You are on page 1of 25

บทที่ 2 การศึกษาสภาพทั่วไปของสาธารณรัฐประชาชนจีน

การศึกษาในบทนี้จะเนนศึกษาสภาพโดยทั่วไปของสาธารณรัฐประชาชนจีน จะเปนประโยชน
ตอการเขาใจบริบทโดยรวมของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งจะเปนประโยชนตอการศึกษาการวางแผน
ทั้งในอดีตจนถึงปจจุบัน ดังนี้

2.1 สภาพทั่วไปของสาธารณรัฐประชาชนจีน

สาธารณรัฐประชาชนจีน (People’s Republic of China) (จีนตัวเต็ม: 中華人民共和國; จีนตัว


ยอ: 中华人民共和国อังกฤษ: People's Republic of China (PRC) ประวัติศาสตรและภูมิศาสตรสวน
ใหญ ที่ชาวตะวันตกเรียกรวม ๆ วา China (จีน) ประเทศจีนเปนประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก
โดยประชากรสวนใหญเปนชาวจีนฮั่น จีนเปนประเทศที่มีขนาดใหญที่สุดในเอเชียตะวันออก และมีขนาด
เปนอันดับ 3 ของโลก เปนรองเพียงรัสเซียและ แคนาดาสาธารณรัฐประชาชนจีนมีพรมแดนติดกับ 15
ประเทศ (นับเวียนตามเข็มนาฬิกา) คือ เวียดนาม ลาว พมา อินเดีย ภูฏาน สิกขิม เนปาล ปากีสถาน
อัฟกานิสถาน ทาจิกิสถาน คีรกีซสถาน คาซัคสถาน รัสเซีย มองโกเลีย และ เกาหลีเหนือ ตั้งแตกอตั้ง
สาธารณรัฐเมื่อป พ.ศ. 2492 ประเทศจีนอยูภายใตการปกครองของพรรคคอมมิวนิสตจีน สาธารณรัฐ
ประชาชนจีนอางอธิปไตยเหนือเกาะไตหวัน เกาะเผิงหู เกาะเอหมึง (จีนกลาง: จินเหมิน) และหมูเกาะมา
รูปที่ 2.1 ที่ตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีน
ที่มา : เวบไซต http://th.wikipedia.org

2-1
ซู (จีนกลาง: หมาจู) แตไมไดปกครอง โดยที่เกาะเหลานี้ปกครองโดยสาธารณรัฐจีน ซึ่งมีเมืองหลวงอยูที่กรุงไทเป (จีนกลาง: ไถเปย) ฐานะทางการเมืองของ
สาธารณรัฐจีนนั้น ยังเปนที่โตแยงกันอยู
คําวา จีนแผนดินใหญ ใชเรียกสวนของจีน ที่อยูภายใตการปกครองของสาธารณรัฐประชาชนจีน (สวนใหญจะยกเวนเขตบริหารพิเศษ 2 แหง คือ ฮองกง และ
มาเกา) บางคนนิยมเรียกสาธารณรัฐประชาชนจีนวา จีนแดง (Red China) โดยเฉพาะผูที่วิพากษวิจารณเกี่ยวกับจีน ปจจุบันสาธารณรัฐประชาชนจีนและ ประเทศ
ญี่ปุนเปนมหาอํานาจในภูมิภาคเอเชีย มีเศรษฐกิจและกําลังทางทหารใหญที่สุดในภูมิภาคเอเชีย1

2.2 ภูมิศาสตรสาธารณรัฐประชาชนจีน

สาธารณรัฐประชาชนจีนตั้งอยูในเอเชียตะวันออก
บนฝงตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟก มีพื้นที่ดินประมาณ
9.6 ลานตารางกิโลเมตร ใหญเปนอันดับที่ 3 ของโลก รอง
จากรัสเซียและแคนาดาประเทศจีนมีอาณาเขตติดตอกับ
ประเทศตางๆ ถึง 15 ประเทศ ดวยมีความยาวถึง 22,800
กม. ขามทะเลไปทางตะวันออกและตะวันออกเฉียงใตมี
เกาหลี ญี่ปุน ฟลิปปนส บรูไน มาเลเซีย และอินโดนีเซีย

รูปที่ 2.2 ลักษณะภูมิประเทศของสาธารณรัฐประชาชนจีน


ที่มา : เวบไซต http://www.natureclubthailand.com/
1
ที่มา : เวบไซต http://th.wikipedia.org

2-2
แผนดินใหญจีนถูกขนาบทางตะวันออกไปทางใตดวยทะเลเหลือง ทะเลจีนตะวันออก และทะเลจีนใต โดยมีพื้นที่น้ํารวม 4.73 ลานตาราง กิโลเมตร ทะเลเหลือง ทะเล
จีนตะวันออก และทะเลจีนใต เปนสวนประกอบของมหาสมุทรแปซิฟก ซึ่งมีเกาะเล็กเกาะนอยถึง 5,400 เกาะ จึงทําใหประเทศจีนมีอาณาเขตทางทะเลที่ใหญมาก
เกาะที่ใหญที่สุดมีเนื้อที่ 36,000 ตาราง กิโลเมตร คือ ไตหวัน ตามดวยเกาะไหหลํา 34,000 ตาราง กิโลเมตร เกาะ Diaoyu กับเกาะ Chiwei ซึ่งอยูทางตะวันออกของ
เกาะไตหวันเปนเกาะตะวันออกสุดของจีนเกาะนอยใหญ รวมถึงหินโสโครก และ ฝูงปลา ในทะเลจีนใต เปนที่รูจักกันวา เปนหมูเกาะทะเลจีนใต ซึ่งแบงออกเปนตงชา
ซีชา จงชา และหนานชา รวม 4 กลุม
พื้นที่ทางดานตะวันตกของจีนเปนแนวเทือกเขาสูงชันและที่ราบสูงทิเบต มีเทือกเขาที่สําคัญคือเทือกเขาหิมาลัย ซึ่งมีจุดสูงสุดคือยอดเขาเอเวอเรสต ทางดาน
เหนือของที่ราบสูงเปนที่ราบแองกระทะขนาดใหญคือแองทาลิมซึ่งเปนพื้นที่ที่แหงแลงมาก เปนที่ตั้งของทะเลทรายอาทากามา สวนแมน้ําที่สําคัญในประเทศจีนและมี
ตนกําเนิดในประเทศจีนไดแก แมน้ําเหลือง แมน้ําแยงซี แมน้ําโขง แมน้ําสาละวิน

2.3 ภูมิอากาศ

สาธารณรัฐประชาชนจีนมีลักษณะภูมิอากาศเปนแบบมรสุมภาคพื้นทวีปที่มีหลากหลายรูปแบบ ลมเหนือจะมีอิทธิพลสูงในฤดูหนาว ในขณะที่ลมใตจะมี


บทบาทในฤดูรอน มีผลถึง 4 ฤดู ที่แตกตางกันอยางเดนชัด มีฤดูฝนปนอยูกับฤดูรอน ภูมิอากาศที่ซับซอน และหลากหลายของจีน มีผลใหสามารถแบงแถบอิงอุณหภูมิ
กับแถบอิงความชื้นของภาคพื้นของประเทศจีนได คือแบงแถบอิงอุณหภูมิจากภาคใตถึงภาคเหนือเปน แถบเสนศูนยสูตร รอนชื้น กึ่งรอนชื้น อบอุน และแถบหนาวเย็น
และแบงแถบอิงความแหง - ชื้น จากตะวันออกเฉียงใต ถึงตะวันตกเฉียงเหนือเปนแถบความชื้นสูง

2.4 การเมืองการปกครองของจีน

ประเทศจีนมีการปกครองเปนลัทธิสังคมนิยมในลักษณะของตนเอง มีพรรคคอมมิวนิสตจีนเปนผูกําหนดนโยบายตางๆ ปจจุบันมีนายหูจิ่นเทาเปน


ประธานาธิบดี เลขาธิการพรรค และประธานคณะกรรมาธิการทหารสวนกลาง และมีนายเวิน เจียเปาเปนนายกรัฐมนตรี

2-3
การแบงเขตการปกครอง
เขตการปกครองของจีนนั้น ตามรัฐธรรมนูญของจีน มีอยูดวยกัน 3 ระดับ ไดแก
มณฑล อําเภอ และ ตําบล แตในปจจุบันไดเพิ่มมาอีก 2 ระดับ คือ จังหวัด และ หมูบาน ซึ่ง
ถานํามาเรียงใหมจะไดเปน มณฑล จังหวัด อําเภอ ตําบล และ หมูบาน
สาธารณรัฐประชาชนจีนมีอํานาจการปกครองเหนือ 22 มณฑล และรัฐบาลจีนยัง
ถือไตหวัน/ไถวานเปนมณฑลที่ 23 รัฐบาลจีนยังอางสิทธิเหนือเกาะตาง ๆ ในทะเลจีนใต
ดวย นอกจากมณฑลแลวยังมีเขตปกครองตนเอง 5 แหงซึ่งมีชนกลุมนอยอาศัยอยูมาก
เทศบาลนคร 4 แหงสําหรับเมืองที่ใหญที่สุดในจีน และเขตบริหารพิเศษ (Special
Administrative Regions, SARs) ที่จีนเขาไปปกครอง โดยการแบงพื้นที่การปกครองเปน
ดังนี้

ระดับมณฑล
รูปที่ 2.3 การแบงเขตการปกครองของสาธารณรัฐประชาชนจีน
สาธารณรัฐประชาชนจีนมีเขตการปกครองระดับมณฑล ซึ่งประกอบไป
ที่มา : http://th.wikipedia.org
ดวย 22 มณฑล 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร และ 2 เขตบริหารพิเศษ

2-4
มณฑล
สาธารณรัฐประชาชนจีนประกอบดวย 22 มณฑล แตถารวมไตหวันไปดวย จะเปน 23 มณฑล
ชื่อ จีนตัวเต็ม จีนตัวยอ พินอิน ยอ เมืองหลวง พื้นที่ (km²) ประชากร (2547)
กวางตุง 廣東 广东 Guǎngdōng 粤 yuè กวางโจว 177,900 83,040,000
กุยโจว 貴州 贵州 Gùizhōu 黔 qián หรือ 贵 gùi กุยหยาง 176,100 39,040,000
กานซู 甘肅 甘肃 Gānsù 甘 gān หรือ 陇 lǒng หลานโจว 454,000 26,190,000
จี๋หลิน 吉林 吉林 Jí lí n 吉 jí ฉางชุน 187,400 27,090,000
เจียงซู 江蘇 江苏 Jiāngsū 苏 sū หนานจิง (นานกิง) 102,600 74,330,000
เจียงซี 江西 江西 Jiāngxī 赣 gà n หนานฉาง 166,900 42,840,000
เจอเจียง 浙江 浙江 Zhè jiāng 浙 zhè หังโจว 101,800 47,200,000
ฉานซี 陝西 陕西 Shǎnxī 陕 shǎn หรือ 秦 qí n ซีอาน 205,800 37,050,000
ชานซี 山西 山西 Shānxī 晋 jì n ไทหยวน 156,800 33,350,000
ชานตง 山東 山东 Shāndōng 鲁 lǔ จี่หนาน 156,700 91,800,000
ชิงไห 青海 青海 Qīnghǎi 青 qīng ซีหนิง 721,000 5,390,000
ซื่อชวน (เสฉวน) 四川 四川 Sì chuān 川 chuān หรือ 蜀 shǔ เฉิงตู (เฉินตู) 485,000 87,250,000
ฝูเจี้ยน (ฮกเกี้ยน) 福建 福建 Fújià n 闽 mǐn ฝูโจว 121,400 35,110,000
หยุนหนาน (ยูนนาน) 雲南 云南 Yúnnán 滇 diān หรือ 云 yún คุนหมิง 394,100 44,150,000
หูเปย 湖北 湖北 Húběi 鄂è หวูฮั่น 185,900 60,160,000
หูหนาน 湖南 湖南 Húnán 湘 xiāng ฉางชา 211,800 66,980,000

2-5
เหอเปย 河北 河北 Hé běi 冀 jì ฉือเจียจวง 187,700 68,090,000
เหอหนาน 河南 河南 Hé nán 豫 yù เจิ้งโจว 167,000 97,170,000
เหลียวหนิง 遼寧 辽宁 Liáoní ng 辽 liáo เฉิ่นหยาง 145,900 42,170,000
ไหหนาน (ไหหลํา) 海南 海南 Hǎinán 琼 qióng ไหโขว 33,920 8,180,000
อานฮุย 安徽 安徽 Ānhuī 皖 wǎn เหอเฝย 139,400 64,610,000
เฮยหลงเจียง 黑龍江 黑龙江 Hēilóngjiāng 黑 hēi ฮารบิน 460,000 38,170,000
ตารางที่ 2.1 มณฑลของจีน
ที่มา : http://th.wikipedia.org

เทศบาลนคร
เทศบาล ของจีนคือเมืองที่มีขนาดใหญ และมีการปกครองเทียบเทามณฑล ในปจจุบันมีดวยกันทั้งหมด 4 เมือง
ชื่อ จีนตัวเต็ม จีนตัวยอ พินอิน ยอ พื้นที่ (km²) ประชากร
เปยจิง (ปกกิ่ง) 北京 北京 Běijīng 京 จิง 16,808 14,930,000 (2547)

ฉงชิ่ง (จุงกิง) 重慶 重庆 Chóngqì ng 渝 หยู 82,300 31,442,300 (2548)

ชางไห (เซี่ยงไฮ) 上海 上海 Shà nghǎi 沪 ฮู 6,340.5 18,670,000 (2547)

เทียนจิน (เทียนสิน) 天津 天津 Tiānjīn 津 จิน 11,920 10,240,000 (2547)


ตารางที่ 2.3 เทศบาลนครของจีน
ที่มา : http://th.wikipedia.org

2-6
เมืองใหญ
ดูรายชื่อทั้งหมดที่รายชื่อเมืองในจีนเรียงตามจํานวนประชากร อันดับเมืองขนาดใหญ 20 เมืองแรก จัดอันดับตามจํานวนประชากร
อันดับ เมือง มณฑล ประชากร อันดับ เมือง มณฑล ประชากร
1 เซี่ยงไฮ - 14,530,000 11 เฉิงตู เสฉวน 3,750,000
2 ปกกิ่ง - 10,300,000 12 ฉงชิ่ง - 3,270,000
3 เซินเจิ้น กวางตุง 11,820,000 13 ชิงเตา ซานตง 3,200,000
4 กวางโจว กวางตุง 7,050,000 14 ถางซาน เหอเปย 3,200,000
5 ฮองกง - 6,840,000 15 นานกิง เจียงซู 3,110,000
6 ตงกวาง กวางตุง 6,450,000 16 ซีโบ ซานตง 2,900,000
7 เทียนจิน - 5,190,000 17 ฝูโจว ฝูเจี้ยน 2,600,000
8 อูฮั่น หูเปย 1,105,289 18 ฉางซา หูหนาน 2,520,000
9 ฮารบิน เฮยหลงเจียง 4,754,753 19 หนานชาง เจียงซี 2,440,000
10 เฉิ่นหยาง เหลียวหนิง 4,420,000 20 อูซี เจียงซู 2,400,000
ขอมูลป 2550
ตารางที่ 2.4 เมืองใหญของจีน
ที่มา : http://th.wikipedia.org

2-7
2.5 ประชากร และ ชนเผา
ชนเผาที่มีจํานวนมากที่สุดในประเทศจีนคือ ชนเผาฮั่น 92 % ของ
ประชากรทั้งหมด อื่นๆอีก 55 ชนเผา 8 % ของประชากรทั้งหมด เชน

ที่ ชนเผา ประชากร เขตปกครอง


1. จวง 16 ลานคน เขตปกครองตนเองกวางสีจวง ฯลฯ
2. แมนจู 10 ลาน
3. หุย 9 ลาน เขตปกครองตนเองหุยหนิงเซี่ย ฯลฯ
4. มง 8 ลาน มณฑลกุยโจว มณฑลยูนนาน ฯลฯ
5. อุยกูร 7 ลาน เขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร ฯลฯ
6. อี๋ 7 ลาน มณฑลยูนนาน ฯลฯ
7. ตูเจีย 5.75 ลาน
8. มองโกล 5 ลาน เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน ฯลฯ
9. ทิเบต 5 ลาน เขตปกครองตนเองทิเบต ฯลฯ
10. ปูยี 3 ลาน มณฑลกุยโจว ฯลฯ
11. เกาหลี 2 ลาน

รูปที่ 2.4 แผนที่แสดงชนเผาของประเทศจีน สีน้ําตาลคือชนเผาฮัน่


และสีอื่นคือชนกลุมนอยที่อาศัยอยูในประเทศจีน
ที่มา : http://th.wikipedia.org

2-8
2.6 เศรษฐกิจ

ในชวงหลายปที่ผานมาเศรษฐกิจจีนมีการขยายตัวอยางตอเนื่องและรวดเร็ว
มากภายใตนโยบายการปฏิรูปและการเปดประเทศที่ดําเนินมาตั้งแตป พ.ศ. 2521 โดย
ในปจจุบันจีนเปนประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญเปนอันดับที่ 4 ของโลก เปนรองแต
สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน และเยอรมนี รัฐบาลจีนมีเปาหมายที่จะเนนผลผลิตทาง
การเกษตรใหพอเพียงสําหรับการบริโภคภายในประเทศ ในขณะเดียวกัน ก็จะเนนการ
พัฒนาดานเทคโนโลยีระดับสูงดวย ในขณะที่จีนเพิ่งเขาเปนสมาชิกขององคการการคา
โลก (WTO) ไดเพียง 5 ป ในป 2549 จีนไดมีอัตราเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจจากรอย
ละ 9.9 ในป 2548 เปนรอยละ 10.7 สูงถึง 20.94 ลานลานลานหยวน หรือ 2.68 ลาน
ลานลานดอลลาร สูงที่สุดในรอบ 11 ป รูปที่ 2.5 อัตราการเจริญการเติบโตของเศรษฐกิจจีน
โดยธนาคารโลกประเทศจีน
เศรษฐกิจจีนโดยเฉพาะอยางยิ่งในภาคอสังหาริมทรัพยและอุตสาหกรรม
ที่มา : http://th.wikipedia.org
เหล็กและซีเมนตทําใหรัฐบาลจีนออกมาตรการตางๆ เพื่อชะลอการขยายตัวของ
เศรษฐกิจ ซึ่งปริมาณการขนถายสินคาและตูคอนเทนเนอรในทาเรือจีนนั้นสูงเปน
อันดับหนึ่งของโลกมา 4 ปแลว จีนมีคูคาสําคัญไดแก สหรัฐฯ ญี่ปุน เกาหลีใต และเยอรมนี
เงินตราสกุลเงินของจีนนั้นเรียกวา “เหรินหมินป” (人民币)โดยมีหนวยเรียกเปน “หยวน” (元)
1 ดอลลารสหรัฐ เทากับ 7.70 หยวน (2550)
1 ยูโร เทากับ 10.46 หยวน (2550)

2-9
1 หยวน เทากับ 4.53 บาท (2550)
รายไดเฉลี่ยตอหัวตอป 1,700 ดอลลารสหรัฐ (ป 2550) (ป 2546 เปนปแรกที่สูงเกิน 1,000
ดอลลารสหรัฐ)
GDP ประมาณ 3,307,000 ลานดอลลารสหรัฐ (ป 2550) ถือวาเศรษฐกิจของจีนมีขนาดใหญ
เปนอันดับที่ 4 ของโลก (รองจากสหรัฐอเมริกา ญี่ปุน และ เยอรมนี)
ทุนสํารองเงินตราระหวางประเทศ 1.533 ลานลานดอลลารสหรัฐ (ม.ค.ป 2551)
อัตราเงินเฟอ รอยละ 4.07 (ป 2551)
การคาระหวาง ไทยกับจีน
เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2546 ไดมีการลงนามความตกลงเรงลดภาษีสินคาผักและผลไมระหวาง
ไทย -จีน ซึ่งชวยลดอุปสรรคดานภาษีในการคาสินคาผักและผลไม (สินคาพิกัดภาษี 07 08) ทั้งประเทศ
ไทย และ จีน มีความพรอมในการลดภาษีอยูแลว ซึ่งไดมีผลยกเวนภาษีสําหรับสินคา 116 รายการ ใน
พิกัดภาษี 07 08 ตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2546
การคาไทย และ จีน ในป 2548 มีมูลคา 20,343.2 ลานดอลลารสหรัฐ เพิ่มขึ้นรอยละ 33.31
ประเทศไทยสงออก 9,183.4 ลานดอลลารสหรัฐและนําเขา 11,159.8 ลานดอลลารสหรัฐ
การคาไทย และ จีน ในป 2549 มีมูลคา 25,154.6 ลานดอลลารสหรัฐ เพิ่มขึ้นรอยละ 23.75 ประเทศไทย
สงออก 11,708.9 ลานดอลลารสหรัฐ และนําเขา 13,445.7 ลานดอลลารสหรัฐ

รูปที่ 2.6 อัตราการเจริญการเติบโตของเศรษฐกิจจีนที่มา :


เวบไซด http://www.flickr.com

2-10
สินคาที่ทางการจีนนําเขาจากไทยที่สําคัญมากที่สุดคือ สายอากาศและเครื่อง
สะทอนสัญญาณทางอากาศ พลาสติก มันสําปะหลัง คอมพิวเตอรและสวนประกอบ ไดโอด
ทรานซิสเตอรและอุปกรณกึ่งตัวนํา แผงวงจรไฟฟา ไมที่เลื่อยแลว สวนสินคาที่จีนสงออกมา
ไทยที่สําคัญ ผลิตภัณฑเหล็กกึ่งสําเร็จรูป ผลิตภัณฑแผนเหล็กรีดรอน เครื่องอุปกรณไฟฟา
สําหรับโทรศัพทหรือโทรเลขแบบใชสาย เงิน ตะกั่ว
การลงทุนของไทยในจีนเมื่อป 2548 ไทยลงทุนในจีนรวม 95.90 ลานดอลลารสหรัฐ
โดยลงทุนในอุตสาหกรรมอาหารสัตว ธัญพืช ฟารมสัตว มอเตอรไซค โรงแรม รานอาหาร การ
นวดแผนไทย สวนการลงทุนของจีนในไทยในปเดียวกัน จีนลงทุนในไทยรวม 2,286 ลาน
ดอลลารสหรัฐ โดยลงทุนในกิจการอุตสาหกรรมเบา อุตสาหกรรมเคมีภัณฑ กระดาษ และ
พลาสติก และอุตสาหกรรมโลหะพื้นฐานการลงทุนที่จีนไดรับอนุมัติจากรัฐบาลจีนมีจํานวน
ทั้งสิ้น 15 โครงการ ประกอบดวยกิจการกอสราง การคา ธนาคาร การแปรรูปโลหะ การ
ทองเที่ยว อสังหาริมทรัพย สายการบิน เครื่องจักร รานอาหาร และชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส

2.7 การพัฒนาอุตสาหกรรมของจีน

เนื่องจากประเทศจีนไดเริ่มพัฒนาตามแบบฉบับอุตสาหกรรมใหม (ปฏิวัติ
อุตสาหกรรมครั้งที่ 1) ประมาณรอยกวาปที่แลว ในชวงเวลาใกลเคียงกับประเทศญี่ปุนและ
ประเทศไทย และเกิดการชะงักงันเปนเวลาหลายสิบปจวบจนกลางศตวรรษที่ 20 และ รูปที่ 2.7 บรรยากาศภายในเมืองปกกิ่งของจีน
เกือบหยุดสนิทประมาณ 30 ป เสร็จแลวใชเวลาอีก 20 ป ในการพัฒนาแบบกาวกระโดด ที่มา : จากการศึกษาภาคสนาม

2-11
จนกระทั่งเปนผูนําในอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีในหลายๆ ดานของโลกนักวิชาการจีนดังกลาวมี
ความเห็นวา ที่จีนสามารถพัฒนาจนเปนเชนนี้ เกิดจากกระแสความคิด 2 กระแส
กระแสแรก จีนไดวางพื้นฐานอุตสาหกรรมหนักไวตั้งแตตนและไมเคยละทิ้ง เชน
อุตสาหกรรมเหล็ก เครื่องจักรกล เคมี จึงกลายเปนพื้นฐานรองรับและประกันการพัฒนา
กระแสที่สอง ในชวงที่จีนเปดประเทศใหมๆ วาดวยแนวทางที่จะนําเขาเทคโนโลยี
สมัยใหม มีกลุมหนึ่งเห็นคลอยตามคําแนะนําของประเทศที่พัฒนาแลวสมัยนั้นวา ควรที่จะพัฒนา
ตามขั้นตอน เนื่องจากเทคโนโลยีจีนขณะนั้นลาหลังอยูมาก จึงเลือกนําเขาเทคโนโลยีและ
ผลิตภัณฑที่อยูในระดับกอนหนาสมัยนั้น 5-10 ป
ถึงแมเทคโนโลยีที่จีนใชในขณะนั้นจะลาหลังในสากลโลก แตถือวาทันสมัยมากสําหรับ
จีน ในการผลิตและจําหนายในตลาดของจีน ซึ่งรับความนิยมสูงมาก เชน รถยนต จักรยานยนต
เครื่องใชไฟฟาในครัวเรือน ขณะเดียวกัน ก็มีอีกกลุมหนึ่งที่เห็นวา พื้นฐานทางวิชาการและ
เทคโนโลยีจีนพรอมอยูแลว จึงเลือกที่จะกาวกระโดดโดยซื้อเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สุด ณ ขณะนั้น
เชน ในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพ,เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและการสื่อสาร,
เทคโนโลยีอวกาศ,อุตสาหกรรมเหล็ก ผลและสภาพของการพัฒนาเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม
ของจีนที่เราไดเห็นทุกวันนี้ นักวิชาการจีนสวนใหญมองวาเปนผลเกิดจากการปูพื้นฐานทาง
วิชาการและการพัฒนาอุตสาหกรรมหนักตั้งแตสมัยแรก กลายเปนหลักประกันสนับสนุนให
อุตสาหกรรมตางๆ ทั้งอุตสาหกรรมเบา เครื่องใชไฟฟา ยานยนต ใหพัฒนาอยูบนขาของตนเอง ไม
วาจะเปนวัตถุดิบ เชน เหล็กและโลหะอื่นๆ พลาสติก และเคมี ที่เปนพื้นฐานนําไปแปรรูปตอจนจีน รูปที่ 2.8 กิจกรรมของผูค นในพื้นที่วางสาธารณะนครปกกิง่
สามารถพึ่งพาตนเองไดในระดับสูงดังที่เปนอยู และเปนพื้นฐานในการพัฒนาเทคโนโลยีและ ที่มา : http://travel.nationalgeographic.com

2-12
สิทธิบัตรตราสินคาของตนเอง
ปจจุบันสาธารณรัฐประชาชนจีนเปนกองทัพที่ใหญที่สุดในโลกซึ่งอาวุธที่มีนั้นสวนใหญจะมา
จากประเทศรัสเซีย จีนเพิ่มกําลังทางทหารสูงเปนอันดับ 1 ของเอเชียและอันดับที่ 4 ของโลก ประเทศที่
ศักยภาพอยางจีนไดพยายามที่จะพัฒนาตนเองไปสูประเทศมหาอํานาจ โดยการเรงพัฒนาหลาย ๆ
ดาน และที่ขาดไมไดนั่นคือ การพัฒนาใหกองทัพมีศักยในการดําเนินสงครามโดยการปรับปรุงให
กองทัพใหมีความทันสมัยในชวง 10 ป แรกนั้น ภัยคุกคามหลักของจีนนั้น มุงไปที่สหภาพโซ
เวียต ในขณะที่ปญหาไตหวันยังเปนเรื่องที่มีความสําคัญในระดับต่ํา ตอมาในชวง พ.ศ. 2538-2539
(ค.ศ. 1995- 1996) ปญหาเกิดขึ้นบริเวณเกาะไตหวัน เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงภายใน ทําใหทิศทาง
ของการพัฒนากองทัพมุงไปสูการรองรับภัยคุกคามที่เกิดจากการพยายามแยกตัวของไตหวันตั้งแต พ.ศ.
2542 (ค.ศ. 1999) เปนตนมา กองกําลังทางบกไดรับอาวุธและยุทโธปกรณพิเศษที่ใหม และหลากหลาย
ที่จีนผลิตเองเขาประจําการ เชน รถถังหลัก รถถังสะเทินน้ําสะเทินก รถสายพานลําเลียงพล ปนใหญ
อัตตาจร อาวุธนําวิถีพื้นสูอากาศ ระบบปองกันภัยทางอากาศ คอมพิวเตอร ระบบสื่อสารผานดาวเทียม
อุปกรณสื่อสารอื่นๆ กลองมองกลางคืน อากาศยานไรคนขับ (UAV) ฯลฯ

2.8 นโยบายทางชนชาติของจีน

จีนเปนประเทศเอกภาพที่มีหลายชนชาติ รัฐบาลจีนดําเนินนโยบายทางชนชาติที่ให ชนชาติ


ตาง ๆ มีความเสมอภาค สมานสามัคคีและชวยเหลือซึ่งกันและกัน เคารพและคุมครองสิทธิเสรีภาพใน
รูปที่ 2.9 กําแพงเมืองจีน(บน)และพระราชวังฤดูรอน
ที่มา : http://travel.nationalgeographic.com
การนับถือศาสนาและขนบธรรมเนียมของชนชาติสวนนอยระบบปกครองตนเองในเขตชนชาติสวนนอย
เปนระบบการเมืองอันสําคัญอยางหนึ่งของจีน คือ ใหทองที่ที่มีชนชาติสวนนอยตาง ๆ อยูรวม ๆ กันใช

2-13
ระบบปกครองตนเอง ตั้งองคกรปกครองตนเองและใชสิทธิอํานาจปกครองตนเอง ภายใตการนําที่
เปนเอกภาพ ของรัฐ รัฐประกันใหทองที่ที่ปกครองตนเองปฏิบัติตามกฎหมายและนโยบ ายของรัฐ
ตามสภาพที่เปนจริงในทองถิ่นของตน ฝกอบรมเจาหนาที่ระดับตาง ๆ บุคลากรทางวิชาการและ
กรรมกรทางเทคนิคชนิดตาง ๆ ของชนชาติสวนนอยเปนจํานวนมาก ประชาชน ชนชาติตาง ๆ ใน
ทองที่ที่ปกครองตนเองกับประชาชนทั่วประเทศรวมศูนยกําลังดําเนิน การสรางสรรคสังคมนิยมที่
ทันสมัย เรงพัฒนาเศรษฐกิจและวัฒนธรรมในทองที่ที่ปกครองตนเองใหเร็วขึ้นและสรางสรรค
ทองที่ที่ปกครองตนเองของชนชาติสวนนอยที่สมานสามัคคีกันและเจริญรุงเรือง ภายใตการนํา
ของพรรคคอมมิวนิสตจีน
ระหวางการปฏิบัติเปนเวลาหลายสิบป พรรคคอมมิวนิสตจีนซึ่งเปนพรรครัฐบาล ของจีน
ได กอ รูป ขึ้น ซึ่ง ทรรศนะและนโยบายพื้ นฐานเกี่ ยวกับ ปญ หาทางชนชาติ หลายประการที่สําคั ญ
ไดแกการกําเนิด การพัฒนาและการสูญสลายของชนชาตินั้นเปนกระบวนการทาง ประวัติศาสตร
อัน ยาวนาน ปญ หาชนชาติ จะดํ ารงอยู เปน เวลานานระยะสั งคมนิย มเปนระยะที่ช นชาติต าง ๆ
รวมกันพัฒนาและเจริญรุงเรือง ปจจัย รวมกันระหวางชนชาติตาง ๆ จะเพิ่มมากขึ้น อยางตอเนื่อง
แตลักษณะพิเศษและขอ แตกตางระหวางชนชาติตาง ๆ จะดํารงอยูตอไป
ปญ หาชนชาติ เป นสวนหนึ่ง ของป ญหาทั่ วสั งคม มีแ ตแ กป ญหาทั่ วสัง คมให ลุลวง ไป
เทานั้น ปญหาทางชนชาติจึงจะไดรับการแกไขอยางมีขั้นตอน มีแตในภารกิจรวมกัน ที่สรางสรรค
รูปที่ 2.11 กิจกรรมภายในบริเวณพระราชวังตองหาม
ที่มา : http://worawutk.multiply.com/ สังคมนิยมเทานั้น ปญหาทางชนชาติของจีนในปจจุบันจึงจะไดรับการ แกไขอยางมีขั้นตอนได

2-14
2.9 ดานการเมือง

ทางการไทยไดสถาปนาความสัมพันธทางการทูตกับสาธารณรัฐประชาชนจีนอยางเปนทางการ เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.


2518 ซึ่งความสัมพันธของทั้ง 2 ประเทศดําเนินมาดวยความราบรื่นบนพื้นฐานของความเสมอภาค เคารพซึ่งกันและกัน ไม
แทรกแซงกิจการภายในซึ่งกันและกัน และอยูภายใตหลักการของผลประโยชนรวมกันเพื่อธํารงไวซึ่งความมั่นคง สันติภาพ และ
เสถียรภาพของภูมิภาค ความรวมมือกันของทั้ง 2 ไดดําเนินมาอยางใกลชิดมาโดยตลอด แตเมื่อสิ้นสุดสงครามเย็นเมื่อจีนสามารถ
ไดสถาปนาความสัมพันธกับอาเซียนทุกประเทศแลว ความสําคัญของประเทศไทยตอจีนในทางยุทธศาสตรไดลดลงไปจากเดิม
ความสัมพันธในปจจุบันจึงไดเนนดานการคาและเศรษฐกิจบนพื้นฐานของผลประโยชนตางตอบแทนเปนหลัก
ไทยและจีนไมมีปญหาหรือขอขัดแยงใดๆ ที่ตกทอดมาจากประวัติศาสตร การไปมาหาสูของผูนําระดับสูงสุดก็ไดเปนไป
อยางดียิ่ง โดยเฉพาะการเสด็จฯ เยือนจีนอยางเปนทางการของสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ เมื่อเดือน ตุลาคม ป 2543
การเสด็จฯ เยือนจีนของพระบรมวงศานุวงศไทยมีสวนสําคัญอยางยิ่งตอการเสริมสรางและกระชับความสัมพันธและความรวมมือ
ระหวางสองประเทศใหแนนแฟนยิ่งขึ้น รวมทั้งการสงเสริมมิตรภาพและความเขาใจระหวางประชาชนของสองประเทศอีกดวย
ปจจุบันความสัมพันธไทย - จีน มีความใกลชิดกันมากขึ้นในทุกดาน ทั้งกรอบทวิภาคี พหุภาคี และเวทีภูมิภาค เชน การ
ประชุมอาเซียนและจีน อาเซียน + 3 ARF ASEM เปนตน ในการเยือนจีนเมื่อเดือนสิงหาคม 2544 ทางไทยและจีนตางเห็นพองที่จะ
มุงพัฒนาความสัมพันธและขอบขายความรวมมือระหวางกันใหกวางขวางยิ่งขึ้นในลักษณะของความเปนหุนสวนทางยุทธศาสตร
การเยือนจีนของนายกรัฐมนตรีประสบความสําเร็จหลายดาน เชน ความรวมมือดานยาเสพติด ดานการเงิน การคลัง พาณิชยนาวี
รูปที่ 2.12 ประชาชนโบกธง
รวมทั้งไดลงนามความรวมมือดานวัฒนธรรมระหวางไทย - จีน และบันทึกความเขาใจวาดวยการจัดตั้งสภาธุรกิจไทย - จีนเมื่อป
ชาติจีน(บน)และประธานเหมา
2548 ซึ่งเปนปครบรอบ 30 ปของการสถาปนาความสัมพันธทางการทูตอยางเปนทางการระหวางไทยและจีน ทั้งสองประเทศจะมี
เจอตุง(ลาง)
การจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองรวมกันเปนจํานวนมาก เพื่อแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธที่แนบแนนและใกลชิดกันเปนพิเศษระหวางทั้ง
ที่มา : http://www.flickr.com
สองประเทศ อาทิ การแลกเปลี่ยนการเยือนในระดับผูนํา โดยนายกรัฐมนตรีไทย พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ไดเดินทางเยือนจีน อยาง

2-15
เปนทางการเมื่อเดือนกรกฎาคม 2548 เพื่อรวมฉลองในกิจกรรมตางๆ ที่รัฐบาลไทย และ
รัฐบาลจีนรวมกันจัดขึ้นที่ประเทศจีน การจัดกิจกรรมฉลองรวม การจัดทําหนังสือที่ระลึก
การจัดงานสายสัมพันธสองแผนดิน และการแลกเปลี่ยน

2.10 การคมนาคมขนสง

สถิติจากกระทรวงคมนาคมของจีนระบุวา ในรอบป 2007 ทั่วประเทศจีนไดสราง


ทางดวนรวมระยะทางประมาณ 8300 กิโลเมตร นับเปนรอบปที่สรางทางดวนยาวที่สุดใน
ประวัติศาสตรจีน จนถึงปลายป 2007 จีนมีทางหลวงทั้งหมด 3,573,000 กิโลเมตร รวมทั้ง
ทางดวนสูงถึง 53,600 กิโลเมตร ปจจุบัน จีนมี 21 มณฑล เขตปกครองตนเอง และเมืองที่
ขึ้นตรงตอรัฐบาลกลางที่มีระยะทางทางดวนกวาแหงละ 1000 กิโลเมตรแลว มณฑลซันตง
และมณฑลเหอหนันตางมีสูงกวา 4000 กิโลเมตร
เครือขายทางดวนที่ครอบคลุมทุกหนทุกแหงของจีน ไดอํานวยความสะดวกในการ
เดินทางของประชาชนอยางแทจริง เมื่อปลายป 2007 เครือขายทางหลวงสายหลักซึ่งมี
ระยะทางเกือบ 35,000 กิโลเมตรไดสรางเสร็จสมบูรณกอนกําหนดตั้ง 13 ป นับเปน
เครือขายที่มีทางหลวงสายหลักทั้งเหนือ-ใตและตะวันออก-ตะวันตกที่เชื่อมตอกันเครือขาย
แรกของจีน ทุกวันนี้ ถาชาวจีนเดินทางดวยการขับรถ จะมีทางหลวงกวางขับรถไดสะดวก
รองรับนักเดินทางจากจุดเหนือไปสูจุดใตสุด และจากจุดตะวันออกไปสูจุดตะวันตกสุดของ
รูปที่ 2.13 พระราชวังตองหามและกิจกรรมบริเวณพระราชวังฤดูรอน จีน
ที่มา : จากการศึกษาภาคสนาม

2-16
ตั้งแตป 2003 ปตนมา จีนเริ่มงานกอสรางทางหลวงในเขตชนบทขนานใหญ ใน
รอบป 2007 รัฐบาลไดตัดถนนและซอมแซมทางหลวงในเขตชนบททั่วประเทศกวา
423,000 กิโลเมตร ในเขตชนบทของกรุงปกกิ่ง นครเซี่ยงไฮ เมืองเทียนสิน มณฑลเจียงซู
และเหอหนัน ตางมีถนนคอนกรีตเชื่อมตอกัน จนถึงป 2007 เขตชนบทของทั้งหมดของ
จีน 98.54% มีทางหลวงใชแลว สวนหมูบานชนบทที่ทางหลวงเขาถึงไดคิดเปน 88.15%
ของหมูบานชนบทของจีน
การพัฒนาการคมนาคมทางน้ําของจีนก็ไดรับผลสําเร็จ รอบป 2007 โครงการ
กอสรางเมืองทาขนสงน้ํามันและถานหิน และชองทางเดินเรือน้ําลึกทยอยกันสรางแลว
เสร็จ เชน นครเซี่ยงไฮไดตอเติมเมืองทาน้ําลึกของศูนยการขนสงทางเรือนานาชาติ เมือง
ฉินหวงเตาไดขยายทาเรือขนสงถานหินเพิ่มเติม เมืองหยิงโขวสิ้นสุดโครงการสราง
ชองทางเดินเรือน้ําลึกที่รองรับเรือบรรทุกขนาด 150,000 ตัน ตลอตจนการตอเติม
ชองทางเดินเรือน้ําลึกบริเวณปากแมน้ําแยงซีเกียงที่สําเร็จลุลวงไป เปนตน พรอมกันนั้น
โครงการสรางชองทางเดินเรือสายทองในแมน้ําแยงซีเกียงไดดําเนินการอยางราบรื่นกอน
แผนกําหนดลวงหนา โครงการการขยายคลองขุดจิงหัง ซึ่งเปนคลองขุดสําหรับการขนสง
ที่ยาวที่สุดของจีน เชื่อมตอระหวางกรุงปกกิ่งกับเมืองหังโจวก็ไดคืบหนาไปอยางรวดเร็ว
สถิติจากกระทรวงคมนาคมของจีนแสดงวา รอบป 2007 บรรดาเมืองทาของจีน
ไดสรางที่จอดเรือทั้งหมด 300 ที่ ในจํานวนนี้ มีที่จอดรองรับเรือใหญขนาด 10,000 ตัน
ทั้งหมด 200 ที่ ทําใหยอดปริมาณสินคาเขาออก(สมรรถนะการขนสงทางเรือ)ของทาเรือ
ในจีนเพิ่มขึ้น 537 ลานตัน กอนสิ้นป 2007 เมืองทาทั้งหลายของจีนมีที่จอดเรือ
รูปที่ 2.14 การคมนาคมในใจกลางเมืองปกกิ่ง
ที่มา : จากการศึกษาภาคสนาม
2-17
35,753 ที่ เฉพาะที่รองรับเรือขนาด 10,000 ตันก็มี 1403 ที่ ชองทางเดินเรือทั้งหมดของแมน้ําภายใน
จีนมีความยาวรวม 123,000 กิโลเมตร การพัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกขั้นพื้นฐานทางดานการขนสง
ทางเรือไดปูพื้นฐานมั่นคงตอการพัฒนาการคมนาคมทางน้ํา ทําใหยอดปริมาณสินคาเขาออกของจีน
มากเปนอันดับหนึ่งของโลกอยางตอเนื่องมาเปนเวลา 4 ปแลว
การพัฒนาการคมนาคมทางบกและทางน้ําอยางรวดเร็ว การคมนาคมทางอากาศของจีนก็มี
การเปลี่ยนแปลงใหญหลวง ทุกวันนี้การโดยสารเครื่องบินเดินทางกลายเปนเรื่องรรมดาสําหรับชาวบาน
ทั่วไปในจีน กิจการการบินพลเรือนถือเปนสวนประกอบสําคัญของเศรษฐกิจประชาชาติของจีน จํานวน
ผูโดยสารเครื่องบินและปริมาณสินคาขนสงทางเครื่องบินของการบินพลเรือนของจีนสูงเปนอันดับที่ 2
ของโลก สถิติจากสํานักงานใหญการบินพลเรือนของจีนระบุวา จนถึงปลายป 2007 บริษัทสายการบินที่
สังกัดการบินพลเรือนของจีนมีเครื่องบินขนสง 1,146 ลํา และเครื่องบินโดยสารกวา 800 ลํา ปหลังๆนี้
ปริมาณการขนสงของการบินพลเรือนจีนเพิ่มขึ้นปละ 20% ในรอบป 2007 การบินพลเรือนของจีน
ใหบริการแกผูโดยสารเกือบ 200,000,000 คนครั้ง การนั่งเครื่องบินเดินทางนับวันเปนวิธีการเดินทาง
ยอดที่นิยมของประชาชนทั่วไป
ปจจุบัน เครื่องบินโดยสารที่ผูโดยสารของจีนและตางชาติใชบริการในประเทศจีนลวนเปน
เครื่องบิน Boeing และเครื่องบิน Airbus ที่ทันสมัยและปลอดภัย การบินพลเรือนของจีนจะพยายาม
สั่งซื้อเครื่องบินทันสมัยใหมากขึ้น พรอมพัฒนาขีดความสามารถในการบํารุงซอมแซมเครื่องบินให
สูงขึ้น ขณะนี้ โรงงานบํารุงซอมแซมเครื่องบินในกรุงปกกิ่ง นครเซี่ยงไฮ เมืองเฉิงตู เมืองกวางโจวและ
เมืองเซี่ยเหมินตางสามารถซอมแซมเครื่องบินขนาดใหญไดแลว

รูปที่ 2.15 การคมนาคมในใจกลางเมืองปกกิ่ง


ที่มา : จากการศึกษาภาคสนาม
2-18
ในป 2008 สํานักงานใหญการบินพลเรือนของจีนไดเปดเสนทางการบินรวม 1,400 สาย
แลว เครือขายเสนทางการบินที่เชื่อมโยงเมืองตางๆของจีนและเมืองตางๆของโลกอํานวยความ
สะดวกแกทั้งชาวจีนและชาวตางชาติอยางมาก ทําใหโลกแคบลงได ปจจุบัน จํานวนชาวจีนใน
เมืองที่มีเปดสายการบินคิดเปน 61% ของประชากรทั่วประเทศ สวน GDP ในเมืองดังกลาวคิด
เปน 82% ของ GDP ทั่วประเทศจีน
หลังจากกอสรางเปนเวลา 3 ป อาคารผูโดยสาร T3 ของทาอากาศยานกรุงปกกิ่งเปดใช
งานเปนทางการตั้งแตวันที่ 29 กุมภาพันธ ป 2008 การรองรับเครื่องบินลงจอดและบินออกของ
อาคารผูโดยสารใหญที่สุดของสนามบินทั่วโลก เปนสัญลักษณแสดงใหเห็นวา ความสามารถใน
การสรางสนามบินพลเรือนที่ทันสมัยของจีนไดพัฒนาอยูระดับแนวหนาของโลกแลว

รูปที่ 2.16 อาคารสิ่งกอสรางในนครปกกิ่ง


ทีมา : จากการศึกษาภาคสนาม

2-19
2.11 แผนพัฒนาประเทศจีน

ภายหลังที่เศรษฐกิจจีนหยุดชะงักเปนเวลายาวนานถึง 10 ป ในชวงการปฏิวัติวัฒนธรรม
(ค.ศ. 1966-1976) ผูนําจีนภายใตการนําของเติ้ง เสี่ยวผิง ไดเริ่มปฏิรูปเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม
จีนใหมภายใตนโยบายการพัฒนา "สี่ทันสมัย"”คือ เนนการพัฒนาดานการเกษตร อุตสาหกรรม
การทหาร และวิทยาศาสตรเทคโนโลยี ใหสําเร็จภายในป ค.ศ. 20002 นโยบาย “เปดประเทศ”
ตอนรับเงินทุน เทคโนโลยีจากตางประเทศไดรับผลดี และเศรษฐกิจของจีนเติบโตรวดเร็วที่สุดใน
โลกตลอดระยะเวลา 28 ปที่ผานมา จนกลายเปนประเทศมหาอํานาจทางเศรษฐกิจ การเมือง
และการทหาร อันดับ 4 ของโลกรองจากสหรัฐอเมริกา รัสเซียและสหภาพยุโรป แตดวยอัตราการ
เติบโตทางเศรษฐกิจเฉลี่ยรอยละ 9 ตอป นักเศรษฐศาสตรไดประเมินวาจีนจะมีเศรษฐกิจที่ใหญ
ที่สุด ในโลกในป ค.ศ. 2015-2025ดวยกําลังทางเศรษฐกิจที่ยิ่งใหญนี้จะทําใหจีนมีศักยภาพทาง
การเมืองและการทหาร เปนประเทศมหาอํานาจชั้นแนวหนาทัดเทียมสหรัฐอเมริกา และสงผล
กระทบตออํานาจของสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรปที่ครอบงําเศรษฐกิจ การเมืองและการทหาร
ของโลกมาตลอดสองทศวรรษการเติบโตของจีนรวมทั้งอินเดีย เกาหลีใต อาเซียน และญี่ปุน จะ
ทําใหศตวรรษที่ 21 เปน “ศตวรรษของเอเชียแปซิฟก” บดบังรัศมีมหาอํานาจสหรัฐฯ ในภูมิภาคนี้
โดยเฉพาะอยางยิ่งถากลุมประเทศอาเซียนบวกสามซึ่งประกอบดวยประเทศอาเซียน 10 ประเทศ
รูปที่ 2.17 บรรยากาศในนครปกกิ่ง และจีน ญี่ปุน และเกาหลีใต สามารถกอตั้งกลุมประชาคมเศรษฐกิจเอเชียตะวันออก (East
ทีมา : จากการศึกษาภาคสนาม Asian Community) รวมทั้งกอตั้งสถาบันการเงินเอเชีย (Asian Monetary Fund) และเงินตรา

2
สุรชัย ศิริไกร, นโยบายตางประเทศของจีนตออาเซียน โครงการจีนศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2537.

2-20
เอเชีย (Asian Currency) ไดสําเร็จ อํานาจเศรษฐกิจ การเมืองและการทหารของโลกจะสมดุลและถวงดุลกันระหวาง สหภาพยุโรป ประชาคมเศรษฐกิจเอเชีย และ
เขตเศรษฐกิจทวีปอเมริกาเหนือ โดยมีรัสเซียและอินเดียเปนตัวถวงดุลระหวาง 3 ภูมิภาค หรือการเมืองโลกอาจมีลักษณะเปนการ ประสานอํานาจ” (concert of
powers) ระหวาง 3 ภูมิภาค รวมกับรัสเซียและอินเดีย โลกจะมีความสมดุลย มีความมั่นคง และมีความรวมมือทางเศรษฐกิจกันมากขึ้น แตอยางไรก็ตาม
มหาอํานาจเกาและใหมมีการแขงขันและตอสูกันอยูตลอดเวลา รูปแบบของความรวมมือและความขัดแยงจึงสามารถเปลี่ยนแปลงไดตลอดเวลา ขึ้นอยูกับการ
ตัดสินใจของผูนําของมหาอํานาจกลุมตางๆ ในปจจุบันและอนาคต

ในปจจุบันความกาวหนาของจีนที่สําคัญๆ ไดแก
1.มีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงเฉลี่ยรอยละ 9 ในชวงป 1980-2000 และสูง
กวารอยละ 9 ในชวงป 2000-2006 ในป 2005 จีนมีมูลคาการผลิตสินคาประมาณ 18.2
trillion yuan (88.2 trillion ฿) ในป 2006 มีมูลคาการคาตางประเทศสูงเปนอันดับ 3 รอง
จากสหรัฐฯ และญี่ปุน โดยแซงหนาเยอรมนี ฝรั่งเศส อังกฤษและอิตาลี และในป 2007
จีนมีเงินทุนสํารองระหวางประเทศ $1.3 trillion ซึ่งสูงที่สุดในโลก การเติบโตทาง
เศรษฐกิจของจีน ทําใหจีนมีความตองการสินคาเครื่องจักรจากญี่ปุน เกาหลีใต และ
ทรัพยากรธรรมชาติและพลังงาน เชน ถานหิน เหล็ก เหล็กกลา กาซธรรมชาติและน้ํามัน
จากอาเซียน รัสเซีย ตะวันออกกลางและเอเชียกลาง ทําใหจีนกลายเปน “จักรกลของการ
เติบโตของเอเชีย” (engine of growth of Asia) แทนญี่ปุน และจีนเปนตลาดนําเขาสินคา
บริโภคระดับกลางและสูงตางๆ จากอเมริกา ยุโรป เกาหลีใต ญี่ปุน และไตหวัน จีนเปน
รูปที่ 2.18 กิจกรรมของผูสูงอายุในปกกิ่ง ฐานการผลิตสินคาอุตสาหกรรมที่มีตนทุนการผลิตที่ถูกที่สุดในโลก และสินคาอุปโภค-
ทีมา : จากการศึกษาภาคสนาม
บริโภคราคาถูกตางๆ ทําใหเปนประเทศที่ไดรับการลงทุนจากตางชาติ (FDI) สูงเปนอันดับ

2-21
สองของโลกรองจากสหรัฐอเมริกา โดยเฉลี่ยปละกวา 60 พันลานเหรียญสหรัฐฯ และจีนไดเปรียบดุลการคากับสหรัฐฯ กวา 101.9 พันลานเหรียญสหรัฐฯ ในป 2000
และเพิ่มมากขึ้นเปน 232.5 พันลานเหรียญสหรัฐในป 2006 และคาดวาจะมากกวา 200 พันลาน
เหรียญสหรัฐฯ ในป 2007 ในปจจุบันจีนเปน โรงงานของโลกและจีนกําลังกลายเปนประเทศที่
ผลิตสินคาอุตสาหกรรมที่ทันสมัยขึ้นเชน รถยนต สินคาอิเล็คโทรนิค และสินคาเทคโนโลยี
สารสนเทศ
2.จีนเปนประเทศที่ลดความยากจนไดรวดเร็วที่สุดในโลก ในชวงป 2001-2004 จีน
สามารถลดจํานวนประชากรที่ยากจนจาก 16% เหลือ 10% ซึ่งเปนความสําเร็จที่ธนาคารโลกชื่น
ชมเพราะแมแตยุโรปและสหรัฐฯ ยังไมสามารถลดความยากจนทั้งหมดได กาวตอไปคือการ
พัฒนาชนบทและพัฒนาเศรษฐกิจใหทันสมัยมากขึ้น ในเกือบ 30 ปที่ผานมาจีนมีชนชั้นกลาง
มากกวา 100 ลานคน (ที่มีเงินออมมากกวา 500,000 หยวน) และจะเพิ่มเปน 2 เทาในป ค.ศ.
2015
3.ในดานวิท ยาศาสตร และเทคโนโลยี จี น มีค วามสามารถในการพั ฒ นาเทคโนโลยี
รูปที่ 2.20 พระราชวังตองหาม ทางดานอวกาศโดยสามารถสงนักบินอวกาศไปโคจรรอบโลกไดในป 2004 และป 2005 เปนชาติ
ทีมา : จากการศึกษาภาคสนาม ที่ส ามของโลกรองจากรั สเซี ยและสหรั ฐอเมริ กา และจี นดํ าเนิ นธุ รกิ จ รับ จางสง ดาวเที ยมให
ตางประเทศ ที่นาสนใจคือ จีนยังมีโครงการสํารวจอวกาศและสงยานอวกาศไปลงยังดวงจันทร
และดาวอังคารในชวงป 2012-2017
4.ในดานการทหาร จีนสามารถทดลองระเบิดนิวเคลียรไดในป ค.ศ.1964 และมีอาวุธ
รูปที่ 2.19 พระราชวังตองหาม นิวเคลีย รและขีปนาวุธระยะสั้น และระยะไกลขามทวีป รองจากสหรัฐ อเมริกาและรัส เซีย ทําให
ทีมา : จากการศึกษาภาคสนาม สามารถปองกันตนเองจากการโจมตีดวยอาวุธนิวเคลียรจากศัตรู

2-22
ในวัน ที่ 11 มกราคม ค.ศ.2007 จีน ไดทดลองยิ งจรวดทํ าลายดาวเทียมเกาของตนเองในอวกาศได
สําเร็จ และสรางความประหลาดใจใหกับทุกประเทศ จีนยังพยายามเพิ่มงบประมาณทหารเพื่อการ
คนควาและพัฒนาอาวุธของกองทัพ โดยเฉพาะเครื่องบินรบดาวเทียมและจรวดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ในการปองกันตนเองและลดชองวางของเทคโนโลยีทางทหารระหวางสหรัฐฯ กับจีนที่หางกัน 20 ป
สงครามของสหรัฐฯ ในอ าวเปอร เซีย ป 1991 ไดแ สดงใหโ ลกเห็นวา สหรัฐอเมริก าประสบ
ความสําเร็จในการปฏิวัติระบบอาวุธและการทหารของตน โดยอาศัยเทคโนโลยีดานสารสนเทศ
ดาวเทีย ม คอมพิวเตอร และแสงเลเซอร นํา รอ งอาวุธต างๆ ของตนใหทําลายเปา หมาย ณ จุ ดใดๆ
ของโลกได อย างแมน ยํา และสหรัฐ ฯ ยั งมีเครื่องบิน รบที่สามารถหลบการตรวจจับ ของเรดาหไ ด
ดังนั้น สหรัฐฯ จึงมีสมรรถนะทางทหารที่สูงสุดในโลกและเปนอภิมหาอํานาจทางทหารแตผูเดียว แม
จีนจะมีกองทัพ 2.3 ลานคนที่ใหญที่สุดในโลก แตมีระบบอาวุธลาสมัยแบบเกาก็ยากที่จะปองกันการ
โจมตีของสหรัฐฯ ได เชน กรณีเกิดความขัดแยงถาไตหวันประกาศเอกราชและสหรัฐฯ ตัดสินใจชวย
ไต หวั น เปน ตน จีน จึง จําเปน ตอ งเรง รัด การพั ฒนากองทั พของตนเองใหทัน สมั ยในป 2020 และ
สามารถเอาชนะสงครามสมัยใหมไดในกลางศตวรรษที่ 21
5.ในดานการทูต จีนสามารถสรางความสัมพันธที่ดีกับประเทศเพื่อนบานตางๆ ในเอเชีย
ลาตินอเมริกา และแอฟริกา เพื่อการแสวงหาตลาด ทรัพยากรธรรมชาติและเพื่อตอตานความ
พยายามของศัตรูที่พยายามโฆษณาวาการเติบโตของจีนเปน “ภัยคุกคาม” ตอความมั่นคงของ
ภูมิภาคและโลก โดยใหเหตุผลวาอดีตจีนเคยเปนจักรวรรดิที่คุกคามประเทศเพื่อนบาน และปจจุบัน
รูปที่ 2.20 สามลอเที่ยวชมเมืองของปกกิ่ง
ยังปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต และละเมิดตอสิทธิมนุษยชน รัฐบาลจีนจึงตองดําเนินนโยบายการ
ทีมา : จากการศึกษาภาคสนาม
ทูตเชิงรุกอยางหนัก โดยการมีความสัมพันธที่ดีกับประเทศเพื่อนบานอาเซียน เกาหลี ญี่ปุน อินเดีย

2-23
รัสเซีย เอเชียกลาง ออสเตรเลีย นิวซีแลนด ลาตินอเมริกาและแอฟริกา รวมทั้งสหรัฐฯ และสหภาพ
ยุโรป โดยเนนนโยบาย “strategic partnership”, “Peaceful rise” และการสรางสังคมโลกที่ปรองดอง
กัน (harmonious society)
6.ในดานการเมืองภายในประเทศในป 2007 จีนไดนําลัทธิเตาและขงจื้อกลับมาเปนอุดมการณ
ประจําชาติอีกครั้งหนึ่ง เพื่อสรางความปรองดองของคนในชาติ และความชอบธรรมใหกับพรรค
คอมมิวนิสตจีนทดแทนอุดมการณสังคมนิยมและชาตินิยม ความสําเร็จทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยี
ของจีนดังกลาวขางตน ประกอบกับสถานภาพทางการเมืองระหวางประเทศของจีนที่มีฐานะเปน
ประเทศมหาอํานาจ 1 ใน 5 ของคณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติที่มีอํานาจในการวีโต
ขอเสนอตางๆ ที่นําเขาสูการพิจารณาของที่ประชุม ทําใหจีนมีสถานภาพที่นาเกรงขามมากขึ้น และถูก
มองวาเปนประเทศมหาอํานาจโลกเพียงประเทศเดียวที่จะเปนคูแขงในอนาคตของสหรัฐอเมริกา
อดีตผูนําเติ้ง เสี่ยวผิง ไดตั้งเปาวาจีนจะพัฒนาไดเทาเทียมประเทศยุโรปตะวันตกที่มีเศรษฐกิจ
ระดับกลางในป 2050 แตนักเศรษฐศาสตรจีนในยุคปจจุบันกลาววา ปจจุบันจีนยังเปนแคประเทศกําลัง
พัฒนาซึ่งมีระดับการพัฒนาเศรษฐกิจลาหลังกวาสหรัฐอเมริกากวา 100 ป” นักวิชาการของสถาบัน
สังคมศาสตรของจีนคาดวาจีนจะเปนประเทศพัฒนาไดภายในป 2080 และจะเปนหนึ่งในสิบของ
ประเทศเศรษฐกิจชั้นนําของโลกกอนสิ้นสุดศตวรรษนี้3 ทั้งนี้เนื่องจากการวัดในเชิงของผลผลิตมวลรวม
ประชาชาติตอหัว และผลผลิตของแรงงานและผลผลิตทางการเกษตรแลว จีนยังมีระดับต่ํามากถาจีน
ตองการเพิ่มใหทัดเทียมกับระดับการพัฒนาของประเทศตะวันตกระดับสูงในระดับป 2002 จีนตองเพิ่ม
กําลังการผลิตเปน 26, 32 และ 46 เทาตามลําดับ และใชเวลา 49, 46 และ 50 ป โดยมีอัตราการ รูปที่ 2.21 พระราชตองหามนครปกกิ่ง
ทีมา : จากการศึกษาภาคสนาม

2-24
เติบโตรอยละ 7 และ 8 ตามลําดับ นอกจากนี้ โครงสรางเศรษฐกิจพื้นฐานของจีนก็ยังดอยพัฒนาโดยเฉพาะอยางยิ่งดานการคมนาคม พลังงาน สารสนเทศ และ
อุตสาหกรรม

บทสรุป
จากการศึกษาขอมูลพื้นฐานของประเทศจีนจะเห็นไดวาจีนเปนประเทศที่มีประวัติศาสตรเกาแก และยาวนาน ดังนั้นขอมูลทางดานประวัติศาสตรและขอมูล
พื้นฐานของประเทศจีนจึงเปนขอมูลที่สําคัญซึ่งนํามาเปนแนวทางในการพัฒนาประเทศในปจจุบัน ซึ่งจีนใหความสําคัญกับประวัติศาสตรเปนอยางมาก การพัฒนา
ประเทศ การวางแผน และการวางผังจะคํานึงประวัติศาสตรความเปนชาติจีนเปนสําคัญ การวางแผนเพื่อพัฒนาเมืองของจีนนั้นจีนไดวางแผนพัฒนาในทุกๆดาน ไม
วาการเลือกที่จะกาวกระโดด การซื้อเทคโนโลยีสมัยใหมที่ทันสมัยเพื่อที่จะพัฒนาประเทศใหมีศักยภาพเทียบเทากับประเทศมหาอํานาจอื่นๆในโลก ซึ่งในปจจุบันจะ
เห็นวาประเทศจีนไดพัฒนาอยางรวดเร็วและตอเนื่องซึ่งเปนเปาหมายที่สําคัญของจีน นั่นคือการเปนผูนําในทุกๆดาน การศึกษาขอมูลการวางแผนในดานตางๆของจีน
จึงมีประโยชนและนาสนใจเปนอยางยิ่ง

2-25

You might also like