น. หากฝนตกควรงดใหนํ้า 2-3 วัน ใน
ฤดูแลงหรือฤดูหนาวอาจตองใหนํ้ามากกวา 1 ครั้ง
5.2 วิธกี ารใหนํ้า ใชสายยางพนเปนฝอย หรือใชระบบสปริงเกลอรที่มี
หัวฉีดอยูสูงจากพื้นดินประมาณ 2 เมตร

6.สุขลักษณะและความสะอาด
• กําจัดวัชพืชในสวนกลวยไม โดยเฉพาะใตโตะปลูกใหสะอาดอยูเสมอ
• หลังการตัดแตงกลวยไม ควรนําเศษตนพืชไปเผาทําลายนอกบริเวณสวน
• เศษวัสดุปลูกที่ไมใชแลว ใหนําออกไปนอกสวนกลวยไม
• เศษวัสดุจากบรรจุภัณฑตางๆ ที่ใชงานแลวควรทําลายหรือฝงดินเสีย
• เก็บสารเคมีปองกันกําจัดศัตรูพืช และปุยเคมี ในที่ปลอดภัยและมีกุญแจปด
• ทําความสะอาดอุปกรณตางๆ ที่ใชในการพนสารปองกันกําจัดศัตรูพืช
หลังใชงานแลว หากเกิดการชํารุดทําการซอมแซมใหอยูในสภาพดีพรอมใชงาน

7.การปองกันกําจัดศัตรูกลวยไม

7.1 โรคกลวยไม
7.1.1 โรคเนาดํา โรคยอดเนา หรือโรคเนาเขาไส (Black rot)
ลักษณะอาการ
เกิดไดทุกสวนของกลวยไมเกือบทุกสกุลสามารถสังเกต
อาการของโรคได ดังนี้
• ราก เปนแผลสีดํา เนา แหง ยุบตัวลง หรือรากเนาแหงแฟบ ตอมาเชื้อจะลุกลามเขาไปในตน

• ตน : เชือ้ ราเขาทําลายไดทั้งทางยอดและโคนตน ทําใหยอด


เนาดํา ถาทําลายโคนตนใบจะเหลืองและหลุดรวงจนหมดเรียกวา “โรคแกผา”
• ใบ : เปนจุดใส ชุมนํ้า สีเหลือง ตอมาสีเปลี่ยนเปนสีนํ้าตาล
แลวเปนสีดําในที่สุด ในสภาพที่มีความชื้นสูง แผลจะขยายใหญลุกลามอยางรวดเร็ว เชื้อราจะสรางเสนใยสีขาวใส
ละเอียดบนแผลเนาดํานั้น
• กานชอดอก : เปนแผลเนาดํา ลุกลามจนกานชอดอกหักพับ
• ดอก : เปนจุดแผลสีดํา มีสีเหลืองลอมรอบแผลนั้น กรณีที่เปนกับดอกตูมขนาดเล็กดอกจะเนา
แลวหลุดจากกานชอ
การแพรระบาด
โรคนีแ้ พรไดงายเนื่องจากสปอรของเชื้อราจะกระเด็นไปกับนํ้าในระหวางการรดนํ้า มัก
ระบาดในฤดูฝนโดยกระเด็นไปกับนํ้าฝน
การปองกันกําจัด
• อยาปลูกกลวยไมแนนเกินไป
• ถาพบโรคนี้ในระยะลูกกลวยไมใหแยกออก ถาเปนกับตน
กลวยไมที่โตใหเผาทําลาย
• ไมควรใหนํ้ากลวยไมตอนเย็นใกลคํ่า โดยเฉพาะชวงฤดูหนาว
เพราะจะทําใหเกิดสภาพอากาศเย็น ความชื้นสูงซึ่งเหมาะตอการเจริญเติบโตของเชื้อนี้ โรคจะแพรระบาดรุนแรง
ไดงายขึ้น
• ในกรณีที่ปลูกบนพื้นดินเหนียวควรรองพื้นดวยขี้เถาแกลบ
กอนปูดวยกาบมะพราว เพื่อชวยระบายนํ้าและชวยปองกันไมใหโรคนี้ทําลายกลวยไมในระยะแรกได
7.1.2 โรคดอกสนิม หรือจุดสนิม (Flower rusty spot)
ลักษณะอาการ
เปนโรคที่พบมากในกลวยไมสกุลหวาย และเปนปญหาสําคัญของการสงกลวยไม
ไปยังตลาดตางประเทศ เพราะอาการจะปรากฏในระหวางการขนสง โดยจะเกิดเปนจุดขนาดเล็กสี
เหลืองอมนํ้าตาลบนกลีบดอก เมื่อจุดขยายโตขึ้นจะมีสีเขมคลายสีสนิม
การแพรระบาด
โรคจะระบาดอยางรวดเร็วถามีฝนตกติดตอกันเปนเวลา
นาน ๆ หรือมีนํ้าคางลงจัด
การปองกันกําจัด
• เก็บดอกกลวยไมทั้งที่รวงและที่เปนโรคเผาทําลาย
• นําที
้ ่ใชรดกลวยไมที่ไมใชนํ้าประปาควรผานการฆาเชื้อดวย
ผงคลอรีน อัตรา 5 กรัมตอนํ้า 400 ลิตร แลวปลอยทิ้งคางคืน จนหมดกลิ่นจึงนําไปใช
• การใชปุยในระยะออกดอกควรใชปุยที่มีโพแตสเซียมสูงเพื่อ
เพิม่ ความตานทานตอโรค หรือลดความรุนแรงของโรค
7.1.3 โรคใบปนเหลือง (Yellow leaf spot)
ลักษณะอาการ
เกิดจุดกลมสีเหลืองที่ใบบริเวณโคนตน ถาอาการรุนแรงจุดเหลานี้จะขยายติดตอกันเปนปนสี
เหลืองตามแนวยาวของใบ เมื่อพลิกดูดานหลังใบจะพบกลุมผงสีดํา ในที่สุดใบจะเปลี่ยนเปนสีนํ้าตาลและหลุด
รวงจากตน
การแพรระบาด
โรคนีแ้ พรระบาดมากชวงปลายฤดูฝนจนถึงฤดูหนาวโดย
สปอรจะปลิวไปตามลม หรือกระเด็นไปกับละอองนํ้าที่ใชรดตนกลวยไม
การปองกันกําจัด
• เก็บรวบรวมใบที่เปนโรคเผาทําลาย
7.1.4 โรคใบจุด หรือโรคใบขี้กลาก (Leaf spot)
ลักษณะอาการ
• กลวยไมสกุลแวนดา มีลักษณะแผลเปนรูปยาวรีคลายกระสวย ถาเปนมากแผลจะรวมกันเปน
แผน บริเวณตรงกลางแผลจะมีตุมนูนสีนํ้าตาลดํา ลูบจะรูสึกสากมือ ชาวสวนจึงเรียกโรคนี้วา “โรคขี้กลาก” หรือ
“ขี้กลากราชบุรี”
• กลวยไมสกุลหวาย มีลักษณะแผลเปนจุดกลมสีนํ้าตาลเขมหรือสีดํา ขอบแผลมีสีนํ้าตาลออน
แผลมีขนาดเทาปลายเข็มหมุดจนถึงขนาดใหญประมาณ 1 เซนติเมตร บางครั้งแผลจะบุมลึกลงไปหรืออาจนูนขึ้น
มาเล็กนอย หรือเปนสะเก็ดสีดําเกิดไดทั้งดานบนและใตใบ บางครั้งอาจมีอาการเปนจุดกลมสีเหลืองเห็นไดชัดเจน
กอน แลวจึงคอยๆ เปลี่ยนเปนจุดสีดําทั้งวงกลม
การแพรระบาด
แพรระบาดไดตลอดป สําหรับกลวยไมสกุลแวนดาระบาดมากในชวงปลายฤดูฝน
จนถึงฤดูหนาว โดยสปอรของเชื้อราปลิวไปตามลมหรือกระเด็นไปกับนํ้า
การปองกันกําจัด
• รวบรวมใบที่เปนโรคเผาทําลาย
7.1.5 โรคเนา (Rot)
ลักษณะอาการ
เริ่มแรกเปนจุดฉํ่านํ้าขนาดเล็กบนใบหรือหนอออน จากนั้นแผลจะเริ่มขยายขนาด
ขึ้น และเนื้อเยื่อมีลักษณะเหมือนถูกนํ้ารอนลวก ใบจะพองเปนสีนํ้าตาล ขอบแผลมีสีเหลืองเห็นได
ชัดเจน ภายใน 2-3 วัน เนื้อเยื่อใบจะโปรงแสงมองเห็นเสนใบ ถาอาการรุนแรงจะทําใหกลวยไมเนา
ยุบตายทั้งตน
การแพรระบาด
ในสภาพอากาศรอนและความชื้นสูง โรคจะแพรระบาดอยางรุนแรงและรวดเร็ว
การปองกัน
• เก็บรวบรวมสวนที่เปนโรคเผาทําลาย
• ควรปลูกกลวยไมในโรงเรือน หรือใตหลังคา พลาสติก ถามี
โรคเนาระบาดใหงดการใหนํ้าระยะหนึ่งอาการเนาจะแหงไมลุกลามหรือระบาด
7.1.6 โรคไวรัส (Virus)
ลักษณะอาการ
อาการที่ปรากฏแตกตางกันไปตามชนิดของเชื้อไวรัสและชนิดของกลวยไมบางครั้งกลวยไมที่
มีเชื้อไวรัสอยูอาจจะแสดงอาการหรือไมแสดงอาการออกมาใหปรากฏก็ได ลักษณะอาการที่มักพบบอยๆ มีดังนี้
1. ลักษณะใบดาง ตามแนวยาวของใบ มีสีเขียวออนผสมสีเขียวเขม
2. ยอดบิด ชวงขอจะถี่สั้น แคระแกรน
3. ชอดอกสั้น กลีบดอกบิด เนื้อเยื่อหนาแข็งกระดาง บางครั้งกลีบดอกจะมีสีซีดตรงโคน
กลีบ หรือดอกดางซีด ขนาด
เล็กลง
การแพรระบาด
เชื้อไวรัสแพรระบาดไดงายโดยติดไปกับเครื่องใชตางๆ เชน
มีด กรรไกร ที่ใชตัดหนอเพื่อขยายพันธุ หรือใชตัดดอกและตัดแตงตน
การปองกันกําจัด
1. ถาพบตนกลวยไมอาการผิดปกติดังกลาวใหแยกออกแลวนําไปเผาทําลาย อยานําไปขยาย
พันธุ
2. ทําความสะอาดเครื่องมือเครื่องใชทุกครั้งที่มีการตัดแยกหนอหรือดอก โดยจุมใน นํ้าสบู
นําผงซั
้ กฟอก ทุกครั้งเพื่อฆาเชื้อกอน
3. ควรดูแลรักษาตนกลวยไมใหสมบูรณอยูเสมอ ในการปนตาตองแนใจวาตนกลวยไม
ปราศจากโรคจริงๆ
4. ควรตรวจสอบตนพันธุกลวยไมกอนนําไปขยายพันธุหรือปนตา ที่กองโรคพืชและจุลชีว
วิทยา เพื่อปองกันการแพรระบาดของเชื้อไวรัส

ตารางที่ 3 การใชสารปองกันกําจัดโรคที่สําคัญของกลวยไม

โรค สารปองกันกําจัดโรค อัตราการใช/ วิธีการใช


(ชื่อสามัญ) นํ้า 20 ลิตร
1. โรคเนาดํา/ ฟอสฟอรัส แอซิด 30-50 ควรพนในชวงที่แดดไมจัด
โรคยอดเนา/ มิลลิลิตร
โรคเนาเขาไส ไมควรผสมกับปุยและสารเคมี
อีทริไดอะโซล 20 กรัม อื่นๆ ควรพนสลับกับ สารเคมี
อื่น

เมทาแลกซิล 40 กรัม อัตราตํ่าใชปองกันโรคอัตราสูง


ฟอสเอทธิล- 25-50 กรัม ใชกําจัดโรคไมควรใชผสมกับ
อะลูมิเนียม ปุยใด ๆ
2. โรคดอก แมนโคเซบ 30 กรัม ควรพนใหทั่วและควรผสมสาร
สนิม/ เสริมประสิทธิ
โรคจุดสนิม
3. โรคใบปน คารเบนดาซิม 20 กรัม ควรพนสารใหถูกกับพื้นที่ผิวใบ
เหลือง แมนโคเซบ 30 กรัม ใบที่มีสปอรและปรับหัวพนเพื่อ
เบโนมิล 6-8 กรัม ใหทั่วทั้งบนใบและใตใบควร
พนสารสลับกันเพื่อปองกันการ
ตานทานสารเคมี
โรค สารปองกันกําจัดโรค อัตราการใช/ วิธีการใช
(ชื่อสามัญ) นํ้า 20 ลิตร
4. ใบจุด/ใบขี้ คารเบนดาซิม 20 กรัม ระยะเวลาในการพนสารขึ้นอยู
กลาก แมนโคเซบ 30 กรัม กับความรุนแรงและการระบาด
5. โรคเนา สเตรปโตมัยซิน ออกซีเตต 10 กรัม หามใชในอัตราที่เขมขนมาก
ตระไซครินโปรเคนเพน- กวาที่กําหนดหรือใชติดตอกัน
นิซิลิน-จี เกิน 2 ครั้ง ควรสลับดวยสารใน
คอปเปอรไฮดรอกไซด 20 กรัม กลุมสัมผัส
6. โรคไวรัส ผงซักฟอก 400 กรัม ทําความสะอาดเครื่องมือเครื่อง
ใชทุกครั้งที่มีการตัดแยกหนอ
หรือดอก โดยการจุมในสาร
ละลายผงซักฟอก

7.2 แมลงศัตรูกลวยไม
7.2.1. เพลี้ยไฟฝาย (Cotton thrips)
เพลี้ยไฟฝาย เปนแมลงศัตรูที่สําคัญที่สุดของกลวยไม แมลงชนิดนี้มีขนาดเล็กมากประมาณ
0.8-1.0 มิลลิเมตร สีเหลืองใส พบระบาดทําลายกลวยไมในชวงเดือนกุมภาพันธ – มิถุนายน โดยดูดนํ้าเลี้ยงจาก
เนือ้ เยื่อกลีบดอกกลวยไม ทําใหเกิดรอยดางกระจายทั่วกลีบดอก ชาวสวนจึงเรียกเพลี้ยไฟวา “ตัวกินสี” เพลี้ยไฟ
ชนิดนี้มีวงจรชีวิตจากไขถึงตัวเต็มวัยเพียง 14 วัน
7.2.2 บั่วกลวยไม (Orchid midge)
บั่วกลวยไม เปนแมลงวันชนิดหนึ่ง ตัวเต็มวัยวางไขในเนื้อเยื่อของกานชอดอก
หนอนเมื่อโตเต็มที่ขนาดประมาณ 2 มิลลิเมตร มักระบาดรุนแรงในฤดูฝน โดยกัดกินกลีบดอกดาน
ใน ทําใหดอกตูมชะงักการเจริญเติบโต ถาระบาดรุนแรงดอกจะรวงหลุดอยางฮวบฮาบจึงเรียกแมลง
ชนิดนี้วา“ไอฮวบ”
7.2.3. หนอนกระทูหอม (Beet armyworm)
หนอนกระทูหอม หรือชาวสวนเรียกทั่วไปวา หนอนหนังเหนียว หนอนหลอด
หอม หนอนเขียว เปนหนอนผีเสื้อกลางคืนขนาดกลาง 2.0-2.5 เซนติเมตร ตัวเต็มวัยวางไขเปนกลุม
ประมาณ 20-100 ฟอง ระยะไขประมาณ 2-3 วัน ระยะหนอนประมาณ 14-17 วัน และระยะดักแด 5-
7 วัน ลักษณะของหนอนกระทูหอมสังเกตไดงาย มีลําตัวอวน ผนังลําตัวเรียบ มีหลายสี ดานขางมี
แถบสีขาวพาดตามยาวจากอกถึงปลายสุดของลําตัวขางละแถว หนอนระบาดรุนแรงในชวงฤดู
หนาวและฤดูรอน โดยการกัดกินดอกและใบเกิดเปนรอยแหวง

7.3 หอยทากศัตรูกลวยไม (Snail)


หอยทากที่พบในสวนกลวยไมสวนมากเปนหอยทากบกซึ่งมีขนาด
เล็ก พบเขาทําลายตาหนอและตาดอก รวมทั้งชอดอก อีกทั้งปลอยเมือกไวเปนแนวตามทางที่เดิน
ผานไป เปนสาเหตุใหเกิดเชื้อโรคและเชื้อราเขาซํ้าเติมกลวยไมได
ตารางที่ 4 การใชสารเคมีในกลวยไม
ชนิดของแมลง สารฆาแมลง อัตราการใชกรัม, หมายเหตุ
มิลลิลิตร/นํ้า 20 ลิตร
เพลี้ยไฟฝาย อิมิดาคลอพริด 10-20 โดยใชระยะพน 5-7 วัน
(คอนฟดอร 100 SL) ในฤดูรอน หรือ 7-10
อะเซทามิพริด 5 วัน ในฤดูฝนเมื่อพบ
(โมแลน 20% SP) เพลี้ยไฟมากกวา 10
อะบาเม็คติน 10-20 ตัว/ 40 ชอดอก ใชอัตรา
(แจคเก็ต,เวอรทิเม็ค 1.8% EC) การพนสาร 200 ลิตร/
ฟโพรนิล ไรพนใหทั่วโดยเฉพาะ
(เเอสเซนด 5% SC) 20 บริเวณดอก
ไ ซเพอร เ มทริ น /โฟซาโลน
(พารซอน 28.75% EC) 40

บั่วกลวยไม ไ ซเพอร เ มทริ น /โฟซาโลน 40 พนทุก 5-7 วัน จนกวา


“ไอฮวบ” (พารซอน 28.75% EC) การระบาดลดลง
คารโบซัลแฟน
(พอสซ 20% EC) 50
หนอนกระทูหอม เชื้อไวรัส NPV 30 ฉี ด พ น ในช วงเวลาเย็น
ทุก 4-5 วัน / ครั้งติดตอ
กัน 3-4 ครั้งเมื่อพบมี
การระบาด
เชื้อแบคทีเรีย Bt พ น เมื่ อ พบการระบาด
เซนทารี 50 ในชวงพน 4-5 วัน/ครั้ง
เตลฟน 40 ติดตอกัน 3-4 ครั้ง
คลอรฟลูอาซูรอน 20 ใชชวงพน 5-7 วัน/ครั้ง
(อาทาบรอน 5% EC) จนกวาการระบาดจะลด
ไดอะเฟนไทยูรอน 40 ลง
(โปโล 25% เอลซี) ข อ แนะนํ าควรใช ก าร
เ ก็ บ ก ลุ  มไข  ด วยจ ะ
สามารถลดการระบาด
ลงได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ
ภาพ

ชนิดของแมลง สารฆาแมลง อัตราการใชกรัม, หมายเหตุ


มิลลิลิตร/นํ้า 20 ลิตร
หอยทาก นิโคลซาไมด 40 ควรพนตอนเย็นซึ่งเปน
(ไบลุสไซด 70% WP) เวลาที่ ห อยเริ่ มออกหา
กิน โดยพนนํ้าเปลา
กอนพนสาร
เมทไทโอคารบ 60 ประมาณ 15 นาที เพื่อ
(เมซูโรล 50% WP) ให ค วามชื้ น ในอากาศ
สูงออกจากที่หลบซอน
เมทัลดีไฮด 80% WP 40

7.4 การพนสารปองกันกําจัดศัตรูกลวยไม
การพนสารปองกันกําจัดศัตรูของกลวยไมที่ไดผลดีสูงสุดนั้น ผูปลูก
เลีย้ งกลวยไมควรตองมีความรูเกี่ยวกับชนิดของศัตรูพืชและสารเคมีที่จะตองใชกับศัตรูพืชนั้น ๆ ตลอดทั้งตอง
เรียนรูเกี่ยวกับการพนสารเคมีดวย การพนสารเคมีที่ถูกตองสามารถลดการใชสารเคมีได ประมาณ 30-40%
คําแนะนําขั้นตอนการพนสารเคมี
1. เปลีย่ นแผนหัวพนจากเดิมที่ใชขนาดโตมีเสนผาศูนยกลางประมาณ 2.0 มิลลิเมตร (เทียบไดกับหัว
พนมาตรฐานเบอร D-5) เลือกใชขนาดเล็กลงมีเสนผาศูนยกลางประมาณ 1.5 มิลลิเมตร (หรือเทียบไดกับหัวพน
มาตรฐานเบอร D-4)
2. ปรับความดันในระบบการพนใหอยูระหวาง 20-30 บาร หรือกิโลกรัมตอตารางเซนติเมตร หรือ
300-450 ปอนดตอตารางนิ้ว เพื่อใหไดละอองขนาดเล็ก
3. ปรับการพนใหมีการกระจายของละอองกวางที่สุดเพื่อใหละอองพนกระจายคลุมตนกลวยไม
มากที่สุด
4. เดินพนดวยความเร็วสมํ่าเสมอ อัตราประมาณ 1 กาวตอวินาที (ประมาณ 60-80 เซนติเมตรตอ
วินาที)

7.5 การใชสารปองกันกําจัดศัตรูพืชอยางถูกตองและปลอดภัย
สารปองกันกําจัดศัตรูพืชมีอันตราย จึงควรใชดวยความระมัดระวัง มีหลักที่ควรปฏิบัติ ดังนี้
1. ใชสารปองกันกําจัดศัตรูพืชตามคําแนะนําและเลือกใชสารเคมีที่มีความเปนพิษตอสัตวเลือด
อุนตํ่า
2. อยาผสมสารปองกันกําจัดศัตรูพืชหลายชนิดครั้งเดียวกันนอกจากจะรูความเปนพิษของสารที่
ผสมแลวมีแคไหน
3. อานฉลากใหเขาใจถึงวิธีใชและการปองกันโดยละเอียด
4. ตองสวมเสื้อผาปองกันอันตรายของสารพิษ
5. ตรวจอุปกรณเครื่องพนอยาใหมีรอยรั่ว ถาหากรั่วจะทําใหสารเปยกเปอนหลังได
6. ตรวจดูนํ้าสะอาด สบูและผาเช็ดหนา เสื้อผาที่จะใชเปลี่ยนทุกอยางจะตองพรอม
7. เตือนเพื่อนบานใหระมัดระวัง เมื่อมีการพนสาร
8. นําสารปองกันกําจัดศัตรูพืชเทาที่จําเปนตองใชเฉพาะวันไปเทานั้น
9. เก็บสารปองกันกําจัดศัตรูพืชไวในที่ใสกุญแจมิดชิด

8.วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว

การปฏิบัติกับดอกกลวยไมเพื่อยืดอายุดอกกลวยไมในการใชงานให
นานขึ้น มีขั้นตอนการปฏิบัติดังนี้
8 . 1 ก า ร เ ก็ บ เ กี่ ย ว ค ว ร ตั ด ด อ ก ไ ม  ใ น ร ะ ย ะ ที่ เ ห ม า ะ ส ม ตั ด เ มื่ อ ด อ ก บ า น
3 ใน 4 ของชอดอก แตสกุลอะแรนดาและมอคคารา ควรตัดเมื่อมีดอกบานไมนอยกวา 4 ใน 5 ของชอดอก ตัด
ตอนเชา หลังจากใสปุยไปแลว 2 - 3 วัน ควรใชกรรไกรที่คมและสะอาดตัดเฉียงเปนปากฉลาม
8.2 การรวบรวมและขนสง นําดอกไมที่ตัดมาแชปลายกานในนํ้าสะอาดหรือนํ้ายายืดอายุ อยาปลอย
ใหดอกไมขาดนํ้านานเกินไป ไมกองสุมดอกไมทับกันหลาย ๆ ชั้น เพราะจะเกิดความรอนและเอทธิลีนที่เกิดจาก
การผลิตของดอกไมสะสมทําใหดอกไมเหี่ยวเร็ว รวบรวมไวในโรงเรือนที่สะอาด หลีกเลี่ยงบริเวณที่มีแสงแดด
สองหรือลมแรง ในระหวางรอการขนสง ควรขนสงโดยรถหองเย็นปรับอุณหภูมิ 12 -15 องศาเซสเซียส
8.3 การเตรียมการบรรจุหีบหอ ตัดปลายกานอีกครั้งประมาณ 1.5-2.0 ซม. แชในนํ้ายายืดอายุระหวาง
รอการคัดขนาด เลือกดอกที่สมบูรณมาคัดขนาดตามมาตรฐานของผูบริโภค เสียบปลายกานดอกในหลอด
พลาสติกบรรจุนํ้ายายืดอายุ ผึ่งดอกที่เปยกใหแหงกอน จากนั้นนําไปรมดวยเมทธิลโบรไมด หลังจากรมดวยเม
ทธิลโบรไมคควรนําไปเก็บ ณ หองอุณหภูมิ 8-12 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ 85-95% เปนเวลา 1-2 ชั่วโมง
เพือ่ ลดอุณหภูมิของดอกกอนการบรรจุ
8.4 การบรรจุดอกกลวยไม บรรจุชอดอกกลวยไมในถุงพลาสติก PP หรือ35 หอดวย OPP ถุงละ 10 ชอ
ควรใสสารดูดซับเอทธิลนี ซึง่ ทําดวยชอลกหั่น จุมดางทับทิมอิ่มตัว ใสถุงเล็ก 25-50 กรัม เจาะรูเล็ก ๆ เพื่อให
สามารถดูดซับเอทธิลีนจากการผลิตของดอกไมในระหวางการขนสง บรรจุกลองกระดาษกลองเล็ก กลองละ 20
40 60 หรือ 80 ชอ แลวแตขนาดของชอดอก และความตองการของผูบริโภคแลวบรรจุกลอง ใหญอีกชั้น กลองละ
10-12 กลองเล็ก เก็บรักษาไวที่อุณหภูมิ 12 องศาเซลเซียส ขณะรอการขนสง
8.5 การรมดอกกลวยไมดวยเมทธิลโบรไมดเพื่อกําจัดเพลี้ยไฟฝายโดยใชตูรมยาของกรมวิชาการ
เกษตร
• กอนการรมยาทุกครั้งตองปฏิบัติดังนี้
1. ตรวจสอบอุปกรณที่ใชในการรมยาทุกอยางใหอยูในสภาพที่ใชงานได เชน กระบอกตวง
แกสถังยารมเมทธิลโบรไมดวาลวปดเปดทุกตัว พัดลม ผาคลุมรมยา ทอทราย หากพบอุปกรณชนิดหนึ่งชนิดใด
ชํารุด จะตองทําการซอมแซมหรือเปลี่ยนใหมกอน โดยเฉพาะผาคลุมรมยาจะตองไมฉีกขาดหรือมีรูรั่ว
2. ทําความสะอาดพื้นตูรมยา และพื้นที่รอบ ๆ ตูรมยาใหสะอาดเสมอ
• ขัน้ ตอนการปฏิบัติในการรมยาและระบบการทํางานของ
ตูรมยา
1. นําดอกกลวยไมที่จะทําการรมยามาจัดวางไวในตูรมยา
2. คลุมตูรมยาดวยผาคลุมรมยาทารพอลินแลวทับชายผาคลุมรมยาดวยทอทราย โดยวางทอ
ทรายใหเหลื่อมกันอยางนอย 20-30 เซนติเมตร
3. ตรวจดูผาคลุมรมยาวาดวยอยูในสภาพดีหรือไมหากพบรอยรั่วหรือฉีกขาด ใหทําการ
ซอมแซม โดยใชเทปกาวปะสวนที่รั่วหรือฉีกขาดนั้น หากผาคลุมรมยาอยูในสภาพที่เกามีรูรั่วและฉีกขาดมากไม
สามารถซอมแซมไดใหเปลี่ยนผาคลุมใหมเพื่อความปลอดภัยทําใหการรมยานี้ไดผล
4. เปดพัดลมซึ่งติดตั้งอยูในทอลมตรงสวนกลางของตูรมยาเพื่อใหเกิดการหมุนเวียนของ
อากาศภายในตูรมยา
5. เปดวาลวถังแกสเมทธิลโบรไมดแลวตวงแกสเขากระบอกตวงแกสตามปริมาณที่ตองการ
ใหไดตามอัตราที่แนะนํา24 กรัมตอลูกบาศกเมตร
6. เปดวาลวที่กระบอกตวงแกสเพื่อปลอยใหแกสไหลไปตามทอทองแดงเขาไปตูรมยา
แกสจะไปออกที่หัวปลอยแกสที่อยูในทอลม
7. แกสที่ปลอยออกมาจากหัวปลอยแกสจะถูกพัดลมดูดขึ้นไปตามทอลมแลวผานกรวยแยก
แกสรูปประมิดแกสจะถูกแบงออกไปผสมกับอากาศที่อยูภายในหองผสมอากาศ - แกส
8. แกสเมทธิลโบรไมดจะผสมกับอากาศภายในหองผสมอากาศ-แกสทําใหความเขมขนลด
ลงแลวมีการหมุนเวียนอยูภายในจากคุณสมบัติของแกสเมทธิลโบรไมดที่หนักกวาอากาศและมีการหมุนเวียนของ
อากาศทําใหแกสลอดทะลุผานเพดานซึ่งเจาะเปนรูไวฟุงกระจายลงมาในตูรมยา
9. แกสเมทธิลโบรไมดจะลอดผานพื้นไมดานลางซึ่งทําเปนชองไวโดยแกสจะถูกพัดลมดูด
ใหวงิ่ ไปในทอลม แลวถูกดูดขึ้นไปยังสวนบนของตูอีกครั้ง
10. แกสเมทธิลโบรไมดจะมีการหมุนเวียนในลักษณะนี้ตลอดเวลาทํ าใหควมเขมขนของ
แกสเมทธิลโบรไมดภายในตูรมยามีความเขมขนเทากันทุกจุด
11. รมดอกกลวยไมไวในตูรมยา 90 นาที เมื่อครบกําหนดรมยานําพัดลมตั้งพื้นขนาดใหญมา
วางทีด่ านหนาตูรมยาแลวเอาถุงทรายออกยกผาคลุมรมยาดานหลังขึ้นพาดบนตูรมยา เปดพัดลมเพื่อเปาไลแกส
แลวยกผาคลุมรมยาดานหนาขึ้นพาดบนตูรมยา แกสเมทธิลโบรไมดจะถูกลมเปาออกไปจากตูรมยา
12. เปดพัดลมเพื่อไลแกสเมทธิลโบรไมดออกจากตูรมยาประมาณ 10 นาที ความเขมขนของ
แกสเมทธิลโบรไมดก็จะอยูในระดับที่ตํ่ากวาคาความปลอดภัยคือ 5 พีพีเอ็ม
13. นําดอกกลวยไมออกจากตูรมยาได
8.6 การรมดอกกลวยไมดวยเมทธิลโบรไมดเพื่อกําจัดเพลี้ยไฟฝายโดยใชโรงรมสําเร็จรูป
มีขนั้ ตอนการปฏิบัติดังนี้
1. นําดอกกลวยไมจัดวางไวในตูรม
2. รูดซิปปดตูรม และตรวจดูความเรียบรอย
3. เปดพัดลมซึ่งตั้งอยูในตูรมเพื่อใหเกิดการหมุนเวียนของอากาศภายในตู
4. เปดวาลวถังปลอยแกสเมทธิลโบรไมดเขาตูตามปริมาณที่ตองการใหไดตาม
อัตราที่แนะนํา 24 กรัมตอลูกบาศกเมตร
5. แกสเมทธิลโบรไมดจะเกิดการหมุนเวียนกระจายภายในตูตลอดเวลา ทําให
ความเขมขนของแกสเมทธิลโบรไมดภายในตูรมเทากันทุกจุด รมดอกกลวยไมไวในตูรม 90 นาที
เมื่อครบกําหนดเปดซิปดานหลังออกเพื่อระบายแกสออกจากตูรมประมาณ 10 นาที เพื่อใหความ
เขมขนของแกสเมทธิลโบรไมดอยูในระดับที่ตํ่ากวาคาความปลอดภัยคือ 5 พีพีเอ็ม
6. นําดอกกลวยไมออกจากตูรม
• การกําจัดเพลี้ยไฟฝายศัตรูกลวยไมดวยวิธีการจุม
การจุมชอดอกกลวยไมในสารเคมีชนิดตางๆ โดยใชอัตราตาม

ตารางที่ 5 สามารถใชกําจัดศัตรูกลวยไมไดผลดี
ตารางที่ 5 สารปองกันกําจัดเพลี้ยไฟฝายโดยวิธีการจุม และอัตราการใช
สารฆาแมลง อัตราการใช
(มิลลิลิตร, กรัม/นํ้า 20 ลิตร)
อิมิดาคลอพริด 20
อะเซทามิพริด 5
อะบาเม็กติน 20
ฟโพรนิล 20

หมายเหตุ จุมดอกกลวยไมในสารฆาแมลง นาน 5 วินาที

9.การบันทึกขอมูล
ผูปลูกเลี้ยงควรบันทึกขอมูลการปฏิบัติงานตางๆ โดยจัดทําสมุดบันทึกทํา
เปนตารางเพื่อเปนการรวบรวมขอมูลสําหรับใชประโยชนในการพยากรณเหตุการณในปตอ ๆ ไป
และเปนขอมูลประกอบการพิจารณาตางๆ เชนวันปลูก วันใสปุย ชนิดของปุยที่ใช วันพนสารปอง
กันกําจัดศัตรูพืช ชนิดและอัตราที่ใช วันที่มีการระบาดของโรคและแมลง อุณหภูมิ ความชื้น
ปริมาณนํ้าฝน ผลผลิต และอื่นๆ

You might also like