You are on page 1of 11

1

เ-+รียนภาษาอังกฤษอย่างไร…ถ้าจะไปสอบ O-NET, A-NET

เรียนภาษาอังกฤษอย่างไร…
ถ้าจะไปสอบ O-NET, A-NET ตามระบบแอดมิสชัน
่ ส์

เป็ นเรื่ องที่ น่ าเสี ย ดายที่ นั ก เรี ย นมั ธ ยมปลายหลายคนที่ จ ะสอบคั ด เลื อ ก
เข้ ามหาวิ ทยาลั ย ในระบบ Admissions และรับตรง ไม่ได้ให้ความสนใจกับวิชา
ภาษาอังกฤษเท่าที่ควร ทั้งๆ ที่ภาษาอังกฤษเป็ นวิชาที่สำาคัญชี้เป็ นชี้ตายวิชาหนึ่ ง
ในการสอบ สำา หรั บ นั ก เรี ย นสายวิ ท ยาศาสตร์ ท่ี ส อบเอนทรานซ์ ถ้ า ทำา วิ ช า
สำา คัญๆ เช่น ฟิ สิกส์ คณิ ตศาสตร์ หรือเคมี ได้คะแนนระดับปานกลางแล้ว วิชา
ภาษาอั ง กฤษจะเป็ นปั จจั ย สำา คั ญ ที่ จ ะส่ ง คะแนนให้ นั ก เรี ย นสอบติ ด ในคณะที่
คะแนนสู ง ๆ เช่ น แพทยศาสตร์ หรื อ วิ ศ วกรรมศาสตร์ เพราะค่ า เฉลี่ ย ของ
คะแนนสอบวิ ช าภาษาอั ง กฤษในรอบ 10 ปี ที่ ผ่ า นมา ประมาณ 34 คะแนน
เท่านั้น ถ้านักเรียนสามารถทำาคะแนนภาษาอังกฤษได้ 65 คะแนน ก็จะสามารถ
ทิ้งคู่แข่ง ได้อย่างขาดลอย ประมาณว่าจะสามารถขจัด คู่แข่ง ออกไปไม่น้อยกว่า
180,000 คนเลยที เ ดี ย ว สำา หรั บ นั ก เรี ย นสายศิ ล ป์ วิ ช าภาษาอั ง กฤษมี ค วาม
สำาคัญยิ่ง สำาคัญถึงขนาดอาจารย์บางท่านกล่าวว่า “สำาหรับเด็กสายศิลป์ แล้ว ถ้า
ทำาภาษาอังกฤษได้ (คะแนนดี) และเลือกคณะไม่สูงนักจะต้องสอบเอนทรานซ์ติด
อย่างแน่ นนอน” คำากล่าวนี้ มีสถิติตัวเลขของคณะกรรมการการอุดมศึกษา(สกอ.
)สนั บ สนุ น ผู้ ท่ีส อบเอนทรานซ์ ติ ด คณะวิ ช าของสายศิ ล ป์ ส่ ว นใหญ่ เ ป็ นผู้ ท่ี ส อบ
ภาษาอั ง กฤษผ่ า น 50 คะแนนเกื อ บทั้ ง สิ้ น เมื่ อเป็ นเช่ น นี้ นั ก เรี ย นทั้ งสาย
วิทยาศาสตร์และสายศิลป์ หลายคนที่คิดจะทิ้งภาษาอังกฤษ คงจะทบทวนความ
คิดของตัวเองใหม่ ยังไม่สายถ้าจะเริ่มเตรียมตัวตั้งแต่วันนี้ เวลาที่เหลือแม้จะไม่
มากนั ก แต่ น่ า จะเพี ย งพอสำา หรั บ การฝึ กปรื อ จนชำา นาญและพร้ อ มสำา หรั บ การ
สอบเข้ามหาวิทยาลัยระบบ Admissions และรับตรงที่กำาลังจะมาถึงในปี นี้
ทำาอย่างไรจึงจะสอบภาษาอังกฤษได้ 70 คะแนนขึ้นไป
1. ต้ อ งร้้ ศั พ ท์ ม าก เพราะข้อสอบภาษาอังกฤษเกือบทุกฉบับออกเกิน
หลักสูตรมัธยมปลายของกระทรวงศึกษาธิการเล็กน้อย (เพื่อให้สามารถแยกแยะ
นักเรียนได้) จึงมักมีคำาศัพท์ยากๆ อยู่เป็ นจำานวนมาก หากนักเรียนมีปัญหาด้าน
คำา ศั พ ท์ จ ะบั่ น ทอนคะแนนของนั ก เรี ย นเป็ นอย่ า งมาก เพราะนั ก เรี ย นจะอ่ า น
ข้อสอบไม่รู้เ รื่อง ไม่รู้ว่าเป็ นเรื่องเกี่ ยวกั บ อะไร โจทย์ ถ ามอะไร ไม่รู้จ ะเอาตรง
ไหนมาตอบ ก็เลยมั่วฝนคำาตอบ เสร็จแล้วก็นอนหลับในห้องสอบ (ข้อสอบภาษา
อังกฤษบางฉบับมี 40 หน้า เกือบ 5,000 คำา นักเรียนบางคนทำาเสร็จภายใน 15
นาที)
วิธีการเรียนคำาศัพท์ท่ีถูกต้องไม่ใช่การท่องศัพท์ท่ีเรียงตามตัวอักษร A – Z
เพราะการท่องวิธีน้ี สมอง (ซีรบ ี รัม) จะเก็บไว้เป็ นความจำาระยะสั้น (Short-Term
Memory) ซึง ่ นักจิตวิทยาได้ทำาการทดสอบแล้วจะค่อยๆ ลบเลือนภายใน 21–30
วัน การท่องศัพท์วิธีน้ี จึงเป็ นความพยายามที่สูญเปล่า ไร้ประโยชน์ วิธีท่ีน่าสนใจ
กว่าคือ การเรียนคำาศัพท์จากรากศัพท์ (Roots) อุปสรรค (Prefixes) และปั จจัย
(Suffixes) แล้ ว จึ ง ค่ อ ยท่ อ งศั พ ท์ เ ป็ นชุ ด ๆไป จึ ง จะจำา ได้ ง่ า ย และที่ สำา คั ญ เป็ น
ความจำา ระยะยาว (Long-Term Memory) ติ ด ตั ว เป็ นทั ก ษะของนั ก เรี ย นไป
2

ตลอด อี ก วิ ธีห นึ่ ง คื อการเดาศั พ ท์ จ ากบริบ ท (Contextual Clues) คือการเดา


ความหมายศั พ ท์ จ ากข้ อ ความที่ แ วดล้ อ มคำา ศั พ ท์ ท่ี เ ราไม่ ท ราบความหมาย
อย่างไรก็ตาม ผู้ท่ีจะเดาคำาศัพท์จากข้อความที่แวดล้อมได้ต้องผ่านการฝึ กฝนมา
มากพอสมควร และต้ อ งมี คำา ศั พ ท์ เ ก็ บ สะสมไว้ (Vocabulary Stock) จำา นวน
มาก ต้องอ่านหนังสือมามาก และต้องอาศัยประสบการณ์พอสมควร จึงเป็ นวิธีท่ี
นักเรียนมัธยมปลายบางคนใช้ไม่ค่อยได้ผลนัก ส่วนวิธีท่ีเป็ นที่นิยมในปั จจุบันก็
คือ การอาศัยการท่องศัพท์จากทำานองเพลง ซึง ่ ก็เป็ นวิธีท่ีน่าสนใจ แต่บางครั้งไม่
สามารถแยกความหมายของ Synonyms แต่ละคำาได้
2. ต้องมีความสามารถพื้นฐานทางด้านไวยากรณ์ นักเรียนไม่จำาเป็ น
ต้องรู้พ ลิก แพลงหลักไวยากรณ์ยากๆ ที่ละเอียดมากๆ แต่ควรรู้แนวคิดพื้นฐาน
(Basic Concepts) ของไวยากรณ์แต่ละเรื่องเพราะความรู้ด้านไวยากรณ์จะช่วย
ให้นั กเรียนอ่านเรื่องได้เ ข้าใจลึก ซึ้ง ยิ่ง ขึ้น แม้ว่าข้อสอบคัด เลือ ก มัก ไม่ ทดสอบ
ความรู้ด้านไวยากรณ์โดยตรงก็ตาม หัวข้อทางไวยากรณ์ท่ีนักเรียนควรทบทวน
ไ ด้ แ ก่ Tenses, Non-finite Verbs (Gerund, Infinitive, Participle),
Reported Speech, Question Tag, Phrasal Verbs, Conditional
Sentence และ Structure แบบต่างๆ เป็ นต้น เป็ นที่คาดการณ์ว่า ข้อสอบ O-
NET น่ าจะมีข้อสอบวัดความรู้ด้านไวยากรณ์ไม่นอ ้ ยกว่า 20%
3. ต้ อ งร้้ เ ทคนิ ค การแปลจากภาษาอั ง กฤษเป็ นภาษาไทย เพราะ
ข้ อ สอบแทบทุ ก แบบทั้ ง 80-100 ข้ อ เป็ นข้ อ สอบให้ นั ก เรี ย นอ่ า นทั้ ง สิ้ น เมื่ อ
นักเรียนอ่านแล้ว กระบวนการต่อมาก็คือการแปลเป็ นภาษาไทยนั่นเอง เป็ นกระ
บวนการที่ สำา คั ญ มาก โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง การแปลในใจขณะที่ นั ก เรี ย นอ่ า น
แน่ นอนว่านักเรียนไม่จำาเป็ นต้องแปลได้ทุกคำาพูด แต่ต้องพอแปลแล้วจับใจความ
เป็ นภาษาไทยได้ ซึ่ง ต้อ งอาศั ยการฝึ กฝนที่ ถู ก วิธี การอ่า นข้ อความที่ แปลเป็ น
ภาษาของเรา (ภาษาไทย) แล้ ว ย่ อ มเข้ า ใจได้ ง่ า ยกว่ า การอ่ า นภาษาต่ า ง
ประเทศ นั ก เรี ยนลองเปรี ยบเที ยบระหว่ างนั ก เรี ยนอ่ านหนั ง สื อพิ ม พ์ ค มชั ดลึ ก
กั บ หนั ง สื อ พิ ม พ์ The Nation ว่ า นั ก เรี ย นอ่ า นข่ า วเดี ย วกั น อ่ า นฉบั บ ใดแล้ ว
เข้ า ใจมากกว่ า กั น คำา ตอบจะเป็ นเครื่องยืนยันว่าการแปลเป็ นภาษาไทยสำา คัญ
มากน้อยเพียงใด
4. ต้องร้้จั กเทคนิ ค การอ่ าน เช่น เทคนิ คการหาความคิดหลัก (Main
Idea), หั ว เรื่ อง (Topic), ชื่ อเ รื่ อง (Title), การแทน สรรพ นาม (Pronoun
Reference), การสรุป (Inference), ความมุ่งหมาย (Purpose) ต่างๆ เหล่านี้
ล้วนเป็ นสิ่งที่ปรากฏอยู่ในข้อสอบคัดเลือกทุกฉบับเป็ นประจำาทุกปี
5. ต้องร้้จักสำานวนหรือสุภาษิตง่ายๆ ทีใ่ ช้ในชีวิตประจำาวัน เช่น
Keep your fingers crossed. หวังว่าคุณคงโชคดี
It’s a piece of cake. มันเป็ นเรื่องง่ายๆ ของหมูๆ
You must be pulling my leg. คุณต้องล้อผมแน่ ๆ
The show must go on. งานแสดงต้องดำาเนิ นต่อไป
Mr.Oak is a man of means. คุณโอ๊คเป็ นมหาเศรษฐี
เพราะสำา นวนเหล่านี้ มักเป็ นสิ่งที่ข้อสอบยุคใหม่ ต้องการทดสอบความรู้ผู้
เข้าสอบอยู่เ สมอๆ ถ้านักเรียนไม่ทราบความหมายมาก่อน ไปแปลหรือตีค วาม
ตรงๆ ตามรูปศัพท์ ก็จะสับสนได้
6. ต้ องฝึ กหั ด ทำา ข้ อส อบ Entrance CU-TEP TU-GET TOEFL
3

(PBT และ CBT) IELTS และ SAT อย่างน้อย 10-20 ฉบับ เพื่อให้ชินกับ
ข้อสอบที่มีความยาวขนาด 2,000 – 3,000 คำา จำานวน 20–30 หน้า โดยใช้เวลา
2-3 ชั่ ว โ ม ง เ ป็ น ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม คุ้ น เ ค ย กั บ ลั ก ษ ณ ะ แ น ว ข้ อ ส อ บ
Communicative English ที่มักประกอบด้วย
- Dialogues ขนาดสั้นและยาว 10-15 ข้อ
- Letters 1 – 2 เรื่อง
- Data Presentation & Statistical Description ในรู ป ทั้ ง การอ่ า น
และการเขียน
- Advertisement, News, Cartoon, Job Application, Manual,
Label etc. 1 – 2 เรื่อง
- Vocabulary Test ใ น รู ป ข อ ง Synonym Matching Sentence
Completion และ Analogy
10 ข้อ
- Error Detection Test 5 – 10 ข้อ
- Cloze Tests 2 – 3 เรื่อง
- Speed Reading 5-10 ข้อ
- Passages 3 – 5 เรื่อง ขึ้นอยู่กับความยาวของแต่ละเรื่อง 40-50 ข้อ
- Paragraph Writing เติมบทความความยาวขนาด 2-3 ย่อหน้า ตาม
หัวข้อต่างๆ เช่น การเมืองเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี สิ่ง
แวดล้อม สาธารณะสุข เป็ นต้น เป็ นข้อสอบอัตนัยโดยการอาศัยการ
ตรวจคะแนนจากการใช้ คำา ศั พ ท์ โครงสร้ า งไวยากรณ์สำา นวนการ
เขียน และความคิดเห็นของนักเรียน โดยข้อสอบจะเว้น ที่ใ ห้เ ติม 2-4
คำา ส่วนนี้ จะอยู่ใน A-NET
7. ต้องร้้กลเม็ด (Tricks) ในการเดาคำา ตอบ เพราะถ้านักเรียนอ่าน
ข้อสอบแล้วมืดแปดด้าน แปลไม่ออก อ่านไม่รู้เรื่องเลย นักเรียนจะต้องรู้ว่า
ควรจะเดาคำา ตอบจากตัวเลือก (Choices) ได้อย่างไร โดยใช้ก ลเม็ดจาก
การวิ เ คราะห์ คำา ตอบด้ ว ยทฤษฎี ค วามน่ า จะเป็ น (Probability Theory)
ซึ่งผู้อ่อนภาษาอังกฤษก็สามารถเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อใช้ในการเดา
ในคำาตอบได้อย่างถูกต้อง แม่นยำา พอสมควรตามทักษะที่ได้รับการฝึ กฝน
ตามทฤษฎีความน่ าจะเป็ น
เทคนิ คการอ่านภาษาอังกฤษ
ความสามารถในการอ่านมี 2 ประการ คือ
1. ความสามารถในการอ่านข้อสอบได้อย่างรวดเร็ว
สืบเนื่ องมาจากการสอบนั้นมักให้เวลาจำากัด ดังนั้นการอ่านอย่างเร็วจะช่วยให้มี
สมาธิดีและสามารถจดจำาสิ่งที่อ่านได้ดี
หมายเหตุ : หากไม่สามารถทำาข้อสอบได้ครบทุกข้อ จะมีผลเท่ากับผ้้ท่ีทำาข้อสอบ
ไม่ได้
2. ความสามารถในการเข้าใจเรื่องทีอ
่ ่าน
4

นอกจากการอ่านเรื่องได้อย่างรวดเร็วแล้ว ยังต้องเข้าใจได้อย่างถูกต้องและทราบ
ความคิดหลักของเนื้ อเรื่องนั้นๆ และต้องวิเคราะห์ได้ว่าผู้เขียนมีวัตถุประสงค์
อย่างไร
กลวิธีการอ่าน ( Reading Techniques )
การทำาข้อสอบในภาคการอ่านให้ได้คะแนนดี มีหลักสำาคัญที่จะช่วยให้อ่านอย่าง
รวดเร็วและเข้าใจเรื่องที่อ่านได้เป็ นอย่างดี สามารถทำาได้ดังนี้

การเพิม
่ อัตราเร็วในการอ่าน
การเพิ่มอัตราเร็วในการอ่าน เป็ นสิง ่ ที่ผู่อ่านควรจจะฝึ กฝนตนเองอยู่เสมอเพราะ
ยิ่งอ่านได้เร็วเท่าไรก็ยิ่งได้เปรียบมากเท่านั้น การเพิ่มอัตราเร็วในการอ่านจะช่วย
ให้การอ่านมีประสิทธิภาพได้ดีขึ้น
กลวิธีทัว
่ ไปในการเพิม
่ อัตราเร็วในการอ่าน
1. การอ่านเป็นหน่วยความคิด
หมายเหตุ : ในการอ่านแต่ละครั้งจะต้องอ่านให้ได้อย่างน้อย 1 ใจความเพราะจะ
ช่วยให้สามารถร้ค
้ วามหมายของข้อความต่างๆได้เร็วขึ้น
2. การฝึกอ่านในใจจะได้ยินเสียงของตัวเองดังก้องในโสตประสาท
หมายเหตุ : การอ่านโดยการขยับริมฝี ปากและการสั่นของกล่องเสียงจะทำาให้
อ่านได้ช้าลง
3. ใช้วิธส
ี ร้างมโนภาพจากตัวหนังสือให้เกิดเป็นร้ปร่าง
หมายเหตุ : จะช่วยให้จดจำาได้ง่ายขึ้น หากมองเห็นภาพได้เร็วเท่าไรก็จะอ่านได้
เร็วมากขึ้น
4. อย่าอ่านข้อความในแต่ละประโยคกลับไปกลับมา
หมายเหตุ : เมื่ออ่านข้อความในย่อหน้าจบแล้วแต่ยังไม่เข้าใจจะกลับไปอ่าน
ตั้งแต่ต้นอีกได้

5. ควรจับสายตาไว้เหนื อแนวตัวหนังสือหรือข้อความทีอ
่ ่านเล็กน้อย
หมายเหตุ : โดยอ่านแบบกวาดสายตาจับข้อความเป็ นกลุ่มๆ
6. อ่านจากบนลงล่าง โดยการฝึกช่วงกว้างของสายตาให้กว้างทีส
่ ุด
หมายเหตุ : ฝึ กอ่านโดยการขีดเส้นตรงจากบนลงมาล่างให้อย่้กึ่งกลางหน้าหรือ
ข้อความนั้นแล้วใช้สายตาจับที่เส้นกึ่งกลางให้อ่าน โดยเลื่อนสายตาลงมาทีละ
บรรทัดจนจบข้อความที่ต้องการ
7. อ่านข้อความทีก
่ ำาหนดให้อย่างรวดเร็ว 1 รอบ
หมายเหตุ : เมื่อทราบเรื่องราวและตำาแหน่งของข้อความอย่างคร่าวๆแล้ว หากจะ
ตอบคำาถามค่อยย้อนกลับไปอ่าน

8. ขณะอ่านไม่ควรขีดเส้นใต้ข้อความต่างๆ
5

หมายเหตุ : การขีดเส้นใต้ข้อความสำาคัญเหมาะกับการทบทวน แต่ไม่เหมาะใน


การทำาข้อสอบเพราะจะทำาให้อ่านช้าลง
9. การอ่านในหนึ่งย่อหน้า ทุกครัง
้ จะต้องอ่านประโยคแรกและประโยค
สุดท้ายของย่อหน้าก่อนเสมอ

10. การอ่านควรอ่านอย่างมีสมาธิ
หมายเหตุ : ฝึ กฝนสมาธิให้แน่วแน่ และพยายามเข้าใจให้ได้ทันทีเมื่อเริ่มอ่าน
ทัง
้ หมดทัง
้ มวลจาก : http://school.obec.go.th/phopit/reading
%20techniques.htm
Note from Tiggs: เป็ นเทคนิ คในการสอบภาษาอังกฤษส่วนของ reading
comprehension ที่เน้นการอ่านเร็ว (speed reading) แต่คิดว่าเอาหลักการใน
หลายข้อไปประยุกต์ใช้กับการอ่านหนังสือของตัวเองได้นะ ลองเอาไปประยุกต์ใช้
กันดูจ้า
ป.ล. ที่ hilight ไว้ mark ประเด็นที่ชอบเป็ นส่วนตัวจ้า
Build your English reading skill
.
สวัสดีครับ กลับมาพบกันใหม่สำาหรับบทความในชุดฝึ กษาตามแบบของผมนะครับ
ห่างกันไป 1 สัปดาห์เต็มๆ ที่ผมค้างไว้กบ ั การฝึ กทักษะการฟั ง ไม่รู้ว่ามีใครได้ลอง
ทำาดูมัย๊ นะครับ
สำาหรับสัปดาห์ท่ีผ่านมา ถ้าเพื่อนๆ ท่านใดได้เข้ามาที่บล๊อคนี่ ก็คงจะทราบเกี่ยว
กับผล GMAT ของผมแล้ว
ยังไงก็แล้วแต่ GMAT is not the end of the world ครับ ผมยังคงต้องสู้ต่อไป
ไม่ง้ันเดีย
๋ วจะพลอยหมดกำาลังใจ แล้วก็จะเขียนบทความชุดนี้ ไม่จบกันพอดี
ผมยังเชื่อครับ ว่าถ้าเราฝึ กฝนอย่างต่อเนื่ อง วันนึ งเราก็จะพัฒนาเอง
กฏนี้ ใช้ได้กบั ทุกๆ อย่างทั้งกับ GMAT, TOEFL และการฝึ กภาษาอังกฤษที่ผม
กำาลังเขียนถึงอยู่น่ี ด้วย
สำาหรับวันนี้ ผมจะพูดถึงการฝึ กทักษะตามธรรมชาติท่ีค้างไว้ โดยจะพูดถึงเรื่อง
การอ่าน (Reading) ก่อนนะครับ
ส่วนทักษะการเขียน (Writing) และทักษะการพูด (Speaking) นั้น ผมจะทยอย
เขียนในโพสต่อๆ ไปครับ
โดยเรายังคงจะใช้หลักการเดิมในการฝึ กคือ “ใช้ให้บ่อยๆ” และ “ใช้ทัง ้ ๆ ที่
ไม่ร“้
ยังไงซะ ผมขอเพิ่มเติมไว้ตรงนี้ก่อนนะครับ ว่ากระบวนการฝึ กของผมนั้น
ไม่ใช่กระบวนการที่จะเร่งผลลัพธ์เอาเร็วๆ ได้ มันเป็ นกระบวนการที่ต้องฝึ กอย่าง
ต่อเนื่ อง
แล้วใช้เวลาสักพักครับ การฝึ กของเราจะ bear fruit แน่ ๆ
(bear fruit เป็ น collocation ที่แปลว่า จะผลิดออกออกผล หรือ จะเกิด
ประโยชน์ครับ)
6

========================================
===================
.
การฝึกทักษะการอ่าน (Reading Skill)

ทักษะการอ่านนั้น เป็ นทักษะฝั่ ง Input ทักษะที่ 2 ถัดจาก “การฟั ง” ที่ผมได้เล่า


วิธีการฝึ กของผมไปแล้ว
ในส่วนของทักษะการอ่านนั้น ผมเชื่อเหลือเกินว่า เป็ นทักษะการใช้ภาษาอังกฤษที่
คนไทยส่วนใหญ่
มีความเชี่ยวชาญมากที่สุด และไม่ว่าจะเป็ นการเรียนรู้ภาษาใดๆ ทักษะการอ่านนี้
ก็มกั จะเป็ นทักษะแรกๆ
ที่ผู้เรียนรู้ภาษานั้นจะมีความเชี่ยวชาญได้ก่อนทักษะอื่นๆ
เท่าที่ผมลองคิดๆ ดู สาเหตุหลักคงเป็ นเพราะ การอ่านเป็นทักษะทีไ
่ ม่เร่งรีบนัก
ไม่เหมือนกับทักษะการพูด และทักษะการฟั ง ที่มักจะมีกรอบของเวลามากำาหนด
เราจึงมีปัญหา เช่น ฟั งไม่ทัน หรือคิดคำาพูดมาพูดไม่ออก
นอกจากทั้น ทักษะการอ่านเป็ นทักษะที่ เราไม่ต้องร้้กฏต่างๆ เยอะแยะ
มากมาย
หลายๆ อย่างสามารถเดาความหมายได้ เช่นการอาศัยบริบทรอบข้างของศัพท์
หรือประโยคนั้น
ในขณะที่ในการพูด การฟั ง เราแทบไม่สามารถเอาการคาดเดามาใช้ได้เลย
ในบทความนี้ ผมจะพูดถึงทักษะการอ่านใน 2 เรื่องด้วยกันคือ เรื่องเทคนิ คการ
อ่านภาษาอังกฤษ
และ วิธีการฝึ กการอ่านของผม โดยก่อนอื่นผมขอเริม ่ จากเทคนิ คการอ่านภาษา
อังกฤษของผม
ซึ่งผมเชื่อว่า หลายๆ เทคนิ คเพื่อนๆ ทราบดีอยู่แล้ว ยังไงก็ลองอ่านดูนะครับ
.เทคนิ คการอ่านภาษาอังกฤษของผม
• Block Reading
วิธีการอ่านที่ผมอยากแนะนำาให้เพื่อนๆ ใช้คือการอ่านแบบ Block
หรือการอ่านแบบกวาดสายตากว้างๆ เป็ นการอ่านทีเดียวทั้งประโยคหรือ
อาจมากกว่า 1 ประโยค
แทนที่จะเป็ นการอ่านแบบ Word-by-word
วิธีการอ่านแบบนี้ จะช่วยให้เราไม่ติดอยู่กับคำาไม่ก่ีคำาที่ไม่เข้าใจ จนทำาให้
การอ่านสะดุด
เพราะปกติแล้ว คนที่มีปัญหาการอ่านภาษาอังกฤษ จะมีปัญหาอ่านช้า และ
งงๆ กับสิง่ ที่อ่าน
เพราะเราชินกับการไล่อ่านทีละคำา พอเจอคำายาก เราก็หยุดคิด แล้วก็
พลอยลืมเนื้ อหาที่อ่านผ่านมา
การอ่านแบบ Block นี้ต้องใช้ร่วมกับกระบวนการอื่นๆ ข้างล่างนี้ ด้วยครับ
.
7

• Context Clues
คือการคาดเดาความหมายของคำาที่เราไม่รู้ โดยอาศัยบริบท หรือประโย
ครอบๆ คำานั้นเป็ นตัวช่วย
การใช้ Context clues เป็ นสิ่งที่เราถูกสอนในคาบเรียนภาษาอังกฤษ
ตั้งแต่สมัยประถมหรือมัธยมแล้ว
วิธีการนี้ ผมคิดว่าเป็ นวิธก
ี ารที่ถูกต้องในการอ่าน การอ่านที่ดีเราจะต้องไม่
เปิ ดดิกไปๆ มาๆ
แต่พยายามอ่านให้จบ โดยพยายามเข้าใจเนื้ อหาให้ได้มากที่สุด แม้ว่าเรา
อาจจะสูญเสีย
เนื้ อหาบางส่วนไปก็ตาม ทั้งนี้ เพราะถ้าเราเปิ ดดิก เราจะเสียสมาธิ และจะ
ติดเป็ นนิ สัยที่ขาดดิกไม่ได้
ในขณะที่ถ้าเราทำาใจ ว่าจะไม่เปิ ดดิก แล้วฝึ กอ่านไปเรื่อยๆ เป็ นประจำา เรา
จะได้นิสัยใหม่
ในการเป็ นคนที่ช่างสังเกต ไม่นานเราจะเริ่มอ่านได้เป็ นธรรมชาติขึ้น
.
แต่การอ่านแบบ Block Reading โดยใช้ Context Clues ช่วย มันจะเกิด
ไม่ได้เลยนะครับ
ถ้าเราไม่รู้ศัพท์พ้ ืนฐานที่จำาเป็ นก่อน ดังนั้น กระบวนการท่องศัพท์ท่ีผมได้
อธิบายไปในบทความตอนเก่าๆ
เราจะต้องทำาควบค่ก ู ันไปด้วย เราต้องอ่านทุกวัน ในขณะที่เพิ่มศัพท์เข้าไป
ในหัวเราทุกๆ วันเช่นกัน
.
• Paraphrasing
เทคนิ คต่อไปคือเทคนิ ค Paraphrasing หรือการเอาสิ่งที่เราอ่าน มาพูดอีก
ครั้งในภาษาที่เราเข้าใจได้ง่าย
ในการอ่านของผมนั้น เวลาที่ผมอ่านเนื้ อหาได้ช่วงนึ ง เช่น 1-2 ประโยค ผม
จะเริ่มกระบวนการ
แปลเนื้ อหาพวกนั้น เป็ นภาษาของผม (แปลเป็ นภาษาไทยนะครับ เพราะ
ผมยังคิดเป็ นภาษาไทยอยู่ครับ)
พอผมแปลเป็ นภาษาของผมแล้ว ผมจะเข้าใจเนื้ อหานั้นมากขึ้น และพอจะ
ต้องกลับมาใช้เนื้ อหาตรงนั้นอีก
มันก็จะง่ายขึ้น ในการ Paraphrase นั้น เราไม่ต้อง Paraphrase ละเอียด
มากมาย
แค่ให้จับใจความใหญ่ ของเนื้ อหาได้ก็พอ ยกตัวอย่างนะครับ
.
“First Energy, a Midwest stalwart centered in Ohio with
operations
that sprawl over several states, actually edged up very slightly
in revenue
while adjusted earnings increased to 87 cents per share
compared to 85 cents a share in last year’s second quarter.“
.
8

ถ้าจะ Paraphrase ผมจะแปลได้ประมาณนี้ ครับ


.
“บริษท
ั First Energy (โห ทำาธุรกิจในหลายรัฐนะเนี่ ย)
มีรายได้เพิ่มขึ้นนิ ดหน่ อย ไตรมาสที่แล้วกำาไร/หุ้น เพิม
่ 2 เซ็น (เองเหรอ)“
.
ตรงที่ผมวงเล็บไว้ เป็ นประโยคที่แสดงความรู้สก
ึ ของผมต่อบทความที่อ่าน
เพราะพอเราใส่อารมณ์เราเข้าไป หรือใส่ประโยคตลกๆ ความคิดตลกๆ
เข้าไป เราจะจำาเนื้ อหาได้ดีขึ้น
.
• Visualization
เทคนิ คสุดท้ายในการอ่านคือการสร้างภาพในสมองของเรา
(Visualization)
ซึ่งเป็ นเทคนิ คที่ผมได้จากการเรียนกับอาจารย์บุญชัยที่ Fast-english
ส่วนตัวแล้ว ผมคิดว่าการ Visualize สิ่งที่อ่านให้เป็ นภาพเนี่ ย ก็จะคล้ายๆ
กับเทคนิ ค Paraphase เดิมของผม
ต่างตรงที่ การ Paraphase มันเหมือนกับการเอาสิ่งที่อ่านมา Replay
เป็ นเสียงภาคภาษาไทย ให้ตัวเองฟั ง
แต่การ Visualize มันเป็ นการเอาสิ่งที่อ่านมา Replay เป็ นทั้ง ภาพ และ
เสียง ที่ตัวเองเข้าใจ
ซึ่งแน่นอนครับ ว่าการเห็นภาพด้วย มันย่อมทำาให้เราเข้าใจได้ดีกว่า การมี
แต่เสียงเป็ นแน่
.
แต่ทุกวันนี้ ผมก็ยังไม่สามารถใช้เทคนิ คการสร้างภาพนี้ กับการอ่านได้
ทั้งหมด
โดยเฉพาะบทความที่ยากๆ และไม่ค่อยมีตัวละคร เช่นเป็ นบทความที่
Abstract หรือเป็ นนามธรรมมากๆ
ซึ่งสุดท้ายผมก็ต้องกลับไปที่การ Paraphrase ตามแนวเดิมของผม
.
แต่ตอนที่เรียนกับอาจารย์บุญชัย อาจารย์จะเก่งมาก ไม่มีตัวละคร อาจารย์
ก็สร้างขึ้นมาเอง
แล้วก็เช่นกันครับ การสร้างภาพเนี่ ย อาจารย์บุญชัยจะแนะนำาว่า เราควร
สร้างภาพให้มีจุดเด่น
เช่น ทำาให้เป็ นเรื่องตลก จินตนาการให้ตัวละครบางตัว ตัวใหญ่หรือเล็กกว่า
ความเป็ นจริงเป็ นต้น
บางครั้งอาจารย์แกสร้างขึ้นมาแม้กระทั่งกลิน ่ แบบว่าพออ่านเจอประโยคที่
เกี่ยวกับกลิ่นเหม็นนี่ แกจะปิ ดจมูกเลยก็มี
ผมขอยกตัวอย่างประโยคเดิมข้างต้นนะครับ มาดูว่าถ้าสร้างภาพในหัว ผม
จะได้ภาพอะไรนะครับ
.
เนื่ องจากผมกำาลังดู Series เรื่อง 24 อยู่นะครับ ดังนั้น ภาพมันอาจจะออก
ไปในแนว Action หน่ อยๆ
9

ผมก็ไม่รู้จะถ่ายทอดออกมาเป็ นตัวหนังสือยังไง เอาเป็ นว่าจะลองบรรยายดู


นะครับ
(อ้อ ตัวผมเล่นเป็ นพระเอก Jack Bauer นะครับ ถ้าใครเคยดู จะเห็นภาพ
เลย)

“ภาพในหัวผมเริ่มจากการ pan กล้องจากมุมสูง (อยู่บนเฮลิคอปเตอร์)


มองลงไปเห็นโรงงานหรือโรงไฟฟ้ า เต็มไปหมด บินไปที่ไหนก็เจอโรงงาน
ของบริษท ั นี้
สักพักผมก็จอดเฮลิคอปเตอร์ (ลมพัดแรงมากครับ) แล้วก็พยายามวิ่งเข้าไป
ที่โรงงาน
มีคนชุดดำาวิ่งมารับผม เราตะโกนคุยกันสู้เสียงใบพัดเฮลิคอปเตอร์
.
ผม: เฮ้ ธุรกิจเราเป็ นยังไงมั่งเนี่ ย
คนชุดดำา : อะไรนะ ผมไม่ค่อยได้ยินเลย !?
ผม: ผมถามว่า ธุรกิจเรากำาไรเป็ นยังไงมั่ง แล้วเรื่องลด Cost ล่ะ ทำาไปถึง
ไหนแล้ว
คนชุดดำา : อ๋อ ธุรกิจก็โอเค กำาไรดีขึ้นนิ ดหน่ อย เรื่องลด Cost ก็ทำาไปแล้ว
ล่ะ
ผม: อื้อ.. ดีน่ี คุณมีอะไรจะรายงานผมอีกมัย ๊ ถ้าไม่มีผมขอตัวก่อน ต้องรีบ
ไปหยุดระเบิดนิ วเคลียร์อีก!! “
.
สิ่งที่ผมได้จากการไปเรียนที่ Fast-english คือการได้รู้ว่า สมองซีกขวา
ของเรานั้น
มีศักยภาพมากๆ สมองส่วนนี้ รับผิดชอบในส่วนของการสร้างสรรค์ การ
จินตนาการ รวมทั้งการสร้างภาพด้วย
จากตัวอย่างการ Visualize ที่ผมเขียนแสดงให้ดู อาจจะดูเหมือนยาว แต่ใช้
พลังสมองน้อยมากครับ
ยิ่งถ้าฝึ กทำาบ่อยๆ เนี่ ย เราจะสร้างภาพได้เร็วมาก และที่สำาคัญ ภาพที่เรา
สร้างจะเป็ นภาพติดตาเลย
ถ้าต้องเจอข้อสอบที่เป็ น Reading เนี่ ย เราจะตอบได้โดยแทบไม่ต้องกลับ
ไปอ่าน
หรือถ้าต้องกลับไปอ่านจริงๆ เราก็จะรู้ว่าต้องไปอ่านตรงไหน
.
สำาหรับเทคนิ คที่ผมใช้หลักๆ ก็จะมีเพียงเท่านี่ครับ แต่ผมอยากจะเน้นอีกครั้งนะ
ครับว่า
เราต้องมีข้อมูลเกี่ยวกับภาษาอังกฤษอยู่ในหัวอยู่พอสมควรก่อน จึงจะสามารถใช้
เทคนิ คเหล่านี้ ได้
ดังนั้น การท่องศัพท์ หรือการป้ อนข้อมูลเข้าไปในสมองจะสำาคัญมาก
และผมยังยืนยันคำาเดิมครับ ว่าอยากให้ทุกๆ คนลองใช้ SuperMemo ดูสก ั 1-2
เดือน
แล้วจะรู้ว่าการจำาศัพท์ให้ได้น้ัน มันก็ไม่ได้ยากเท่าไร และมันจะช่วยให้เรา อ่าน
10

และ ฟั งได้ดีขึ้นมากครับ
.
วิธีการฝึกการอ่านภาษาอังกฤษของผม
ผมต้องบอกตามตรงนะครับ ว่าปั จจุบน ั ผมค่อนข้างตั้งตนอยู่ในความประมาทกับ
เรื่องการอ่านมาก
เพราะมักจะคิดว่า ตัวเองนั้นอ่านได้ดีพอสมควรแล้ว โปรแกรมฝึ กการอ่านใน
ปั จจุบันของผมนั้น
เรียกได้ว่า อ่อนมากๆ แต่น่ันเพราะเมื่อ 5-6 ปี ก่อนผมได้มีโอกาสฝึ กฝนการอ่าน
แบบจริงจัง
และต่อเนื่ องมานานกว่า 2 ปี ดังนั้นผมจะเขียนถึงโปรแกรมการฝึ กทั้งในปั จจุบน

และในอดีตของผมนะครับ
ผมแนะนำาว่า ควรจะฝึ กตามโปรแกรมฝึ กในอดีตของผม จะได้ผลดีกว่า
.
• ตารางฝึกในปั จจุบัน
ผมมีเงื่อนไขคือ อ่านบทความภาษาอังกฤษ เพียงวันละ 1 บทความก็พอ
และเน้นอ่านเฉพาะบทความที่ชอบเท่านั้น เพราะผมเชื่อว่า
การฝึ กแบบต่อเนื่ องแบบผมเนี่ ยถ้าต้องฝื นใจตัวเอง ผมจะทำาได้ไม่นาน
.
ทุกๆ วันนี้ ผมเน้นอ่านผ่านเว็บไซต์เป็ นหลัก แล้วก็อ่านจากเว็บเฉพาะที่ตน
สนใจ
ยกตัวอย่างเช่น ผมสนใจมือถือรุ่นใหม่ๆ (แต่ไม่ค่อยมีเงินซื้อคับ อิอ)ิ
ผมก็จะเข้าไปอ่าน Review ในเว็บฝรั่งเป็ นประจำา
หรืออย่างเรื่องเกี่ยวกับ การเงินการลงทุน ผมก็มีเว็บประจำาของผม
สิ่งที่ทำาก็คือ อ่านเฉยๆ ครับ ไม่ต้องเปิ ดดิก อ่านเอาความบันเทิงเท่านั้น
อ้อ… ผมไม่แนะนำาให้อ่านข่าวนะครับ มันน่ าเบื่อน่ ะครับ อ่านแป๊ บๆ ก็เบื่อ
แล้ว
.
• การฝึกในอดีตของผม
ผมอยากให้เพื่อนๆ ที่อยากจะฝึ ก ฝึ กตามวิธีน้ี นะครับ ที่แนะนำาแบบนี้
เพราะผมรู้สึกว่า ทุกวันนี้ ท่ีผมอ่านภาษาอังกฤษได้ค่อนข้างโอเค ก็เพราะ
ผมฝึ กวิธีน้ี ล่ะครับ
.
เมื่อ 5-6 ปี ก่อน ผมเคยทำาเว็บไซต์เกี่ยวกับ Computer Hardware
และผมจะลงข่าวความเคลื่อนไหวในวงการ โดยแปลเป็ นภาษาไทยให้กับ
คนที่เข้ามาอ่าน
ส่งผลให้ ทุกๆ วัน ผมต้องแปลข่าวจาก อังกฤษ เป็ นไทย ประมาณวันละ 1-
2 ข่าว
(ข่าวสั้นๆ ประมาณ ครึง ่ หน้ากระดาษครับ) ผมทำาต่อเนื่ องอยู่ประมาณ 2 ปี
จนเว็บปิ ดตัวลงไป
.
11

ในตอนแรกผมไม่คิดด้วยซำ้า ว่าผมจะได้อะไรจากการทำาแบบนี้
ตอนนั้นคิดอย่างเดียว ว่าอยากจะทำาเว็บให้มน ั ดี ให้คนที่เข้ามาดูเค้าได้ข่าว
สารใหม่ๆ
หลังจากเลิกทำาเว็บไป ผมเริ่มได้อ่านภาษาอังกฤษบ่อยขึ้น และเริ่มรู้สึกว่า
เอ๊ะ! ทำาไมเราอ่านได้คล่องจัง แล้วก็ไม่รู้สึกอึดอัดตอนอ่านด้วย
ลองมาพิจารณาดู ผมคิดว่านี่เป็ นผลพลอยได้จากสิ่งที่ผมทำาครับ
ดังนั้น ถ้าท่านใดอยากจะฝึ กวิธน
ี ้ี ผมแนะนำาให้ทำาตามขั้นตอนนี้ นะครับ
1. หาเว็บไซต์ หรือ สื่ออื่นๆ ที่ตีพม
ิ พ์เป็ นภาษาอังกฤษ ในหัวข้อที่ท่านสนใจ
เช่น ถ้าท่านสนใจเกี่ยวกับ สุขภาพ ท่านก็หาเว็บไซต์ท่ีเป็ นแนวๆ สุขภาพ
2. เข้าเว็บไซต์น้ัน สัปดาห์ละ 3-4 ครั้ง ในทุกๆ ครั้งที่เข้าไปให้ท่านเลือก
บทความที่สนใจ
และคิดว่ายังไงซะท่านก็จะอ่านอยู่แล้วมา 1 บทความ
3. อ่านเหมือนที่เคยอ่านปกติ แต่ให้ท่านแปลบทความนั้นเป็ นภาษาไทย
ด้วย 1 ชุด
โดยมีเงื่อนไขคือ แปลเป็ นภาษาของท่านเอง จะเป็ นภาษาพูด หรือภาษา
เขียนก็ได้
ไม่จำาเป็ นต้องสละสลวย แต่สิ่งที่แปล ต้อง Capture เนื้ อหาส่วนใหญ่ของ
บทความไว้ได้
ทำาแบบนี้ ไปเรื่อยๆ ครับ 1 เดือนท่านจะได้อ่านและแปลอย่างตำ่าๆ ก็ 12-15
บทความ
ขึ้นอยู่กับความขยันของท่าน ประโยชน์ท่ีท่านจะได้รับแน่ ๆ คือ
ได้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่ตัวเองสนใจ และเริ่มอ่านคล่องขึ้นเรื่อยๆ ที่สำาคัญ
การอ่านของท่าน
จะเป็ นการอ่านเพื่อเอาความ ไม่ใช่อ่านเพื่อผ่านๆ ไป ในขณะเดียวกันท่าน
จะ develop
ทักษะในการเขียนที่ดีในอนาคตได้ เนื่ องจากได้ Input ข้อมูลในสมองเยอะ
ขึ้นทุกๆ วัน

You might also like