You are on page 1of 117

แผนดินไหว

15/05/51
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
บุรินทร เวชบรรเทิง 1
แผนดินไหว
•การสั่นสะเทือนของพื้นดินซึ่งเกิดจาก
การเคลื่อนตัวโดยฉับพลันของเปลือก
โลก ปลดปลอยพลังงานออกมาในรูป
ของการสั่นสะเทือน

15/05/51 2
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
ความรูพ
 นื้ ฐานดานแผนดินไหวที่ควรทราบ
• สาเหตุของการเกิดแผนดินไหว
• ลักษณะของคลืน่ แผนดินไหว
• ปริมาณที่ใชวัดแผนดินไหว
• แหลงกําเนิดแผนดินไหว
• การตรวจวัดแผนดินไหวและเครือ่ งมือ
• สถิติแผนดินไหว
• องคประกอบที่เพิ่มความเสียหาย
• ภัยที่เกิดจากแผนดินไหว
• แหลงขอมูลแผนดินไหว
• การจัดระบบปองกันและบรรเทาภัยแผนดินไหว
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา 3
สาเหตุการเกิดแผนดินไหว
zโดยธรรมชาติ เชน เปลือกโลกเคลื่อนที่
ฉับพลัน ภูเขาไฟระเบิด การยุบตัว คลื่นสมุทร
เปนตน
zโดยมนุษย เชน การระเบิด เครื่องจักร การ
ระเบิดใตดิน เปนตน
15/05/51 4

สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
Tectonic Earthquake

แผนดินไหวจากเทคโทนิก
Tectonic Earthquakes :
แผนดินไหวที่เกิดขึ้นเนื่องจากการเคลื่อนตัว
ของเปลือกโลก

15/05/51 5
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
ตําแหนงแผนดินไหวทีม่ ีความรุนแรงมาก
• บริเวณขอบของแผนเปลือกโลกทีม่ ีการเคลื่อนที่
ในลักษณะชนกัน หรือเฉือนกันเปนแนวยาว เชน
บริเวณดานตะวันออกของประเทศญี่ปุน ไตหวัน
ฟลปิ ปนส อินโดนีเซีย ชิลี สหรัฐอเมริกา
• บริเวณที่มีภูเขาไฟซึ่งยังมีศักยภาพในการระเบิด
• บริเวณรอยเลื่อนมีพลัง

สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา 6
Plate Tectonics Theory
Plate Tectonics

Ref. : Understanding Earth, Press & Siever


สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา 7
บริเวณที่มีการเกิดแผนดินไหวบอย

สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา 8
An Earthquake

¾แผนดินไหวเทคโทนิกคืออะไร?
• การสั่นสะเทือนของพื้นดิน โดยทัว่ ไปเกิดจากการ
ที่หินในเปลือกโลกแตกแลวเคลื่อนตัว
• หินที่แตกราว มีการเคลื่อนตัวโดยฉับพลันทําให
เกิดการสั่นไหว
• การเคลื่อนตัวสวนใหญเกิดบริเวณ รอยตอของ
แผนเปลือกโลกบนชั้นบนของเปลือกโลก
15/05/51 9
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
The Earth
Centrosphere, the core
of the earth (radius
3500 km).
Mantle (2800 km).
Asthenosphere (radius
50-250 km).
Lithosphere, the crust &
upper mantle (50-100
km).
This hard thin layer is
called plate and is
drifting on the mantle.
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา 10
Seismic Belts

15/05/51 11
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา Ref: http://www.seismo.unr.edu/ftp/pub/louie/class/
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา 12
What drives the plates?

A simple model why


the plates move
Ref. : Understanding Earth, Press & Siever
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา Ref: http://www.seismo.unr.edu/ftp/pub/louie/class/
13
A Supercontinent

สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
Pangaea
Ref. : Understanding Earth, Press & Siever
14
The Breakup of Pangaea

(a) World 200 million years (b) After 120 million years
ago of drift

(c) After 60 million years (d) After 35 million years


of drift of drift
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา Ref. : Understanding Earth, Press & Siever
15
The Breakup of Pangaea

(e) World today


The Breakup of Pangaea
•C:\linked_320.mov

สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา Ref. : Understanding Earth, Press & Siever
16
The Breakup of Pangaea

(e) World today


The Breakup of Pangaea
•C:\linked_320.mov

สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา Ref. : Understanding Earth, Press & Siever
17
Earthquake Parameters

Hypocenter (Focus) and Epicenter

EQ Parameter :
• When the EQ
occurred,
• Distance from
epicenter,
• The depth, &
• The magnitude

สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา Ref. : Architectural Guide to Non-Structural Seismic Hazard
18
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา 19
HOW DO EARTHQUAKES CAUSE
DAMAGE?
3

Site พื้นดิน
Rock 2b
รอยเลื่อน Fault
ระยะทาง
2a
• C:\sc etabs 3 tower mode 1.avi
Magnitude M 1 •C:\sd-1a (r )-thx (new).avi

Ref.: Teddy Boen, G. Deierlien


15/05/51 20
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา Kramer, S., Geotechnical Earthquake Engineering
15/05/51 21
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
15/05/51 22
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
ชนิดของคลื่นแผนดินไหว

• คลื่นตามยาว
P
• คลื่นตามขวาง
S

• คลื่นผิวพื้น
-Love Wave
-Releigh
Wave

สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา 23
การวัดระดับแผนดินไหว
‹ขนาดแผ น ดิ น ไหว วั ด จากการตรวจวั ด ด ว ยเครื่ อ งมื อ
แสดงถึ ง ค า ซึ่ ง สั ม พั น ธ กั บ พลั ง งานความสั่ น สะเทื อ น ณ
ตําแหนงศูนยกลาง แผนดินไหว มีหนวย เปน ริคเตอร
‹ความรุ น แรงแผ น ดิ น ไหว วั ด โดยการเปรี ย บเที ย บกั บ
ลักษณะ ความรูสึกสั่นสะเทือน การเคลื่อนที่ของวัตถุ ความ
เสียหายกับสิ่งกอสราง ตางๆ การเปลี่ยนแปลงกายภาพของ
พื้นดิน ณ บริเวณที่ พิจารณา ปกติบริเวณใกลศูนยกลางจะ
มี ค วามรุ น แรงสู ง สุ ด สํ า หรั บ ประเทศไทยใช ม าตราวั ด อั น ดั บ
ความรุนแรงแบบ เมอรแคลลี ซึ่งมี 12 อันดับ
15/05/51 24
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
ตัวอยางคลื่นแผนดินไหวใกลและไกล

z ขนาดแผนดินไหว
ไดจาก การคํานวณ ซึ่ง
ขนาดจะ แปรตามความ
สูงของคลืน่ แผนดินไหว

15/05/51 25

สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
การคํานวณแผนดินไหวชนิดตางๆ

15/05/51 26
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
ความรุนแรงแผนดินไหว
อันดับ เหตุการณแผนดินไหว
I ไมรูสึกสั่นไหว ตรวจวัดไดดวยเครื่องมือ
II รูสึกบางคน โดยเฉพาะผูอยูชั้นบนของอาคาร สิ่งของแกวงไกว
III ผูอยูในอาคารรูสึก เฉพาะอยางยิ่งผูอยูชั้นบน แตผูคนสวนใหญไมรูสึก
IV ในเวลากลางวันผูอยูในอาคารรูสึก แตนอกอาคารรูสึกบางคน ประตู
หนาตางสั่น
V เกือบทุกคน รูสึก หลายคนตกใจตื่น วัตถุไมมั่นคงลมคว่ํา
VI ทุกคนรูสึก เครื่องเรือนเคลื่อน ปลองไฟแตก อาคารเสียหายเล็กนอย
15/05/51 27
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
ความรุนแรงแผนดินไหว
อันดับ เหตุการณแผนดินไหว
VII ทุกคนตกใจวิ่งออกนอกอาคาร เสียหายมากกับอาคารที่ออกแบบไมดี
VIII เสียหายมากกับอาคารธรรมดา บางสวนพังทลาย
IX เสียหายมากแมกับอาคารที่ออกแบบไวดี เสียหายมากกับอาคาร
X โครงสรางอาคารพังทลาย รางรถไฟบิดงอ แผนดินถลม
XI สิ่งกอสรางเหลืออยูนอย พื้นดินมีรอยแยกกวาง ทอใตดินเสียหาย
XII เสียหายทั้งหมด เห็นคลื่นบนพื้นดิน เสนแนวระดับสายตาบิดเบน วัตถุกระเด็นไป
ในอากาศ
15/05/51 28
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
อันตรายสวนใหญที่เกิดจากแผนดินไหว
►การสั่นสะเทือนของพื้นดิน ►คลื่นสึนามิ
นามิ
►แผนดินแยก ►น้ําทวม
►แผนดินและโคลนถลม ►ไฟไหม
►ดินมีสภาพเหลว ►การแพรกระจายของ
►หิมะถลม สารพิษ
►สิ่งกอสรางพังทะลาย
►วัตถุหลนใส
15/05/51 29

สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
Seismograph

THE FIRST SEISMOSCOPE WAS INVENTED IN CHINA


IN 132 A.D. BY CHANG HAN

สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา Ref : UNESCO
30
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา 31
เครือ
่ งมือตรวจแผนดินไหว

สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา 32
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา 33
เครือขายตรวจ
แผนดินไหวระบบ
ดิจิตอลในอนาคต
กรมอุตุนิยมวิทยา
2548-2549 ปรับปรุงเพิ่มเปน 15 สถานี
2549-2551 ติดตั้งเพิ่ม 25 สถานี ดิจิตอล
สถานี Tidal Gauge 9 สถานี
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
ขอกังขาเกี่ยวกับภัยแผนดินไหวในประเทศไทย
• ภัยแผนดินไหวเกิดขึ้นในอนาคตจริงหรือไม
• แผนดินไหวจะเกิดที่ใด ขนาดใด วันเวลาที่เกิดเมื่อไร
รุนแรงหรือไม
• มีแผนการปฏิบัติใหปลอดภัยจากแผนดินไหวอยางไร
• ไมเคยเกิดแผนดินไหวมานานมากนับรอยปแลว ไมควรสนใจ
มากนักมีความเสียหายจากภัยธรรมชาติอื่นที่ตองคํานึงอีกมาก
15/05/51 35
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
Global Seismic Hazard Map

15/05/51 36
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
The bar charts show the degree of
exposure to natural hazards and the
percentage of area affected

Thailand Malaysia Indonesia Japan

Bangladesh Kuwait Australia United Kingdom

15/05/51 37
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
แหลงกําเนิดแผนดินไหวทีส่ งผลกระทบประเทศไทย
• แหลงกําเนิดแผนดินไหวภายนอกประเทศ จาก
แนวแผนดินไหวของโลกบริเวณทะเลอันดามัน สุ
มาตรา รอยเลื่อนในพมา รอยเลื่อนจากตอนใต
ของจีน รอยเลื่อนในประเทศลาว รอยเลื่อนใน
เวียตนาม
แหลงกําเนิดแผนดินไหวภายในประเทศ จากรอย
เลือ่ นมีพลัง สวนใหญ บริเวณภาคเหนือ ภาค
ตะวันตก ภาคใต
15/05/51 38
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
15/05/51 39
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
แผนดินไหวที่สงผลกระทบตอประเทศไทย (2)

Date : 22 September 2003


Time : 1.16 a.m. (local time)

Magnitude : 6.5 Richter (from USGS)

Epicenter: Meiktila, Myanmar


850 km from Bangkok

15/05/51 40
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
15/05/51 41
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
A Dormitory Building
12 stories, 36 m high

Natural Periods:
Fundamental Sway X: 0.88 sec
Fundamental Sway in Y: 1.00 sec
Fundamental Torsion: 0.72 sec.

15/05/51 42
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
Crack on the wall of a 50-story Building by the 22 September 2003
earthquake (Source: Kaosod newspaper, 23 September 2003)

15/05/51 43
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
15/05/51 44
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
15/05/51 45
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
การขุดรองในบริเวณแนวรอยเลื่อน เพื่อสํารวจหาหลักฐานทางธรณีวิทยาของการเกิดแผนดินไหวขนาดใหญใน
อดีต (Cheng Long pu fault)

15/05/51 46
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
รอยเลื่อนในภาคเหนือที่อาจกอใหเกิดแผนดินไหวขนาดใหญ

15/05/51 47
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
ADSL

IPSTAR

IPSTAR

15/05/51 ADSL 48
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
15/05/51 49
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
เขื่อนปากมูล เขื่อนน้ําพุง
Broadband+SMA SP+SMA

สถานีที่ตั้งในพื้นที่ ของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย
15/05/51 50
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
เขื่อนศรีนครินทร
Broadband+SMA เขื่อนวชิราลงกรณ
SP+SMA

15/05/51 สถานีที่ตั้งในพื้นที่ ของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย 51


สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
เขื่อนลําพระเพลิง
SP+SMA

52
15/05/51
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
สถานีที่ตั้งในพื้นที่ของกรมชลประทาน
IP ADDRESS

INTERNET

15/05/51 USER
53
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
Real time display via IP ADDRESS
15/05/51 54
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
Real time monitoring Analysis software
15/05/51 55
ุ ิยมวิทยา Seismological Bureau Bangkok
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
www.tmdseismology.com

15/05/51 56
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
WWW.TMDSEISMOLOGY.COM

15/05/51 57
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
15/05/51 58
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
Phase II
•25 seismic stations
(10BB,15 SP)
•20 Acceleration
stations
•2 Borehole stations
•4 GPS stations
•9 Tide Gauge stations
Project will finish in
2008

15/05/51 59
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
• สถานีตรวจแผนดินไหว จ.เชียงราย สถานีตรวจแผนดินไหว จ.พะเยา
• สถานีตรวจแผนดินไหว จ.นาน สถานีตรวจแผนดินไหว จ. ลําปาง
• สถานีตรวจแผนดินไหว อําเภออุมผาง จ.ตาก สถานีตรวจแผนดินไหว จ.แพร
• สถานีตรวจแผนดินไหว เขือ่ นสิริกิติ์ จ.อุตรดิตถ สถานีตรวจแผนดินไหว จ.สุโขทัย
• สถานีตรวจแผนดินไหว จ.กําแพงเพชร สถานีตรวจแผนดินไหว จ.อุทัยธานี
• สถานีตรวจแผนดินไหว จ.พิษณุโลก สถานีตรวจแผนดินไหว จ.ลพบุรี
• สถานีตรวจแผนดินไหว อ.สังขละบุรี จ.กาญจนบุรี สถานีตรวจแผนดินไหว จ.เลย
• สถานีตรวจแผนดินไหว จ.หนองคาย สถานีตรวจแผนดินไหว จ.นครพนม
• สถานีตรวจแผนดินไหว จ.ชัยภูมิ สถานีตรวจแผนดินไหว จ.ปราจีนบุรี
• สถานีตรวจแผนดินไหว จ. สุรินทร สถานีตรวจแผนดินไหว จ.เพชรบุรี
• สถานีตรวจแผนดินไหว จ. ประจวบฯ สถานีตรวจแผนดินไหว อ.ขนอม จ.สุราษฎรธานี
• สถานีตรวจแผนดินไหว จ.นครศรีธรรมราช สถานีตรวจแผนดินไหว อ.ลันตา จ.กระบี่
• สถานีตรวจแผนดินไหว จ.ยะลา

15/05/51 60
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
PHASE I

SEISMIC STATION 15
STRONG
MOTION 6

PHASE II
SEISMIC STATION 25

STRONG
MOTION 20

GPS STATION 4

BOREHOLE
STATION 2

TIDE 15/05/51
GAUGE
STATION 9
61
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
ตําแหนงและขนาดของแผนดินไหวใน
ประเทศไทยและประเทศใกลเคียง

(พ.ศ. 2453 – 2543)

15/05/51 62
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
15/05/51 63
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
แผนดินไหวลาว-พมา 16 พ.ค.2550
15/05/51 64
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
Measurement of
Ambient Vibration

15/05/51 65
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
ตัวอยางอาคารสูงในกรุงเทพฯ ที่ไดรับการตรวจวัด

15/05/51 66
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
ขอมูลแผนดินไหวใน
ประวัติศาสตร
• แหลงขอมูล ตํานาน ปูม พงศาวดาร ศิลาจารึก บันทึก
จดหมายเหตุ หนังสือพิมพ
• บรรยายถึงความรุนแรงแผนดินไหว ความรูสึกสั่นไหวของ
คน ความเสียหายที่เกิดขึ้น ณ ชุมชน เมือง จังหวัด
และ บงบอกถึงวัน เดือนป เวลาที่เกิดเหตุการณขึ้น
• บริเวณที่รูสึก การสั่นสะเทือน ไดแก โยนกนคร สุโขทัย
เชียงใหม เชียงแสน อยุธยา กรุงเทพฯ
• คนยอนการบันทึกขอมูลถึง 624 ป กอนคริสตศักราช
15/05/51 67
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
• พ.ศ. 1003 โยนกนคร มีการยุบตัว ของเมือง เปนหนองน้ําใหญ
• พ.ศ. 1077 โยนกนคร เจดีย หัก 4 แหง
• พ.ศ. 2088 เชียงใหม เจดียห ลวงหัก จาก 84 ม. เปน 60 ม.
• พ.ศ. 2258 เชียงแสน วัดและเจดีย 4 ตําบลถูกทําลาย
• พ.ศ. 2382 พมา รูสึกถึงกรุงเทพ น้ําในแมน้ํากระฉอก
• 17 ก.พ. 2516 ตาก ภาคเหนือ ภาคกลาง กทม. มีความเสียหาย
เล็กนอย
• 26 พ.ค. 2521 เชียงใหม เสียหายเล็กนอยที่พราว
• 22 เม.ย. 2526 กาญจนบุรี ภาคกลาง ภาคเหนือ กรุงเทพ เสียหายเล็กนอย
15/05/51 68
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
• 1 ต.ค.2532 พมา-ไทย เชียงใหม เชียงราย เสียหายเล็กนอย
• 11 ก.ย.2537 เชียงราย เสียหายเล็กนอยถึงปานกลางบริเวณใกลศูนยกลาง
ที่ อ.พาน
• 12 ก.ค.2538 พมา ภาคเหนือตอนบน เสียหายเล็กนอย รูสึกสั่นบน
อาคารสูง กทม.
• 9 ธ.ค.2538 พะเยา ภาคเหนือตอนบน เสียหายเล็กนอยที่แพร
• 21 ธ.ค.2538 เชียงใหม เสียหายเล็กนอย อ.พราว
• 22 ธ.ค.2539 ไทย-ลาว เสียหายเล็กนอย อ.เมือง จ. เชียงราย

15/05/51 69
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
• 20 ม.ค. 2543 ลาว เสียหายเล็กนอยที่ จ.นาน จ.แพร
• 29 พ.ค. 2543 เชียงใหม เสียหายเล็กนอยที่ อ.สันกําแพง
• 2 ก.ค.2545 เชียงราย เสียหายเล็กนอยที่ อ.เชียงแสน อ.เชียงของ
• 22 ก.ย..2546 พมา รูสึกที่เชียงใหม เสียหายเล็กนอยอาคารสูงกทม.
• 26 ธ.ค.2547 สุมาตรา รูสึกที่ ภาคใต กทม. เกิดสึนามิ มีผูเสียชีวิต และ
สูญหาย เกือบ 10,000 คน
16 พ.ค. 2550
15/05/51
รูสึกไดในภาคเหนือและอาคารสูงใน กทม.70
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
ลักษณะการเกิดแผนดินไหวจากรอยเลือ่ น
มีพลัง
• ขนาดแผนดินไหวทีเ่ กิดมีความสัมพันธกบั พื้นที่ของ
การเคลื่อนตัวถาเคลื่อนที่ตามระนาบรอยเลื่อนไดมาก
ขนาดแผนดินไหว จะมีขนาดใหญ ดังนัน้ รอยเลื่อนที่
มีความยาวมากจะมีศักยภาพทําใหเกิดแผนดินไหว
ขนาดใหญได
• การเกิดแผนดินไหวจากรอยเลื่อนเดีย่ วมีคาบอุบัติซ้ํา
เมื่อเกิด แผนดินไหวใหญครั้งหนึ่งตองรอเวลา
การสะสมพลังงานในเปลือกโลกจนมากเพียงพอ
15/05/51 71

บางแหงอาจมีคาคาบอบัติซ้ํา นับสิบป รอยปหรือ


สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
สถิติแผนดินไหวที่สงผลกระทบตอประเทศไทย
ระหวาง พ.ศ. 2443 – มี.ค. 2551

• แหลงกําเนิดภายนอก
ประเทศ 131 ครั้ง
ภายนอก
แหลงกําเนิดภายในประเทศ ภายใน

• 99 ครั้ง

15/05/51 72
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
แผนดินไหวที่รูสึกได เกิดในบริเวณจังหวัดตางๆ
ระหวางป พ.ศ. 2443- มี.ค.2551
เชียงใหม
45 44
เชียงราย
40
35 แมฮองสอน
30 แพร
25 ลําปาง
20 ลําพูน
17
15 13 พะเยา
10 ตาก
5 4 5 4
2 3 3 2 อุตรดิตถ
1
0 เพชรบูรณ
จังหวัด
15/05/51 73
นครราชสี มา
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
แผนดินไหวที่รูสึกได จาก บริเวณตางๆ นอก
ประเทศ
ระหวางป พ.ศ. 2443- มี.ค. 2551 พมา
45 45
40 พมา-จีน
35 พมา-ไทย
30 27 พมา-อินเดีย
25 พมา-ลาว
20 17 ไทย-ลาว
15
10 10 จีน-เวียตนาม
10 7 7 สุมาตรา
5 2
1 1 1 อันดามัน
0
บริเวณ ลาว-เวียตนาม
15/05/51 ลาว
74
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
สรุป การเกิดแผนดินไหวในประเทศไทย

• ขอมูลจากการตรวจวัดดวยเครือ่ งมือ 5.9 ริกเตอร ที่ จ.


กาญจนบุร(ี ภาคกลาง)
• ขอมูลที่ไดจากการบันทึกในประวัติศาสตร คาความรุนแรงสูงสุดใน
ภาคเหนือ (โยนกนคร) อยูท อี่ นั ดับ XII ตามมาตราเมอรแคลลี
• ความเสียหายที่เกิดจากแผนดินไหวอยูใ นระดับเล็กนอยถึงปานกลาง
สวนใหญอยูใ นบริเวณภาคเหนือ (ขอมูลระหวาง 2443- ต.ค. 2542)
• แผนดินไหวทีเ่ กิดจากแนวรอยเลื่อนมีพลังจะตองเกิดซ้ําอีกเมื่อถึง
เวลาคาบอุบัติซ้ํา

15/05/51 75
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
สรุป การเกิดแผนดินไหวในประเทศไทย
• มีรอยเลื่อนมีพลังในบริเวณภาคเหนือ ภาคกลาง
ดานตะวันตก ภาคใต และมีการปลดปลอย
พลังงานในรูปความสั่นสะเทือน ออกมาเปน
ระยะๆ
• บริเวณ ภาคตะวันออก ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต มีความเสีย่ งภัย
แผนดินไหวนอย
15/05/51 76
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
สรุปการเกิดแผนดินไหวในประเทศไทย

• บริเวณภาคเหนือและดานตะวันตกของประเทศ
มีความเสี่ยงภัยแผนดินไหวมากกวาภาคอื่นๆ
• กรุงเทพมหานครมีความออนไหวตอการ
สั่นสะเทือนซึ่งเกิดจากแผนดินไหวไกลๆ กวา
บริเวณอื่นๆ

15/05/51 77
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
การคาดหมายเกี่ยวกับอันตรายจากแผนดินไหว

• บริเวณที่เคยเกิดความเสียหายในอดีตหากเกิด
แผนดินไหวซ้ํามีแนวโนมวาจะเกิดความเสียหายไม
นอยกวาเดิม
• บริเวณที่เคยไดรับผลกระทบแตไมมีความเสียหายมาก
ในอดีต มีแนวโนมวาจะมีความเสียหายเพิ่มขึ้น

15/05/51 78
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
องคประกอบที่เพิ่มความเสียหายเมื่อเกิดแผนดินไหว
• เวลาเกิดแผนดินไหว
• ขนาดและแหลงกําเนิดแผนดินไหว
-แนวแผนดินไหวโลก • ความยาวนานของการสั่นสะเทือน
-รอยเลื่อน ที่มีความยาวมาก • ตําแหนงศูนยกลางแผนดินไหว
-แผนดินไหวเกิดจากการกระตุน • สภาพทางธรณีวิทยาของบริเวณที่
• ระยะทาง ไดรับผลกระทบ
• ความลึก • ความแข็งแรงของสิ่งกอสราง
• ทิศทางของแหลงกําเนิด • การเตรียมพรอม
แผนดินไหว
15/05/51 79
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
15/05/51 80
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
15/05/51 81
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
15/05/51 82
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
แหลงขอมูลแผนดินไหว
ขอมูล หนวยงาน
สถิตแิ ผนดินไหวในประเทศและตางประเทศ กรมอุตนุ ยิ มวิทยา
สถิตแิ ผนดินไหวดานตะวันตกของประเทศ กรมอุตนุ ยิ มวิทยา,กฟผ.
สถิตแิ ผนดินไหวบริเวณภาคเหนือ กรมอุตนุ ยิ มวิทยา,กรมอุทก
ศาสตร,กรมชลประทาน
ขอมูลแผนดินไหวตางประเทศ USGS,NEIC, ISC,IRIS
NIED,กรมอุตนุ ยิ มวิทยา

15/05/51 83
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
สถานการณปจ จุบันที่ตองระวังภัยแผนดินไหว
• ไมมีการศึกษารายละเอียดทุกแหลงกําเนิดแผนดินไหว
• กฎขอบังคับวาดวยการออกแบบสิ่งกอสรางใหตานทานแผนดินไหวใน
ปจจุบันยังไมครอบคลุมอีกหลายพื้นที่เสี่ยงภัย
• ยังไมสามารถพยากรณแผนดินไหวไดแมนยําดวยศาสตรในปจจุบัน
• ไมมีแผนหลัก ในการจัดการภัยแผนดินไหวเปนระบบ รวมถึงงานวิจัยตางๆ
ดานแผนดินไหวและวิศวกรรมแผนดินไหวเพิ่งเริ่มตน
• ตัวอยางของภัยแผนดินไหวเพียงระดับกลางทีเ่ กิดขึ้นจริงในตางประเทศ
สามารถกอความเสียหายไดมาก
• ระบบตรวจวัดยังไมหนาแนนพอ
15/05/51 84
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
การดําเนินการจัดการเรื่องภัยแผนดินไหวในประเทศไทย
• การตรวจวัดแผนดินไหว
• การจัดตั้งคณะกรรมการแผนดินไหวแหงชาติ
• การออกกฎกระทรวงบังคับออกแบบสิ่งกอสรางตานแผนดินไหว
• การศึกษาวิจัยดานแผนดินไหว
• การวางแผนยุทธศาสตร แผนปฏิบัตกิ ารปองกันและบรรเทาภัย
แผนดินไหว

15/05/51 85
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
สิ่งทีค่ วรดําเนินการเรื่องภัยแผนดินไหวใน
ปจจุบันสําหรับประเทศไทย
• 1. ควรมีการศึกษาและวิจยั เกี่ยวกับแหลงกําเนิด
แผนดินไหว ไดแก รอยเลื่อนตางๆ
• 2.รวบรวมขอมูลพื้นฐานดานแผนดินไหวอยาง
เปนระบบ
• 3.ขยายและพัฒนาระบบการตรวจแผนดินไหวให
ทันสมัยเพื่อตอบสนองในดานวิศวกรรม
15/05/51 86
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
ตําแหนงและขนาดของแผนดินไหวใน
ประเทศไทยและประเทศใกลเคียง

(พ.ศ. 2453 – 2543)

15/05/51 87
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
กรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีโอกาสเกิดภัยพิบัติไดเนื่องจากแผนดินไหวขนาดใหญในระยะไกล

0 50 100 1 50 km

15/05/51 88
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
ในป พ.ศ. 2528 ไดเกิดมีแผนดินไหวขนาด 8.1 ริคเตอร
หางจากกรุงเม็กซิโกซิตี้ ถึง 350 กม. แตไดสงผลใหอาคารในกรุงเม็กซิโกซิตี้ มากกวา 600 หลัง เสียหาย
อยางรุนแรง และทําใหมีผูเสียชีวิตมากกวา 10,000 คน

15/05/51 89
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
ELASTIC RESPONSE SPECTRA

Spectral Acceleration (g)


1.2
Return Period

1.0 Bangkok Mexico City, 100 yr (mean)


(predicted) SCT site (1985)
500 yr (mean)

0.8 2500 yr (mean)


N-S
2500 yr
th
(84 percentile)
0.6

E-W
0.4

0.2

0.0
0.0 1.0 2.0 3.0 4.0 5.0
15/05/51 Natural Period (sec) 90
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
Microtremor Measurement
Research collaboration with EDM, NIED, Japan

Battery Sensor

GPS

Data Acquisition Unit

15/05/51 91
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
Predominant Period of Ground Motion at PGA = 0.14 g

15/05/51 92
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
แผนปฏิบัติการปองกันและบรรเทาภัยแผนดินไหว

• เพิ่มขีดความสามารถในการปองกันและบรรเทาภัยแผนดินไหว

• พัฒนางานวิศวกรรมใหสามารถปองกันและบรรเทาผลกระทบจาก
แผนดินไหว

• สํารวจแหลงกําเนิดแผนดินไหวและผลกระทบอยางทั่วถึง
15/05/51 93
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
บทเรียนจากแผนดินไหวที่ตางๆ

„ แผนดินไหวที่เม็กซิโก

„ แผนดินไหวที่ Northridge California


USA
โกเบ ประเทศญี่ปุน
„ แผนดินไหวที่โกเบ

„ แผนดินไหวที่ไตหวัน

15/05/51 94

สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
Mexico September 1985 , MS 8.1

15/05/51 95
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
1985
1985 MEXICO
MEXICO EARTHQUAKE:
EARTHQUAKE:
NUEVA
NUEVA LEON
LEON APARTMENT
APARTMENT
BUILDINGS
BUILDINGS

15/05/51 96
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
„ The damage was concentrated in a 25
km2 area of Mexico City, 350 km from
the epicenter. Of a population of 18
million, an estimated 10,000 people
were killed, and 50,000 were injured. In
addition, 250,000 people lost their
homes, and property damage amounted
to $5 billion. Over 800 buildings
crumbled, including hotels, hospitals,
schools, and businesses.
Communications between the Mexican
capitol and the outside world were
interrupted for many days.

15/05/51 97
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
Northridge 1994 เสียชีวิต 58 คน อาคารบานพัก อาคารสาธารณะเสียหาย

15/05/51 98

สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
Taiwan (Chi-Chi earthquake )21 ก.ย. 1999 7.6 Mw
เสียชีวิต 2492 คน อาคารบานพักเสียหาย 53,406 หลัง

15/05/51 99
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
Kobe 1995

10
0สํานักแผนดินไหว กรมอุตนุ ิยมวิทยา 15/05/51
15/05/51 101
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
City Fire cause by Earthquake

15/05/51 102
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
สภาพดินเหลวบริเวณทาเรือ

15/05/51 103
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
15/05/51 104
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
Gujarat EQ : 26 January 2001; 7.9 M Depth : 18 km

สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา 105
Gujarat EQ :

15/05/51 106
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
Gujarat EQ :

15/05/51 107
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
15/05/51 108
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
15/05/51 109
สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา
BAM EQ :
26 December 2003
6,6 M;
Depth : 10 km

สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา 110
BAM EQ :

สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา 111
BAM EQ :

สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา 112
BAM EQ :

สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา 113
BAM EQ :

สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา 114
BAM EQ :

สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา 115
CONCLUSION
• Unpredictable natural disaster like earthquakes should gain
a lot more attention from concerned parties before undesirable
phenomena would occur, especially in developing countries
(including Thailand) where losses by severe earthquakes
have not been experienced before.

• The lack of knowledge and technology in seismology and


earthquake engineering together with insufficient preparedness
for the natural disasters of this kind may convey vast damages
to the area they take place.

• Fortunately, the Royal Thai Government has started paying


a lot more attention on this matter during the last 3 decades.

สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา 116
CONCLUSION
• Many activities have gained sufficient support whereas
several relevant measures have been implemented. In
addition, the seismic monitoring network has been improved
while the national strategic master plan for earthquake
prevention and mitigation has been set up.

• Furthermore, the international cooperation has been put


into practice also.

• These efforts are expected to become extremely helpful


for higher level of safety of the Thai people in the
risky areas.

สํานักแผนดินไหว กรมอุตน
ุ ิยมวิทยา 117

You might also like