You are on page 1of 11

บทวิจารณทฤษฎีของฟรอยด

ความยิ่งใหญและขอจํากัด
ทางดานความคิดทฤษฎีจต ิ วิเคราะห

มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
กลางวันเรามองเห็นอะไรไดชัดเจน
สวนกลางคืนเราตองอาศัยจินตนาการ
Midnight University

กลาวกันวา บุคคล 3 คนในศตวรรษที่ 20 ซึ่งเปลี่ยนแปลงโลกไปอยางผลิกผันอยางไมมีวันหวน


คืนกลับมาได
คือ ฟรอยด, มารกซ, และ ไอนสไตน
สําหรับบทวิจารณที่นักศึกษา สมาชิก และผูส  นใจทุกทาน จะอานตอไปนี้ เปนงานเรียบเรียง
บางสวนจากหนังสือ
Greatness and Limitations of Freud's Thought
เขียนโดย Erich Fromm ซึ่งเปนสานุศิษยคนหนึ่งของฟรอยด

ในงานเขียนชิ้นนี้ เขาไดวิเคราะหรากเหงาขอจํากัดของการนําเสนอทฤษฎีใหมๆ ในยุคสมัยที่ยัง


ไมมีความพรอมที่จะรับความคิดใหม และขอจํากัดบางประการอันเปนความผิดพลาดทีเ่ กิดขึ้น
อันเนื่องมาจากบริบทของวัฒนธรรมทางความคิดในยุคสมัยของฟรอยด ซึ่งทําใหฟรอยดจําตอง
ผิดพลาด
เรียบเรียงโดย : สมเกียรติ ตัง้ นโม (ความยาวประมาณ 10 หนากระดาษ A4)
Midnight's Psychology
ความเรียงจิตวิทยาวิจารณ

ขอจํากัดของความรูว ิทยาศาสตร
(The Limitations of Scientific Knowledge)
เหตุผลที่วา
 ทําไม ทฤษฎีใหมๆทั้งหมดจึงจําตองผิดพลาดหรือบกพรอง
(The Reason Why Every New Theory Is Necessarily Faulty)

ความพยายามที่จะทําความเขาใจความคิดหรือทฤษฎีของฟรอยด, รวมไปถึงบรรดานักคิดคนอื่นๆ
อยางเปนระบบนั้น ไมอาจจะประสบความสําเร็จได เวนแตเราจะยอมรับและรูวาทําไม ทุกๆระบบ
ความคิดที่ไดรับการพัฒนา และนําเสนอขึ้นมาโดยบรรดาผูคด ิ คนเหลานั้นตางมีขอจํากัดบาง
ประการ และจําจะตองมีขอผิดพลาดอยูบางเสมอ

แตขอจํากัดและขอผิดพลาดทีเ่ กิดขึ้นมานั้น มิใชเนื่องมาจากการขาดเสียซึ่งความเฉลียวฉลาด,


ความคิดสรางสรรค หรือการวิจารณตนเองมากพอในสวนของตัวผูค  ิดคนทั้งหลาย, แตเปนเพราะ
ความขัดแยงโดยเบื้องตนซึง่ ไมอาจหลีกเลี่ยงไดบางประการนั่นเอง

คําถามก็คือ, อะไรคือความขัดแยงเบื้องตนอันนี้ ?

ในดานหนึ่งนั้น เนื่องมาจากผูคด
ิ คนมีบางสิ่งบางอยางที่ใหมมากซึ่งอยากจะพูดออกมา, บางสิ่ง
ซึ่งไมเคยถูกคิดหรือพูดมากอนเลย. แตในการพูดถึงอะไรที่เปน"ความใหมมากๆ" ผูค  ิดคนจําตอง
วางมันลงไปในบริบท หรือปริมณฑลของคําอธิบายอันหนึ่ง ที่ไมเหมาะสมกับสิ่งทีเ่ ปนสาระหรือ
แกนแกนในความคิดที่สรางขึ้นมา

ความคิดทีส
่ รางขึ้นมา มักจะเปนความคิดที่สาํ คัญเปนพิเศษ เพราะมันมักจะไปจัดการกับมายา
ภาพบางอยาง และทําใหเรากาวเขาไปใกลกบ ั การรับรูเกี่ยวกับความจริงมากขึ้นเสมอ. มันไดไป
ขยายขอบเขตความรูของมนุษย และทําใหพลังของเหตุผลมีความเขมแข็งมากขึ้น. สิ่งทีส ่ ําคัญ
เปนพิเศษ สําหรับความคิดที่สรางขึ้นมานี้ มักจะมีหนาที่ในการปลดเปลือ ้ งมายาภาพ และขัดแยง
กับความคิดที่ไมถูกตอง.

อีกดานหนึ่งของความขัดแยง, นักคิดเหลานี้จะตองแสดงความคิดใหมของตนในจิตวิญญานของ
ยุคสมัยของเขา. นอกจากนีส ้ ังคมทีต
่ างกันก็จะมีสามัญสํานึกทีต
่ างกันไป, นับตั้งแตความคิดที่ผิด
แผก, ระบบตรรกะที่แตกตาง เหลานี้เปนตน; ในเวลาเดียวกัน ทุกๆสังคมจะมีฟล  เตอรหรือเครื่อง
กรองทางสังคมของมันเอง ซึ่งจะมีไอเดีย แนวความคิด และประสบการณบางอยางเทานั้น ที่
สามารถผานเครื่องกรองอันนี้ไปได. ความคิดตางๆ บางครั้ง อาจจะไมสามารถผานเครื่องกรอง
ทางสังคมใดสังคมหนึ่งไปไดในชวงเวลาหนึ่งที่ สังคมยังไมไดคด ิ ถึงเรื่องนั้นๆ, และแนนอน เมื่อ
ยังไมไดมีการคิดถึง มันจึงยอมไมมีคาํ พูดถึงมันดวย.

สําหรับผูค
 นโดยเฉลี่ย แบบแผนทางความคิดเกี่ยวกับสังคมของพวกเขา จะปรากฎออกมาในรูป
ของตรรกะแบบงายๆธรรมดาๆ. และแบบแผนทางความคิดของสังคมที่มีความตางกันโดยพื้นฐาน
ก็จะถูกพิจารณาหรือเฝาดูกน
ั และกันโดยสังคมอื่นในฐานะที่เปนเรือ
่ งเหลวไหล หรือไรสาระ.

ตัวอยางเชน สําหรับสมาชิกคนหนึ่งในสังคมในชวงยุคหินใหม ซึ่งชายหญิงแตละคนดํารงชีวิตอยู


ไดดว ยแรงงานของตนทีล ่ งไป, โดยพื้นฐานเชนนี้ เรื่องบางเรื่องอาจเปนสิ่งซึ่งไมอาจคิดถึงได
โดยพิจารณาจากองคประกอบรวมทางสังคมทั้งหมดของพวกเขา.

ยกตัวอยางเชน, การคิดจะใชประโยชนเกี่ยวกับแรงงานมนุษยคนอื่นโดยคนอีกคนหนึ่ง ใหมา


ทํางานใหกับตัว. ความคิดเชนนี้ในยุคหินใหมอาจเปนความคิดทีด ่ ูบา ๆหรือพิลก
ึ ในยุคนั้น ทั้งนี้
เพราะ มันยังคงเปนความคิดที่ยังคิดกันไปไมถึง และมันเปนเรื่องที่ออกจะเกินไปทีจ ่ ะทําใหมันมี
เหตุผลขึ้นมา สําหรับการที่จะใชหรือวาจางคนอื่น. (ถาหากวามีใครคนหนึ่งบีบบังคับอีกคน
เพื่อใหทํางานใหเขาในยุคนัน
้ มันไมไดหมายความวา จะเพิ่มจํานวนของสินคาใหมากขึ้น, แต
กลับกลายเปนวา นายจางจะถูกบังคับโดยนัยๆใหไมตองทํางานหรืออยูว างๆ และเกิดความเบื่อ
หนายขึ้นมาแทนที่).

อีกตัวอยางหนึ่ง: สังคมตางๆเปนจํานวนมากในสมัยกอน ไมรูจักเรื่องของทรัพยสน ิ หรือสมบัติ


สวนตัว(private property)ในความหมายแบบสมัยใหม พวกเขารูจักแตเพียง"สมบัตห ิ รือทรัพยสิน
ที่เกี่ยวกับหนาที่ใชสอย"(functional property), อยางเชน เครื่องมืออันหนึ่งซึ่งเปนของคนๆหนึ่ง
(ดวยเหตุทเี่ ขาใชมัน) แตมันจะถูกปนไปใหคนอื่นๆไดทันทีเมื่อมีคนตองการใช.

สิ่งที่ยังไมไดมอี ยูในความคิดหรือยังคิดไปไมถึง(unthinkable) ก็เปนสิ่งที่ยังไมไดมีการพูดถึง


(unspeakable) และภาษาก็ไมมีคําพูดถึงสิ่งเหลานั้นดวยเชนกัน. ภาษาโบราณเปนจํานวนมากไม
มีคําวา"to have"(มี) ดังนั้นจึงตองแสดงออกถึงแนวความคิดอันนีเ้ กี่ยวกับการครอบครองดวยคํา
อื่นๆ, ดังตัวอยางการใชคําวา "it is to me" (มันสําหรับฉัน), ซึ่งแสดงออกถึงแนวความคิดเกี่ยวกับ
สมบัตห ิ รือทรัพยสินทีใ่ ชทําหนาทีใ่ ช สอย(functional) แตไมใชสมบัติสว นตัว(private property)
(หมายเหตุ: คําวา "private" ในความหมายของภาษาละติน privare, หมายถึง to deprive [ตัด
สิทธิ์ กีดกัน] - กลาวคือ, สมบัติหรือทรัพยสินซึ่งทุกๆคนถูกตัดสิทธิ์หรือกีดกันออกไป ยกเวน
เจาของเพียงเทานั้น). ภาษามากมายเริ่มตนขึ้นมาโดยไมมีคําๆวา to have แตในพัฒนาการของ
มัน โดยการปรากฎตัวขึ้นมาของทรัพยสินสวนตัว, พวกเขาไดเรียนรูคําหนึ่งที่ถก ู นํามาใชสาํ หรับ
เรื่องนี้.

อีกตัวอยางหนึ่ง: เชน ในชวงศตวรรษที่ 10-11 ในยุโรป, เรื่องแนวความคิดเกี่ยวกับโลก.


กลาวคือ ถาจะพูดหรือคิดเกีย
่ วกับโลกโดยไมมีการอางอิงถึงพระผูเปนเจา สมัยนั้นถือวาเปนเรื่อง
ซึ่งเปนไปไมไดเลย เพราะชวงเวลาดังกลาวมันเปนเรื่องซึ่งสุดจะคาดคิด และดวยเหตุนี้ คําๆหนึ่ง
อยางเชน atheism (ความเชือ
่ ที่วา ไมมีพระเจา) จึงไมมอ
ี ยู.

จาก ตัวอยางขางตน จึงเห็นไดวา ภาษาในตัวของมันเองไดรับอิทธิพลมาจากสังคม และโดยการ


สะกัดทางสังคมเกี่ยวกับประสบการณบางอยางซึ่งไมเหมาะสมกับโครง สรางของสังคมในเวลา
หนึ่ง; ภาษาตางๆที่แปลกออกไป และเปนเรื่องของประสบการณที่แตกตางจึงถูกสะกัดกั้นเอาไว,
ดังนั้นจึงเปนไปไมไดที่จะแสดงออกมา.

ดวยเหตุนี้ ความคิดใหมๆซึ่งบรรดานักคิดทั้งหลายไดสรางขึ้น มันจึงจําเปนตองคิดขึน


้ มาในเทอม
ตางๆของตรรกะอันเดิม, นั่นคือแบบแผนตางๆทางความคิด, แนวความคิดทีส ่ ามารถแสดงออกมา
ไดในวัฒนธรรมของเขา. ดังนั้น อยางไมอาจหลีกเลี่ยงได บรรดานักคิดทั้งหลายจึงถูกบีบบังคับ
ใหแกปญหาในปญหาซึ่งไมอาจแกไขได: เพื่อเสนอความคิดใหมในแนวความคิด และคําตางๆที่
ยังไมมีอยูในภาษาของเขา.

ผลทีต่ ามมาก็คือวา ความคิดใหมทเี่ ขาไดสรางขึ้น มันเปนการคลุกเคลากันอันหนึ่งเกี่ยวกับสิ่งซึ่ง


ใหมจริงๆ และความคิดแบบขนบประเพณีซึ่งมันมีอยูกอ  นแลว. แตอยางไรก็ตาม นักคิดมิได
สํานึกเกี่ยวกับความขัดแยงอันนี้.

เมื่อวันเวลาเปลี่ยนไป จนมันกลายเปนประวัตศ
ิ าสตร. ความเปลี่ยนแปลงทางสังคมดังกลาวจะ
สะทอนแบบแผนทางความคิดนั้นออกมา จนทําใหเห็นหลักฐานทางความคิดที่แตกตาง ซึ่งมัน
ใหมขึ้นมาในสมัยนั้น อันตัดกับความคิดแบบขนบประเพณี

และนานตอมาจนกระทั่งมาถึงบรรดาสานุศิษยของเขา ผูซึ่งดํารงชีวต
ิ อยูในสังคมและในกรอบที่
แตกตางกันอันหนึ่งทางความคิดอยาง เห็นไดชด
ั สานุศิษยเหลานี้จะมีการทีต่ ค
ี วามงานทาง
ความคิดของปรมาจารย โดยการจําแนกความคิดที่สรางขึ้นของเขา(หมายถึงของปรมาจารย)
ออกจากความคิด ตางๆตามขนบประเพณี, และจะวิเคราะหใหเห็นถึงความไมลงรอยกันระหวาง"
ใหม"กับ"เกา" มากกวาการพยายามที่จะผสานกลมกลืนความขัดแยงที่มีอยูภายในของระบบ
ความคิด นี้

นอกจากนั้น บรรดาสานุศิษยในรุนหลังยังอาจมีการปรับปรุงทฤษฎีที่ใหมๆอันนี้ได โดยการคิดได


อยางชัดเจนกวา และทําใหมันแมนยํามากยิ่งขึ้น ในสายความคิดเดียวกันนั้น เพราะพวกเขาไม
ตองอาศัยคําอธิบายจากขนบประเพณี แตไดใชคําใหมที่บัญญัติขึ้นมาและเปนที่รจ ู ักและพูดกัน
แลว เพิ่มเติมความคิดใหมีพลังอธิบายมากขึ้น

รากเหงาแหงความผิดพลาดของฟรอยด (The Roots Of Freud's Errors)

การ ประยุกตหลักการอันนี้กับความคิดของฟรอยด หมายความวา เพื่อจะเขาใจฟรอยดนั้น เรา


จะตองยอมรับเกี่ยวกับการคนพบตางๆของเขาวา เปนเรื่องใหมและเรื่องที่สรางสรรคจริง.แต
อยางไรก็ตาม ฟรอยดจําเปนตองอยูใ นขอบเขตทีเ่ ปนอุปสรรคนี้อยางไมอาจหลีกเลีย ่ งได ซึ่งเขา
จําตองแสดงความคิดใหมของเขาออกมาในหนทางทีบ ่ ดิ เบี้ยว. ครั้นเมือ
่ ไดมกี ารปลดปลอย
ไอเดียทั้งหลายของเขาออกมาจากโซตรวนเหลานี้ แลว มันไดทําใหการคนพบของเขา
กลายเปนสิ่งที่มีผลสมบูรณมากขึ้นตามลําดับ.

การ อางอิงถึงสิ่งที่ไดรับการกลาวโดยทัว่ ไปเกี่ยวกับความคิดของฟรอยด, ทําใหมีคําถามเกิด


ขึ้นมาวา, อะไรคือสิ่งที่ยังคิดไปไมถึงจริงๆของฟรอยด และอุปสรรคกีดขวางถัดมาซึ่งเขาไมอาจ
ที่จะผานไปไดคืออะไร ?

ถาหากวาเราพยายามที่จะตอบคําถามขางตนวา อะไรคือสิ่งที่นึกไปไมถึงสําหรับฟรอยดจริงๆ ?
ขาพเจาเห็นวามันมีอยู 2 ประการดังนี:้

ประการแรก. ทฤษฎีวัตถุนิยมของชนชั้นกลาง(the theory of bourgeois materialism), โดยเฉพาะ


อยางยิ่งที่มันไดถูกพัฒนาขึน
้ มาในประเทศเยอรมันนีโดย Vogt, Moleschott และ Buchner.

ในเรื่อง Kraft und Stoff (Force and Matter)(1855). Buchner อางถึงวาไดมกี ารคนพบวา "มันไม
มีผลที่ปราศจากมูลเหตุ และไมมีมูลเหตุที่ปราศจากผล"; สําหรับความเชือ ่ ที่ไมมีขอ
 พิสูจนอันนี้
(dogma) ไดถูกยอมรับกันอยางกวางขวางในยุคสมัยของฟรอยด. และความเชื่อที่ไมมีขอพิสูจน
เกี่ยวกับวัตถุนิยมของชนชั้นกลางอันนี้ ไดถูกแสดงออกมาโดยฟรอยดอยางนั้นเชนกัน

จุดประสงคที่แทจริงของฟรอยดตองการที่จะเขาใจกิเลสตัณหาของมนุษย; บรรดานักปรัชญา,
นักเขียนบทละคร และนักเขียนนวนิยาย กอนหนานั้น - บุคคลเหลานี้ไมใชนักจิตวิทยาหรือนัก
ประสาทวิทยาโดยตรง - ตางเอาใจใสกับเรื่องของกิเลสตัณหาอันนี้.

แลวฟรอยดแกปญ
 หาอันนี้อยางไร ?

ณ เวลาหนึ่ง ซึ่งมีคนอยูเพียงไมกี่คน(จํานวนนอยมาก)ที่ไดลวงรูเกี่ยวกับอิทธิพลของฮอรโมนที่
มีตอจิตใจ อันที่จริง มันเปนปรากฏการณอันหนึ่งซึ่งมีความเชื่อมโยงกับสรีรวิทยาและจิต ซึ่งรูกัน
เปนอยางดี: เรื่องเพศ. ถาหากวาใครคนหนึ่งพิจารณาวา เรื่องเพศเปนรากเหงาของแรงขับ
ทั้งหมด, ถาเปนเชนนั้น ความตองการในทางทฤษฎีจึงเปนเรื่องที่จาํ เปนขึ้นมาทันทีและมี
ความสําคัญมาก ทั้งนี้เพราะ มันจะทําใหเกิดความมั่นใจและแนใจมากขึ้นนั่นเอง, (ทฤษฎีที่วา นี้
หมายถึงการคนพบรากเหงาทางสรีรวิทยาที่ผก ู พันกับเรือ
่ งจิต). ซึ่งตอมา Jung เปนผูที่พูดถึงสิ่ง
เหลานีว้ ามันมีความเชือ
่ มโยงกัน, และในแงมุมดังกลาวที่ Jung ทํา, มันเปนการเพิม ่ เติมอยางมี
คุณคายิ่งตอความคิดของฟรอยด.

ประการที่สอง. ความสลับซับซอนอยางที่สองเกี่ยวกับความคิดที่ไมมีใครคิดถึง ซึ่งไปเกี่ยวพัน


กับทาทีหรือทัศนคติแบบชนชั้นกลาง และทัศนคติเกี่ยวกับ"อํานาจที่สืบทอดมาทางเชือ ้ สายพอ
(พอเปนใหญ)"(authoritarian-patriarchal attitude)ของฟรอยด.
ในที่นี้จําเปนตองอธิบายเพิม
่ เติมเล็กนอย กลาวคือ ในสมัยที่ฟรอยดมช ี ีวต
ิ อยูนั้น ความคิดที่วา
สังคมหนึ่งซึ่งผูห ญิงมีความเทาเทียมกันกับผูชาย ในสังคมดังกลาว ผูช  ายไมไดมอ ี ํานาจปกครอง
เนื่องจากความเหนือกวาทางสรีระและทางจิตใจ, (ซึ่งอันนี้เปนความคิดทีก ่ อตัวขึน ้ มารวมสมัย
เดียวกันกับเขา)เปนสิ่งที่ฟรอยดไมไดนึกถึง.

เมื่อ John Stuart Mill, ผูซึ่งฟรอยดรูสึกชื่นชมในตัวเขามาก, ไดแสดงไอเดียตางๆเกี่ยวกับความ


เสมอภาคและเทาเทียมกันของผูหญิง, ฟรอยดไดเขียนจดหมายขึ้นมาฉบับหนึ่งวา, "ในประเด็นนี้
Mill ดูเหมือนจะบาไปแลวจริงๆ". สําหรับคําวา"จะบาไปแลว"(crazy)เปนคําซึ่งหมายถึงวา เปน
เรื่องทีค
่ ิดไปไมถึงหรือไมไดคิดถึงเอาเลย(unthinkable).

ผูคนสวนใหญเรียกไอเดียหรือความคิดบางอยางวา"บา" เพราะความปกติ(sane)นั้น หมายความ


วา มันอยูภายในกรอบคิดทีอ่ างอิงไดทางความคิดตามขนบประเพณี. สวนไอเดียหรือความคิดใด
ก็ตามซึ่งมันอยูเหนือไปจากนั้น มันเปนความบาหรือฟนเฟอนในทัศนะของผูคนโดยเฉลี่ยทัว่ ๆไป.
(แตอยางไรก็ตาม, มันจะแตกตางไป เมื่อนักเขียนหรือศิลปนกลายเปนผูประสบความสําเร็จ.
ความสําเร็จจึงเปนการรับรองความเปนปกติไมใชหรือ ?)

ความ เสมอภาคของผูห  ญิงซึ่งเทาเทียมกันกับผูช  าย เปนสิ่งที่ไมไดคด ิ ถึงเลยสําหรับฟรอยด ซึ่ง


อันนี้ไดนอมนําเขาไปสูจต ิ วิทยาเกี่ยวกับเรื่องผูหญิง. หลายคนเชือ ่ วา แนวความคิดของเขานั้น
ที่วาครึ่งหนึ่งของมนุษยชาติเปนเรื่องของชีววิทยา, กายวิภาค และเรื่องทางจิต ซึ่งสิ่งเหลานี้มัน
ดอยกวาอีกครึ่งหนึ่งซึ่งเปนเรื่องของไอเดียในความคิด ดูเหมือนวามันจะเปนอยางนั้นโดยไมมี
การเปลี่ยนแปลง, เวนแตการใหภาพของทาทีแบบผูช  ายซึ่งมีอคติตอผูห  ญิง(male-chauvinistic
attitude).

แตลักษณะทางความคิดแบบชนชั้นกลางของฟรอยด ไมใชเพียงคนพบไดในรูปแบบที่สุดขัว้
เกี่ยวกับเรื่องพอเปนใหญในสายตระกูลอันนีเ้ ทานั้น. อันที่จริงมีนักคิดอยูสองสามคน ซึ่งเปนคนที่
หัวรุนแรงในความหมายของการอยูนอกเหนือความคิดเกีย ่ วกับเรื่องชนชั้นของพวกเขา. ฟรอยด
ไมใชหนึ่งในนั้น. ดังนั้นเบือ
้ งหลังทางชนชั้นและทาทีวธ ิ ีการของฟรอยดทางความคิดนี้ จึงได
แสดงออกมาใหเห็นในแถลงการณทางทฤษฎีของเขาทัง้ หมดอยางชัดเจน.

มันอาจจําเปนที่จะตองเขียนหนังสือขึ้นมาทั้งเลม ถาหากวาใครสักคนตองการที่จะวิเคราะห
แนวความคิด และทฤษฎีที่สาํ คัญตางๆของฟรอยดจากจุดยืนเกี่ยวกับตนตอกําเนิดทางชนชั้น(แน
นอน ไมใชปจจัยทางชนชั้นทั้งหมดในความคิดของฟรอยด ที่จําเปนตองมีรากเหงากําเนิดมาจาก
ชนชั้นกลางเพียงอยางเดียว. บางสวนในความคิดของเขาไปรวมกันกับสังคมทีส ่ ืบเชื้อสายมา
ทางพอตางๆ ที่มีแกนกลางบนทรัพยสินสวนตัว). แนนอนวา บทความชิ้นนี้คงทําอยางนั้นไมได
ภายใตกรอบขางตน แตอยางไรก็ตาม ในที่นี้ขอยกตัวอยางขึ้นมา ๓ ตัวอยางดังนี้

ฟรอยดเองก็ตอ
 งอยูใ นขอบเขต
แหงอุปสรรคอยางเดียวกันนี้
โดยตองนําเสนอความคิด
ของเขาออกมาในหนทางที่
บิดเบี้ยว
สิ่งที่ฟรอยดเองก็คด
ิ ไมถึง
ก็คือ กรอบความคิด
ทฤษฎีวัตถุนิยมแบบชนชั้นกลาง
และทาทีแบบชนชั้นกลางในเรื่อง
ผูชายเปนใหญ

John Stuart Mill


ไดเสนอความคิดเกี่ยวกับ
ความเสมอภาคและความเทาเทียม
กันระหวางผูหญิงกับผูชาย
ซึ่งฟรอยดคดิ วาเรื่องนี้
Mill ดูจะบาไปเสียแลว

1. เปาหมายในการบําบัดรักษาของฟรอยดนั้น คือการพยายามหาทางควบคุมแรงขับที่มาจากสัญ
ชาตญานของมนุษย โดยผานพลังหรือประสิทธิภาพของอีโก; โดยการทําใหแรงขับสัญชาตญาน
นั้นลดลงมา. ในแงมุมอันหลังนี้ ฟรอยดไดกาวเขาไปใกลกบ ั ความคิดทางทฤษฎีสมัยกลาง,
แมวาจะมีความแตกตางที่สาํ คัญบางประการกับระบบความคิดของเขาก็ตาม นั่นคือ ในระบบ
ความคิดของเขา มันไมมท ี ท
ี่ างหรือที่วา งสําหรับความงดงามนิ่มนวล หรือสําหรับความรักในแบบ
ของผูเปนแมเอาเลย. สําหรับคําที่เปนกุญแจสําคัญในทีน ่ ี้ก็คือ การควบคุม.

แนวคิดทางจิตวิทยาอันนี้ เกี่ยวกับการใหอีโกหรือซูปเปอรอีโกคอยเปนตัวควบคุมแรงขับสัญชา
ตญานนี้ ดูเหมือนวามันจะสอดคลองลงรอยกันกับความจริงทางสังคมบางอยาง นัน ่ คือ เมื่อนํา
ความคิดนี้ไปเทียบกับเรื่องทางสังคม คนสวนใหญจะถูกควบคุมโดยคนสวนนอยซึ่งทําหนาที่
ปกครอง (จิตใตสํานึกไดถูกสมมุตใิ หถก
ู ควบคุมโดยอํานาจของอีโกและซูปเปอรอีโก).

อันตรายของการทะลุทะลวงของจิตไรสํานึก มันเปนอันตรายอยางเดียวกันกับการปฏิวต ั ิทาง


สังคมเลยทีเดียว. การระงับหรือขมอารมณเปนวิธีการของผูมีอํานาจในการยับยั้งอันหนึ่งของการ
ปกปองสถานภาพภายในและภายนอก. แตอยางไรก็ตาม อันนี้ก็ไมใชหนทางเพียงอยางเดียวที่
จะจัดการหรือรับมือกับปญหาตางๆ เกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลงทางสังคม. มันยังมีการใชวธ ิ ีการ
คุกคามและพลังอํานาจในการกดขี่บังคับ หรือควบคุมสิ่งที่เปนอันตราย ซึ่งอันนี้เปนเรื่องที่มีความ
จําเปนในระบบของผูมีอาํ นาจ ที่ที่การปกปกษรักษาเกี่ยวกับสถานภาพถือวาเปนเปาหมายสูงสุด.
นี่คือแบบจําลองของโครงสรางทางสังคม ซึ่งปจเจกสามารถที่จะนํามาทดลองใชไดดว ย.

ในการวิเคราะหทายสุด มีคาํ ถามอยูขอ  หนึ่งก็คือ "จะตองสละความสุขมากนอยแคไหน กับการที่


คนสวนนอยซึ่งทําหนาปกครองสังคมหนึ่ง ตองการที่จะยัดเยียดใหกับคนสวนใหญ ? สําหรับ
คําตอบนี้ มันขึ้นอยูก  ับพัฒนาการของพลังอํานาจที่กอ  ใหเกิดผลในสังคมนั้นเอง ซึ่งสําหรับในที่นี้
ขึ้นอยูกับระดับที่ปจเจกชนทีถ่ ูกทําใหไมสมปรารถนา.

2. สิ่งทีด
่ ําเนินไปนั้นไมตองพูดเลยวา เปนภาพอันวิตถารผิดปกติของฟรอยดเกี่ยวกับผูห
 ญิงใน
ฐานะที่เปนคนมักมากในกามหรือสนใจในตนเองมากเกินไป(narsissistic) พวกเธอไมอาจที่จะรัก
และเยือกเย็นทางเพศอยางที่ผูชายโฆษณาชวนเชื่อ

ผูหญิงชนชั้นกลางในสมัยนัน ้ มีกฎอยูขอ
 หนึ่งคือ จะตองเยือกเย็นในเรื่องเพศ. ขนบประเพณีของ
ยุคดังกลาวเกี่ยวกับเรื่องของทรัพยสินหรือกรรมสิทธิ์สาํ หรับ การแตงงานของชนชั้นกลาง ไดวาง
เงื่อนไขใหพวกเธอจะตองเย็นชา. นับตั้งแตวันที่พวกเธอแตงงาน พวกเธอก็จะถูกทําใหเปน
ทรัพยสินหรือกรรมสิทธิ์ของสามี, พวกเธอไดรับการคาดหวังใหเปนคนที่ไมมีชวี ิตจิตใจ หรือวา
เซื่องซึมในการแตงงาน. ในสมัยนั้น จะมีเพียงผูหญิงในวงชั้นสูงและหรือโสเภณีชั้นสูงเทานั้น ที่
ไดรับการยินยอมใหเปนคนที่มีความกระตือรือรนทางเพศได (หรืออยางนอยที่สุดก็เสแสรง
เกี่ยวกับเรื่องนี้).

ไมตองประหลาดใจทีว่ า ผูชายมีประสบการณเกี่ยวกับกามตัณหาได ซึ่งในกระบวนการนี้ ผูช  าย


เปนฝายที่ไดรับชัยชนะ และผูชายเปนคนคุมกฎ. การประเมินในลักษณะที่มากไปเกี่ยวกับ"วัตถุ
ทางเพศ"นี้ ซึ่งตามความคิดของฟรอยด มันดํารงอยูห  รือมีอยูเพียงแตในผูชายเทานัน
้ , เทาที่เห็น
โดยสาระ ความพึงพอใจในการไลลา(วัตถุทางเพศ-ผูหญิง)เปนเรื่องของผูช  าย และในทายที่สุด
ก็ประสบความสําเร็จหรือไดชัยชนะ.

ชัยชนะดังกลาวสําหรับเรื่องนี้ จะถูกทําใหมั่นใจไดโดยการมีเพศสัมพันธเปนครั้งแรก, จากนั้น


ผูหญิงจะถูกผลักไสไปสูภาระหนาทีใ่ นการผลิตลูก และเปนคนดูแลบานที่มีประสิทธิภาพคนหนึ่ง;
เธอไดเปลี่ยนจากวัตถุชิ้นหนึ่งของการไลลาไปสูการเปนไมมีตัวตน

(ทั้ง หมดนีไ ้ ดถก


ู แสดงใหเห็นอยางชัดเจนในการแตงงานของตัวฟรอยดเอง, จดหมายที่แสน
หวานและโรแมนติค, ภาพของความหลงใหลใฝฝนสวนใหญเกี่ยวกับคนรักอันยิ่งใหญ ซึ่งเปน
แบบอยางของจดหมายรักทัง้ หลายในคริสตศตวรรษที่ ๑๙, จวบจนกระทั่งมาถึงการแตงงาน;
หลังจากนั้น การขาดเสียซึ่งความสนใจในตัวเธออยางเดนชัดก็ปรากฏออกมา ทั้งในเรื่องทางเพศ
สติปญ ญา และอารมณความรูสึกในเรื่องความรักและความเสนหา) ถาหากวาฟรอยดมค ี นไข
ผูหญิงจํานวนมากที่มาจากชนชั้นสูงของฝรั่งเศสและ อังกฤษ, ภาพที่แข็งทื่อเกี่ยวกับผูหญิงที่
เย็นชา อาจเปลี่ยนไปก็ได.

3. บางที ตัวอยางซึ่งสําคัญที่สด ุ เกี่ยวกับคุณลักษณตา งๆอยางชนชั้นกลางของแนวความคิดที่


เปนสากลของฟรอยดตามทีป ่ รากฎ จะเห็นไดในเรื่องเกีย
่ วกับ"ความรัก". อันที่จริง, ฟรอยดไดพด

ถึงเรื่องเกี่ยวกับความรัก, มากยิ่งกวาบรรดาสานุศิษยซึ่งยึดมั่นอยูในตัวเขาอยางเหนียวแนน
คุนเคยที่จะทําเสียอีก. แตอะไรละ ที่ฟรอยดหมายถึงเกีย
่ วกับความรัก ?

สิ่งที่สําคัญมากที่สด
ุ ก็คือ ฟรอยดและสาวกตางๆของเขา ปกติแลว จะพูดถึง"object love" (ซึ่งคํา
นี้ตรงกันขามกับ"narcissistic love") และเกี่ยวกับ"love object" (คําแรก object love หมายถึง
ความรักในเชิงวัตถุ ซึ่งตรงขามกับความรักในรูปโฉมหรือเรื่องกาม[narcissistic love] และคําที่
สาม love object วัตถุของความรัก[หมายถึง บุคคลที่ คนๆหนึ่งหลงรัก]).
การพูดถึงวัตถุของความรัก (love object) ก็ตองพูดถึงการ"มี"ในครอบครอง, โดยการกีดกัน
รูปแบบของภาวะอื่นๆออกไป; มันไมตางอะไรไปจากการที่พอคาคนหนึ่งพูดถึงเกี่ยวกับเรื่องการ
ลงทุน. ในกรณีหลัง เงินทุนไดถูกลงไป, สวนอันแรกทุนคือ libido(หมายถึงสัญชาตญานทีเ่ ปน
ความตองการทางเพศ)

มันเปนเพียงเรื่องของตรรกะ ซึ่งบอยครั้ง ในงานวรรณกรรมทางจิตวิเคราะห คนที่พด ู ถึงเกี่ยวกับ


ความรัก ก็คือ การลงทุนที่เกี่ยวกับสัญชาตญานซึ่งเปนความตองการทางเพศ(libidinous
investment)ในวัตถุชิ้นหนึ่ง. อันนี้มันเปนการนําเอาความเกาแกซา้ํ ซากของวัฒนธรรมทางธุรกิจ
เพื่อมาลดทอน ความรักของพระผูเปนเจา, ของผูชายและผูหญิง, ของมนุษยชาติลงมาเหลือ
เพียงแคการลงทุนอันหนึ่งเทานั้น; หรือลดความศรัทธาอยางแรงกลาของ Rumi, Eckhart,
Shakespeare, Schweitzer เพื่อแสดงใเห็นความเล็กทีส ่ ด
ุ ของจินตนาการเกี่ยวกับผูค
 น ซึ่งชนชั้น
ของเขาไดพิจารณาวา การลงทุนและกําไรเปนสิ่งซึ่งมีความหมายที่แทของชีวต ิ .

มันคือวัตถุที่เปนขยะหรือปฏิกูลอันหนึ่ง อยางที่มันเปน, ของความจําเปนทางชีววิทยาเพือ


่ การอยู
รอดของเผาพันธุ. "ความรัก",ในมนุษย, สวนใหญแลวเปนเรื่องของแบบฉบับของความผูกติด
ยกตัวอยางเชน การผูกติดกับบุคคลตางๆผูซึ่งเปนที่รก ั โดยผานความตองการอันมีชีวติ ชีวาที่นา
พึงใจอื่นๆ (เชน การกินและการดื่ม).

ถาจะเปรียบแลว, ความรักของผูใหญ มิไดแตกตางไปจากความรักของพวกเด็กๆ; พวกเขาทั้งคู


ตางก็รก
ั คนทีป
่ อนอาหารใหพวกเขานั่นเอง. อันนี้เปนเรื่องจริงอยางไมตอ  งสงสัยสําหรับคนสวน
ใหญ; ความรักอันนี้คือชนิดหนึ่งของความขอบคุณหรือปลื้มปติในความรักสําหรับการที่ไดรับการ
ปอน. แนนอน แตการกลาวเชนนั้นวาเปนแกนของความรัก มันคอนขางจะซ้าํ ซาก นาเบือ ่ และ
เจ็บปวด. (ผูหญิง, ดังทีเ่ ขากลาว ไมสามารถที่จะบรรลุถึงจุดๆนี้ได เพราะพวกเธอรักในลักษณะ
ของความหลงใหลในรูปของตนเอง(narcissistically), พวกเธอรักตัวของพวกเธอเองในคนอื่น)

ฟรอยดยืนยันวา : "ความรักในตัวของมันเองนั้น ภายใตขอบเขตที่ยังมีความตองการความ


ปรารถนาและการสิ้นสุด, จะทําใหความสนใจในตนเองต่าํ ลง, ในทางตรงขามกับการถูกรัก, และมี
การรักตอบและการครอบครองวัตถุของความรัก จะยกตัวตนขึ้นมาอีกครั้ง". คําพูดนี้เปนกุญแจ
สําคัญตอการเขาใจแนวความคิดเกี่ยวกับความรักของฟรอยด. นั่นคือ ความรัก, มีนัยะความ
ตองการและการสิ้นสุด; ทําใหการสนใจในผลประโยชนของตนเองต่ําลง(หรือความหยิ่งใน
ศักดิ์ศรีตา่ํ ลง).

สําหรับบุคคลที่ประกาศถึงความปลื้มปติและความเขมแข็ง ซึ่งความรักไดใหกับคนรัก, ฟรอยด


กลาววา: คุณทั้งหมดตางก็ผิดถนัด! ความรักทําใหคุณออนแอ; สิ่งซึ่งทําใหคุณมีความสุขก็คือ
การถูกรัก.

และอะไรละคือการถูกรัก ? การครอบครองวัตถุของความรัก! นี่เปนนิยามความทีค ่ ลาสสิคอันหนึ่ง


ของความรักสําหรับชนชั้นกลาง: หมายถึงการเปนเจาของและการควบคุมได ซึง่ อันนี้ไดสราง
ความสุขขึ้นมา, มันคือสมบัติทางวัตถุ หรือผูหญิงคนหนึ่ง ผูซึ่ง, ถูกเปนเจาของ, เปนหนี้เจาของ
ความรัก.

ความรักเริ่มตนขึ้นมาเหมือนอยางกับเด็กคนหนึ่ง ซึ่งไดรับการปอนอาหารจากแม. และมันสิ้นสุด


ลงเมื่อผูชายไดเปนเจาของผูหญิงคนนั้น แตอยางไรก็ตาม ผูห  ญิงก็ยังตองปอนเขาตอไปดวย
ความรักความเสนหา, ความพึงพอใจทางเพศและอาหาร.

ในที่นี้ บางที เราจะพบกุญแจสําคัญที่นําไปสูแนวความคิดเกี่ยวกับ Oedipus complex (ปมความ


ซับซอนทางเพศ เด็กผูชายจะรักแมตนและเกลียดพอ ถาเปนเด็กผูหญิงก็เปนไปในทางตรง
ขาม). โดยการจัดเตรียมหุน  จําลองขึ้นมาเกี่ยวกับเรื่องการมีเพศสัมพันธกันในสายเลือด ฟรอยด
ไดซอน สิ่งซึ่งเขาพิจารณาวาเปนสาระหรือแกนแกนเกีย ่ วกับความรักของผูช  าย: การผูกติดชัว่ นิ
รันดรกับแมคนหนึ่ง ผูซึ่งคอยปอน และในเวลาเดียวกันไดถูกควบคุมโดยผูช  าย. (ใครก็ตาม ที่
เคยอานเรื่องเกี่ยวกับความรักของผูชายชาวญี่ปุน ซึ่งมีตอผูห
 ญิงจะเขาใจในประเด็นนี้ และ
ผูหญิงญี่ปุนเองเมื่อจะรักกับผูชายคนหนึ่ง ก็จะตองเขาใจวา ตนพรอมจะเปนแมของชายคนรัก
ดวย).

อันที่จริง สิ่งที่ฟรอยดพูดระหวางบรรทัด เปนไปไดที่มันจะเหมาะสมกับสังคมผูชายเปนใหญ: อัน


ที่จริง ผูชายยังคงเปนสิ่งมีชวี ิตที่ตอ
 งพึ่งพา แตก็ปฏิเสธเรื่องนี้โดยการคุยโตโออวดเกี่ยวกับความ
เขมแข็งของเขา และการพิสจ ู นมันโดยผานการทําใหผูหญิงเปนสมบัติของเขา.

เงื่อนไขหลักที่สําคัญตางๆในทาทีหรือทัศนคติแบบผูช ายเปนใหญ เปนการพึ่งพาอาศัยผูหญิง


และการปฏิเสธเรื่องนี้ พวกเขาจะกระทําโดยการควบคุมเธอเอาไว. ฟรอยด, ดังที่เคยอยูบอยๆ
ไดแปรเปลี่ยนปรากฎการณที่จําเพาะอันนี้ไป, นั่นคือความรักแบบผูชายเปนใหญ ไปสูความรัก
ของมนุษยที่เปนสากล.

แนวคิดจิตวิทยาของฟรอยดนั้น
ไดแบงจิตออกเปนสามสวนคือ
id, ego, super-ego
เขาตองการที่จะควบคุม id
หรือสัญชาตญานดิบ

ในที่นี้ไดมีการเปรียบเทียบทฤษฎีจิต
กับเรื่องการควบคุมทางสังคม
โดยผูมีอาํ นาจจํานวนนอย

ภาพวิตถารผิดปกติอขงฟรอยด
เกี่ยวกับผูห  ญิง ซึ่งมาจากแนวคิด
ชนชั้นกลางในสมัยของเขา
ซึ่งตองการควบคุมใหผูหญิง
หลังแตงงานเปนคนทีเ่ ย็นชา
ในเรื่องทางเพศ
โดยที่ผูชายเปนผูคุมกฎ
อันนี้มาจากความคิด
ที่ถือวาผูช
 าย เปนใหญ และเปนผูชนะ
การพูดถึงวัตถุของความรัก
ก็ตองพูดถึงเรื่อง"การมี"
ในครอบครอง

ความคิดนี้เปนการทอนความรัก
ลงเหลือเปนการลงทุน
ซึ่งไมตางไปจากความคิดของพอคา
เพียงแตวา ใชเงินลงทุน
สวนความรักใชตัณหา
เปนการลงทุน

ความรักของผูช ายก็ไมตา งไปจาก


ความรักของเด็กที่มต
ี อแม
เขาตองการใหปอนเชนเดียวกัน
เพียงแตเปนความรัก
และความเสนหา
ความพึงพอใจทางเพศ และอาหาร

สรุป: "ความยิ่งใหญและขอจํากัดทางดานความคิดของฟรอยด" ในความเรียงสั้นๆนี้ ได


แสดงใหเห็นวา

1. ทฤษฎีใหมๆทั้งหลาย ทําไมจึงตองผิดพลาดหรือมีอป ุ สรรค ? สําหรับคําตอบนีก ้ ็คือ เพราะ


เนื่องมาจากเปนความคิดหรือทฤษฎีใหมที่ไมเคยคิดถึงมากอน(unthinkable) ดังนั้นจึงไมมีคําพูด
หรือคําอธิบายเรื่องนั้น(unspeakable),

2. ประการตอมาคือ เขาจะตองนําเสนอความคิดใหมอน
ั นั้นดวยจิตวิญญานของยุคสมัยตน ซึ่งไม
มีภาษาทีเ่ หมาะสมเพียงพอ (ตองขุดเอาภาษาที่มอ
ี ยูมาใช)

3. ความคิดใหมๆนั้นจะตองผานการกลั่นกรองทางสังคม ถามันเกิดขึ้นมาในสังคมที่ยังไมพรอม
ความคิดใหมนี้กไ
็ มอาจผานเครื่องกรองทางสังคมไปได
ในสวนของรากเหงาความผิดพลาดของฟรอยดนน
ั้ เนื่องมาจากสาเหตุดังนี้

1. ทฤษฎีวตั ถุนิยมของชนชัน้ กลาง เรื่อง "ผลที่มาจากเหตุ และเหตุที่นําไปสูผล". ซึ่งในที่นี้


ฟรอยดเชื่อวา รากเหงาทางสรีระมีความผูกพันกับเรื่องจิต
โดยเฉพาะสัญชาติญาน แรงขับทางเพศ

2. ทัศนคติเกี่ยวกับการที่ผูชายเปนใหญในสมัยของเขา(อํานาจที่สืบทอดมาทางเชือ
้ สายพอ(พอ
เปนใหญ)"(authoritarian-patriarchal attitude). ดังนั้น
จึงเปนเหตุแหงการวิเคราะหไปในหนทางนั้น

3. ทาทีของความรัก ซึ่งมาจากทัศนคติแบบผูช  ายเปนใหญ โดยการเอาชนะผูหญิง. แตอันที่จริง


มิไดเปนอยางนั้น ผูชายจําตองพึ่งพาผูห
 ญิงอันไปสัมพันธอยางสลับซับซอนกับเรื่องของ
Oedipus complex. ดังนั้น ผูช
 ายจึงตองแสดงออกดวยการครอบครองและควบคุม

(หมายเหตุ: ในขอนี้ เนื่องมาจากการตั้งตนขึ้นดวย แนวคิดผูช


 ายเปนใหญตามคานิยมในสมัย
ของเขาในขอที่สอง
ทําใหเกิดการวิเคราะหไปในหนทางนั้น ดังในขอที่ 3)

ปจฉิมลิขิตของผูเรียบเรียง : สําหรับนักศึกษา สมาชิก และผูสนใจ... บทความนี้คอ


 นขางยากใน
การทําความเขาใจสําหรับคนที่ไมมีความคุนเคยหรือมี back ground เกี่ยวกับฟรอยด ดังนั้นจึง
เปนธรรมดาอยูเ องที่จะพบกับความยุงยากอยูสก ั หนอย. แตอยางไรก็ตาม หากจะเก็บสาระอื่นๆ
อันใดไปไดบาง ก็คด ิ วานาจะไดประโยชนพอสมควร. หรือหากสงสัย อยากจะทําความเขาใจ
กรุณา mail มาที่ midnightuniv@yahoo.com

(ขอขอบคุณ อาจารยวัลลภ แมนยํา / ผูใหยืมหนังสือ เพราะเห็นวาผูเรียบเรียงสนใจทฤษฎีจิต


วิเคราะหของฟรอยด)

อางอิง

http://www.midnightuniv.org/fineartcmu2001/newpage15.htm

You might also like