You are on page 1of 36

รวมคาถา79บทของหลวงพ่อฤาษีลงิ ดา

สูตรเร่งร ัดอภิญญาฝึ กมโนก ันตายโหงตายอย่างสุคติสวรรค์ทไี่ ปและคาถาอีก 70บท

หลวงพ่อพระราชพรหมยาน
(หลวงพ่อฤาษีลงิ ดํา) วัดท่าซุง อ.เมือง จ.อุทัยธานี

พระธาตุเกศาของหลวงพ่อพระราชพรหมยาน วัดจันทาราม(ท่าซุง) จ.อุทัยธานี


พระธาตุชานหมาก ของหลวงพ่อพระราชพรหมยาน วัดจันทาราม(ท่าซุง) จ.อุทัยธานี

พระธาตุ ของหลวงพ่อพระราชพรหมยาน วัดจันทาราม(ท่าซุง) จ.อุทัยธานี

คาสวดธ ัมมะจ ักร


ธัมมะจักรนีถ ้ ้าท่านใดได ้สวดจะทําให ้ชวี ต ิ เจริญรุง่ เรือง ไม่วา่ จะเป็ นกิจการงาน แขนงไหนทีท ่ ําอยูจ
่ ะมี
ความเจริญก ้าวหน ้า เพราะว่าธัมมะจักรเป็ นพระธรรมเทศนากัณฑ์แรกทีพ ่ ระพุทธเจ ้าได ้ทรงแสดงโปรด
นักบวชปั ญจวคีย ์ และยังเป็ นวงล ้อทีห ่ มุนเป็ นครัง้ แรกของพระพุทธศาสนา จึงนับว่าเป็ นการลําบากที่
ผู ้คนทัง้ หลายจะได ้สวด และยังจะเป็ นการเปลือ ้ งทุกข์ภัยต่างๆ นานาได ้อีกด ้วย สงิ่ ร ้ายจะกลายเป็ นดี
และยังทําให ้มีอายุยน ื มีความสุขกาย สุขใจ ปราศจากทุกข์โศกโรคภัย

ภุมมานัง เทวานัง สททัง สุตวา
จาตุมมะหาราชก ิ า เทวา สท ั ทะมะนุสสาเวสุง จาตุมมะหาราชก ิ านั ง เทวานั ง สทั ทัง สุตวา
ตาวะติงสา เทวา สท ั ทะมะนุสสาเวสุง ตาวะติงสานั ง เทวานั ง สท ั ทัง สุตวา
ยามา เทวา สท ั ทะมะนุสสาเวสุง ยามานั ง เทวานั ง
ตุสต ิ า เทวา สท ั ทะมะนุสสาเวสุง ตุสต ิ านั ง เทวานั ง สท ั ทัง สุตวา
นิมมานะระตี เทวา สท ั ทะมะนุสสาเวสุง นิมมานะระตีนัง เทวานั ง สท ั ทัง สุตวา
ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สท ั ทะ มะนุสสาเวสุง ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานั ง สท ั ทัง สุตวา
พรหมะกายิกา เทวา สท ั ทะมะนุสสาเวสุง พรหมะกายิกานั ง เทวานั ง สท ั ทัง สุตวา
พรหมะปาริสช ั ชา เทวา สท ั ทะมะนุสสาเวสุง พรหมะปาริสช ั ชานั ง เทวานั ง สท ั ทัง สุตวา
พรหมะปุโรหิตา เทวา สท ั ทะมะนุสสาเวสุง พรหมะปุโร หิตานั ง เทวานั ง สท ั ทัง สุตวา
มะหาพรหมา เทวา สท ั ทะมะนุสสาเวสุง มะหาพรหมานั ง เทวานั ง สท ั ทัง สุตวา
ปะริตตาภา เทวา สท ั ทะมะนุสสาเวสุง ปะริตตาภานั ง เทวานั ง สท ั ทัง สุตวา
อัปปะมาณาภา เทวา สท ั ทะมะนุสสาเวสุง อัปปะมาณาภานั ง เทวานั ง สท ั ทัง สุตวา

อาภัสสะระ เทวา สททะมะนุสสาเวสุง อาภัสสะรานั ง เทวานั ง สททัง สุตวา ั
ปะริตตะสุภา เทวา สท ั ทะมะนุสสาเวสุง ปะริตตะสุภานั ง เทวานั ง สท ั ทัง สุตวา
อัปปะมาณะสุภา เทวา สท ั ทะมะนุสสาเวสุง อัปปะมาณะสุภานั ง เทวานั ง สท ั ทัง สุตวา
สุภะกิณหะกา เทวา สท ั ทะมะนุสสาเวสุง สุภะกิณหะกานั ง เทวานั ง สท ั ทัง สุตวา
อสญั ญะสต ั ตา เทวา สท ั ทะมะนุสสาเวสุง อสญ ั ญะสต ั ตานั ง เทวานั ง สท ั ทัง สุตวา
เวหัปผะลา เทวา สท ั ทะมะนุสสาเวสุง เวหัปผะลานั ง เทวานั ง สท ั ทัง สุตวา
อะวิหา เทวา สท ั ทะมะนุสสาเวสุง อะวิหานั ง เทวานั ง สท ั ทัง สุตวา
อะตัปปา เทวา สท ั ทะมะนุสสาเวสุง อะตัปปานั ง เทวานั ง สท ั ทัง สุตวา

สุทัสสา เทวา สททะมะนุสสาเวสุง สุทัสสานั ง เทวานั ง สททัง สุตวา ั
สุทัสส ี เทวา สทั ทะมะนุสสาเวสุง สุทัสสน ี ั ง เทวานั ง สทั ทัง สุตวา
อะกะนิฏฐะกา เทวา สท ั ทะมะนุสสาเวสุง
เอตัมภะคะวะตา พาราณะสย ิ ัง อิสป
ิ ะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวต ั ติยัง
สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสสะมินติ

พุทธชยมงคลคาถาั
พาหุง สะหัสสะมะภินม ิ มิตะสาวุธันตัง
ครีเมขะลัง อุทต ิ ะโฆระสะเสนะมารัง
ทานาทิธัมมะวิธน ิ า ชต ิ ะวา มุนน ิ โท,
(พระจอมมุนี ได ้เอาชนะพระยามารผู ้เนรมิตแขนมากตัง้ พัน ถืออาวุธครบทุกมือ ขีช ้
่ าง
ครีเมขละ มาพร ้อมกับเหล่าเสนามารซงึ่ โห่ร ้องกึกก ้อง ด ้วยวิธอ ี ธิษฐานถึงทานบารมี เป็ นต ้น,)
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ
(ขอชย ั มงคลทัง้ หลายจงมีแก่ทา่ น ด ้วยเดชแห่งพระพุทธชย ั มงคลนั น ้ เถิดฯ)
มาราติเรกะมะภิยช ุ ฌิตะสพ ั พะรัตติง
โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
ขันตีสท ุ ันตะวิธน ิ า ชต ิ ะวา มุนน ิ โท,
(อนึง่ พระจอมมุนี ได ้เอาชนะยักษ์ ชอ ื่ อาฬวกะ ผู ้มีจต ิ หยาบกระด ้าง ผู ้ไม่มค ี วามอดทน
มีความพิลก ึ น่ากลัวกว่าพระยามาร ซงึ่ ได ้เข ้ามาต่อสูอย่ ้ างยิง่ ยวดจนตลอดคืนยันรุง่ ด ้วยวิธท ี รมานอันดี
คือขันติความอดทน,)
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ
(ขอชย ั มงคลทัง้ หลายจงมีแก่ทา่ น ด ้วยเดชแห่งพระพุทธชย ั มงคลนั น ้ เถิด ฯ)
นาฬาคิรงิ คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
เมตตัมพุเสกะวิธน ิ า ชต ิ ะวา มุนน ิ โท,
(พระจอมมุนี ได ้เอาชนะชางตั ้ วประเสริฐชอ ื่ นาฬาคิร ี ทีเ่ มายิง่ นัก และแสนจะดุร ้าย ประดุจ
ไฟป่ าและจักราวุธและสายฟ้ า ด ้วยวิธรี ดลงด ้วยนํ้ าคือ ความมีพระทัยเมตตา, )
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ
(ขอชย ั มงคลทัง้ หลายจงมีแก่ทา่ น ด ้วยเดชแห่งพระพุทธชย ั มงคลนั น ้ เถิดฯ)
อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะ สุทารุณันตัง
ธาวันติโยชะนะปะถังคุลม ิ าละวันตัง
อิทธีภส ิ งั ขะตะมะโน ชต ิ ะวา มุนน ิ โท,
(พระจอมมุนี ทรงคิดจะแสดงฤทธิป ์ าฏิหารย์ จึงได ้เอาชนะโจรชอ ื่ องคุล-ิ มาล ผู ้แสนจะดุร ้าย
มีฝีมอื ถือดาบวิง่ ไล่พระองค์ไปสน ิ้ ระยะทาง ๓ โยชน์, )
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ
(ขอชย ั มงคลทัง้ หลายจงมีแก่ทา่ น ด ้วยเดชแห่งพระพุทธชย ั มงคลนั น ้ เถิด ฯ)
กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินย ี า
จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
สน ั เตนะ โสมะวิธน ิ า ชต ิ ะวา มุนน ิ โท,
(พระจอมมุนี ได ้เอาชนะคํากล่าวใสร่ ้ายของ นางจิญจมาณวิกา ซงึ่ ทําอาการเหมือนดั่งมีครรภ์
เพราะเอาท่อนไม ้กลมผูกไว ้ทีห ่ น ้าท ้อง ด ้วยวิธท
ี รงสมาธิอันงาม คือความกระทําพระทัยให ้ตัง้ มั่นนิง่ เฉย
ในท่ามกลางหมูช ่ น,)
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
(ขอชย ั มงคลทัง้ หลายจงมีแก่ทา่ น ด ้วยเดชแห่งพระพุทธชย ั มงคลนั น ้ เถิด ฯ)
สจ ั จัง วิหายะ มะติสจ ั จะกะวาทะเกตุง
วาทาภิโรปิ ตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
ปั ญญาปะทีปะชะลิโต ชต ิ ะวา มุนน ิ โท,
(พระจอมมุนผ ี ู ้รุง่ เรืองด ้วยแสงสว่างคือปั ญญา ได ้เอาชนะ สจ ั จกะนิครนถ์ ผู ้มีความคิดมุง่ หมาย
ในอันจะละทิง้ ความสต ั ย์ มีใจคิดจะยกถ ้อยคําของตนให ้สูงประดุจยกธง และมีใจมืดมนยิง่ นัก ด ้วยการ
แสดงเทศนาให ้ถูกใจ,)
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ
(ขอชย ั มงคลทัง้ หลายจงมีแก่ทา่ น ด ้วยเดชแห่งพระพุทธชย ั มงคลนั น ้ เถิด ฯ)
นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพธ ุ ัง มะหิทธิง
ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต
อิทธูปะเทสะวิธน ิ า ชต ิ ะวา มุนน ิ โท,
(พระจอมมุนี ได ้เอาชนะพญานาคราชชอ ื่ นั นโทปนั นทะ ผู ้มีความรู ้ผิดมีฤทธิม ์ าก ด ้วยวิธ ี
บอกอุบายให ้พระโมคคัลลานเถระพุทธชโิ นรส แสดงฤทธิเ์ นรมิตกายเป็ นนาคราช ไปทรมานพญานาค
ชอ ื่ นันโทปนันทะนัน ้ ,)
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ
(ขอชย ั มงคลทัง้ หลายจงมีแก่ทา่ น ด ้วยเดชแห่งพระพุทธชย ั มงคลนั น ้ เถิด ฯ)
ทุคคาหะทิฏฐิภช ุ ะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
พรัหมัง วิสท ุ ธิชต ุ ม ิ ทิ ธิพะกาภิธานัง
ญาณาคะเทนะ วิธน ิ า ชต ิ ะวา มุนน ิ โท,
(พระจอมมุนี ได ้เอาชนะพระพรหมผู ้มีนามว่า ท ้าวพกาพรหม ผู ้มีฤทธิ์ คิดว่าตนเป็ นผู ้รุง่ เรือง
ด ้วยคุณอันบริสท ุ ธิ์ ผู ้ถูกพญานาครัดมือไว ้แน่น เพราะมีจต ิ คิดถือเอาความเห็นผิด ด ้วยวิธวี างยาคือทรง
แสดงเทศนาให ้ถูกใจ,)
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ
(ขอชย ั มงคลทัง้ หลายจงมีแก่ทา่ น ด ้วยเดชแห่งพระพุทธชย ั มงคลนั น ้ เถิด ฯ)
เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา
โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
หิตวานะเนกะวิวธิ านิ จุปัททะวานิ
โมกขัง สุขงั อะธิคะเมยยะ นะโร สะปั ญโญฯ
(บุคคลใดมีปัญญา ไม่เกียจคร ้าน สวดและระลึกถึงพระพุทธชย ั มงคล ๘ คาถาเหล่านีท ้ ก
ุ ๆ
วัน บุคคลนัน ้ จะพึงละความจัญไรอันตรายทัง้ หลายทุกอย่างเสย ี ได ้ และเข ้าถึงความหลุดพ ้นคือ พระ
นิพพานอันบรมสุขแล ฯ)

เสริมสร้างทางสวรรค์-นิพพาน
พุทธะ พุทธา พุทเธพุทโธ
พุทธังอะระหังพุทโธ
อิตป
ิ ิ โสภะคะวา
นะโมพุทธายะ
จะทําให ้ท่านมีความสุข - อายุยน
ื - นิพพาน

สบื สร้างทางสวรรค์-นิพพาน
พุทธะ พุทธา พุทเธ พุทโธ พุทธัง อะระหัง พุทโธ อิตป
ิ ิ โส ภะคะวา นะโมพุทธายะ
พระคาถาชน ิ บ ัญชร
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังส)ี
เพือ
่ ให ้เกิดอานุภาพยิง่ ขึน
้ ก่อนเจริญภาวนาชน ิ บัณชรให ้ตัง้ นะโม ๓ จบ แล ้วระลึกถึงและบูชาเจ ้าประคุณ
สมเด็จด ้วยคําว่า
ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง อัตถิกาเยกายะณายะ
เทวานังปิ ยะตังสุตตะวา อิตป ิ ิ โสภะคะวา ยะมะราชาโน ท ้าวเวสสุวณ ั โณ
มรณั งสุขงั อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ


ั จาสะภัง ระสงั เย ปิ วงิ สุ นะราสะภา.
ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชตะวา มารัง สะวาหะนั ง จะตุสจ


ั เพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเก เต มุนส
ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สพ ิ สะรา.


สเี ส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สงั โฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สพ
ั พะคุณากะโร.


หะทะเย เม อะนุรท
ุ โธ สารีปต
ุ โต จะ ทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิ ฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะวามะเก.


ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.


ั เต ปิ ฏฐิภาคัสมิง สุรโิ ย วะ ปะภังกะโร นิสน
เกสน ิ โน สริ ส ั ปั นโน โสภิโต มุนป
ิ ม ิ งุ คะโว.


กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหส ี จิตตะวาทะโก โส มัยหัง วะทะเนนิจจัง ปะติฏฐาส ิ คุณากะโร.


ิ าโล จะ อุปาลี นันทะสวี ะลี เถรา ปั ญจะ อิเม ชาตานะลาเฏ ตีละกา มะมะ.
ปุณโณ อังคุลม


๒เสสาสต ี ิ มะหาเถรา วิชติ า ชน
ิ ะสาวะกา เอเตสต
ี ิ มะหาเถรา ชต
ิ ะวันโต ชโิ นระสา ชะลันตา สล
ี ะเต เช
นะ อังคะมังเคสุ สณั ฐิตา.

๑๐
ระตะนัง ปุระโต อาส ิ ทักขิเณ เมตตะสุตตะกัง ธะชค
ั คัง ปั จฉะโต อาสวิ าเม อังคุลม
ิ าละกัง.

๑๑
ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะสุตตะกัง อากาเส ฉะธะนั ง อาส ิ เสสา ปาการะสณ
ั ฐิตา.

๑๒
ิ นานา วะระสงั ยุตตา สต
ชน ั ตะปาการะลังกะตา วาตะปิ ตตาทิสญ
ั ชาตา พาหิรัชฌัตตุปัททะวา.

๑๓
ิ ะเตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สม
อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชน ั พุทธะปั ญชะเร.

๑๔
ิ ะปั ญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮต
ชน ี ะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สพ
ั เพ เต มะหาปุรส
ิ าสะภา.
๑๕
อิจเจวะมันโต สุคต ิ านุภาเวนะ ชต
ุ โต สุรักโข ชน ิ ป ิ าริสงั โฆ สงั ฆานุภาเวนะ ช ิ
ุ ั ททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชต
ตันตะราโย สทั ธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชน ิ ะปั ญชะเรติ.

อานุภาพแห่งพระคาถาชน ิ บ ัญชร
ผู ้ใดได ้สวดภาวนาพระคาถาชน ิ บัญชรนี้ เป็ นประจําอยูส
่ มํา่ เสมอ จะทําให ้เกิดความศริ มิ งคลสมบูรณ์

พูนผล ศตรูหมูพ ่ าลไม่กล ้ากลํ้ากลาย ไปทางใดย่อมเกิดเมตตามหานิยม เกิดลาภผลพูลทวี ขจัดภัยจาก
ภูตผีปีศาจ ตลอดจนคุณไสยต่างๆ ทํานํ้ ามนต์รดแก ้วิกลจริต แก ้สรรพโรคภัยหายสน ิ้ เป็ นศริ ม
ิ งคลแก่
ชวี ติ มีคณุ านุภาพตามแต่จะปรารถนา ดังคําโบราณว่า "ฝอยท่วมหลังชาง" ้ จะเดินทางไปทีใ่ ดๆ สวด ๑๐
จบ แล ้วอธิษฐานจะสําเร็จสมดังใจ

พระคาถาอิตป ิ ิ โส ๘ ทิศ สาํ เร็จลุน แห่งนครจําปาศักดิ์


ตัง้ นะโม ๓ จบ
๑. อิ ระ ชา คะ ตะ ระ สา บทนีช ้ อ ื่ กระทู ้ ๗ แบก ประจําอยูท ่ ศ ิ บูรพา (ทิศตะวันออก)
๒. ติ หัง จะ โต โร ถิ นั ง บทนีช ้ อ ื่ ว่า ฝนแสนห่า ประจําอยูท ่ ศ ิ อาคเณย์ (ทิศตะวันออกเฉียงใต ้)
๓. ปิ สมั ระ โล ปุ สต ั พุท บทนีช ้ อ ื่ นารายณ์เกลือ ่ นสมุทร ประจําอยูท ่ ศ ิ ทักษิณ (ทิศใต ้)
๔. โส มา ณะ กะ ริ ถา โธ บทนีช ้ อ ื่ นารายณ์ถอดจักร์ ประจําอยูท ่ ศิ หรดี (ทิศตะวันตกเฉียงใต ้)
๕. ภะ สม ั สม
ั วิ สะ เท ภะ บทนีช ้ อ ื่ นารายณ์ขว ้างจักร์ตรึงไตรภพ ประจําอยูท ่ ศ
ิ ประจิม (ทิศตะวันตก)
๖. คะ พุท ปั น ทู ทัม วะ คะ บทนีช ้ อ ื่ นารายณ์พลิกแผ่นดิน ประจําอยูท ่ ศ ิ พายัพ (ทิศตะวันตกเฉียง
เหนือ)
๗. วา โธ โน อะ มะ มะ วา บทนีช ้ อ ื่ ตวาดฟ้ าป่ าหิมพานต์ ประจําอยูท ่ ศ ิ อุดร (ทิศเหนือ)
๘. อา วิช สุ นุต สา นุส ติ บทนีช ่ ื
้ อ นารายณ์แปลงรูป ประจําอยูท ่ ศิ อีสาน (ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ)

ยอดพระก ัณฑ์พระไตรปิ ฎก
ยอดพระกัณฑ์ฉบับนี้ ได ้มาจากต ้นฉบับเดิมทีจ ่ ารไว ้บนใบลานเป็ นอักษรขอมซงึ่ เปิ ดกรุครัง้ แรกทีเ่ มือง
สวรรคโลก มีบันทึกเอาไว ้ว่าผู ้ใดสวดมนต์เป็ นประจําทุกเชาเย็ ้ น จะป้ องกันภัยอันตรายต่างๆได ้รอบด ้าน
ภาวนาพระคาถาอืน ่ สก ั ๑๐๐ปี ก็ไม่เท่ากับอานิสงสข์ องการสวดยอดพระกัณฑ์พระไตรปิ ฎกนีเ้ พียงครัง้
เดียว ผู ้ใดทีส
่ วดครบ ๗ วัน หรือครบอายุปัจจุบันของตัวเอง จะมีโชคลาภ ทํามาค ้าขายรุง่ เรือง
ปราศจากภัยพิบัตท ิ ัง้ ปวง

ก่อนสวดยอดพระกัณฑ์พระไตรปิ ฏก พึงคุกเข่าพนมมือตัง้ ใจบูชาพระรัตนตรัย นมัสการพระรัตนตรัย


นมัสการพระพุทธเจ ้า นมัสการพระพุทธคุณ ธรรมคุณ สงั ฆคุณ ขอให ้ตัง้ จิตมั่นในบทสวดมนต์จะมีเทพย
ดาอารักษ์ทัง้ หลายร่วมอนุโมทนาสาธุการ อย่าได ้ทําเล่นจะเกิดโทษแก่ตัว

--------------------------------------------------------------------------------

คาบูชาพระร ัตนตร ัย
โย โส ภะคะวา อะระหัง สมั มาสม
ั พุทโธ อิเมหิ สก
ั กาเรหิ ตัง ภะคะวันตัง อะภิปชู ะยามิ
โย โส สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม อิเมหิ สก ั กาเรหิ ตัง ภะคะวันตัง อะภิปชู ะยามิ
โย โส สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ อิเมหิ สกั กาเรหิ ตัง ภะคะวันตัง อะภิปชู ะยามิ

นม ัสการพระพุทธเจ้า
ั มา สม
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สม ั พุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มา สม ั พุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สม ั มา สม ั พุทธัสสะ
๑. พุทธคุณ
อิตป ั มาสม
ิ ิ โส ภะคะวา อะระหัง สม ั พุทโธ วิชชาจะระณะ สม
ั ปั นโน สุคะโต โลกะวิทู
อนุตตะโร ปุรส ั ถาเทวมนุสสานั ง พุทโธภะคะวาติ
ิ ะธัมมะสาระถิ สต

๒. ธรรมคุณ
ั ทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสโิ ก โอปะนะยิโก ปั จจัตตังเวทิตัพโพ
สวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม สน
วิญํูหต
ิ ิ


๓. สงฆคุ ณ
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ อุชป ุ ะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ สามีจป ิ ะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ
ยะทิทังจัตตาริ ปุรส ิ ะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ
ิ ะยุคานิ อัฏฐะปุรส
อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ

--------------------------------------------------------------------------------

ยอดพระก ัณฑ์พระไตรปิ ฎกมีด ังนี้


๑.
อิตป
ิ ิ โส ภะคะวา อะระหัง วัจจะโส ภะคะวา
อิตป ิ ิ โส ภะคะวา สม ั มาสม
ั พุทโธ วัจจะโส ภะคะวา
อิตป ิ ิ โส ภะคะวา วิชชาจะระณะสม ั ปั นโน วัจจะโส ภะคะวา
อิตปิ ิ โส ภะคะวา สุคะโต วัจจะโส ภะคะวา
อิตป ิ ิ โส ภะคะวา โลกะวิทู วัจจะโส ภะคะวา

๒.
อะระหันตัง สะระณั ง คัจฉามิ
อะระหันตัง สริ ะสา นะมามิ
สมั มาสมั พุทธัง สะระณั ง คัจฉามิ
สม ั มาสมั พุทธัง สริ ะสา นะมามิ
วิชชาจะระณะสม ั ปั นนั ง สะระนั ง คัจฉามิิ
วิชชาจะระณะสม ั ปั นนั ง สริ ะสา นะมามิ
สุคะตัง สะระณั ง คัจฉามิ
สุคะตัง สริ ะสา นะมามิ
โลกะวิทัง สะระณั ง คัจฉามิ
โลกะวิทัง สริ ะสา นะมามิ

๓.
อิตป
ิ ิ โส ภะคะวา อะนุตตะโร วัจจะโส ภะคะวา
อิตปิ ิ โส ภะคะวา ปุรส
ิ ะธัมมะสาระถิ วัจจะโส ภะคะวา
อิตป ิ ิ โส ภะคะวา ั ถา เทวะมะนุสสานั ง วัจจะโส ภะคะวา
สต
อิตป ิ ิ โส ภะคะวา พุทโธ วัจจะโส ภะคะวา

๔.
อะนุตตะรัง สะระณั ง คัจฉามิ
อะนุตตะรัง สริ ะสา นะมามิ
ปุรสิ ะทัมมะสาระถิ สะระณั ง คัจฉามิ
ปุรส ิ ะทัมมะสาระถิ สริ ะสา นะมามิ
ั ถา เทวะมะนุสสานัง สะระณั ง คัจฉามิ
สต
สตั ถา เทวะมะนุสสานัง สริ ะสา นะมามิ
พุทธัง สะระณั ง คัจฉามิ
พุทธัง สริ ะสา นะมามิ
๕.
อิตป
ิ ิ โส ภะคะวา รูปะขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สมั ปั นโน
อิตปิ ิ โส ภะคะวา เวทะนาขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สม ั ปั นโน
อิตป ิ ิ โส ภะคะวา สญ ั ญาขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สม ั ปั นโน
อิตป ิ ิ โส ภะคะวา สงั ขาระขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สม ั ปั นโน
อิตป ิ ิ โส ภะคะวา วิญญาณะขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สม ั ปั นโน

๖.
อิตป
ิ ิ โส ภะคะวา ปะถะวีจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชก ิ า ตาวะติงสา
ธาตุสม ั มาทิยานะ สม ั ปั นโน
อิตปิ ิ โส ภะคะวา เตโชจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชก ิ า ตาวะติงสา
ธาตุสม ั มาทิยานะ สม ั ปั นโน
อิตป ิ ิ โส ภะคะวา วาโยจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชก ิ า ตาวะติงสา
ธาตุสม ั มาทิยานะ สม ั ปั นโน
อิตป ิ ิ โส ภะคะวา อาโปจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชก ิ า ตาวะติงสา
ธาตุสม ั มาทิยานะ สม ั ปั นโน
อิตป ิ ิ โส ภะคะวา อากาสะจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชก ิ า ตาวะติงสา
ธาตุสม ั มาทิยานะ สม ั ปั นโน

๗.
อิตป
ิ ิ โส ภะคะวา ยามาธาตุสม ั มาทิยานะ สม ั ปั นโน
อิตป ิ ิ โส ภะคะวา ิ าธาตุสม
ตุสต ั มาทิยานะ สม ั ปั นโน
อิตป ิ ิ โส ภะคะวา ั
นิมมานะระติธาตุ สมมาทิยานะ สม ั ปั นโน
อิตปิ ิ โส ภะคะวา กามาวะจะระธาตุ สม ั มาทิยานะ สม ั ปั นโน

๘.
อิตป
ิ ิ โส ภะคะวา ั มาทิยานะ สม
รูปาวะจะระธาตุ สม ั ปั นโน
อิตปิ ิ โส ภะคะวา ปะฐะมะฌานะธาตุ สม ั มาทิยานะ สม ั ปั นโน
อิตป ิ ิ โส ภะคะวา ทุตยิ ะฌานะธาตุ สมั มาทิยานะ สม ั ปั นโน
อิตป ิ ิ โส ภะคะวา ตะติยะฌานะธาตุ สม ั มาทิยานะ สม ั ปั นโน
อิตป ิ ิ โส ภะคะวา ั
จะตุตถะฌานะธาตุ สมมาทิยานะ สม ั ปั นโน
อิตป ิ ิ โส ภะคะวา ปั ญจะมาฌานะธาตุ สม ั มาทิยานะ สม ั ปั นโน

๙.
อิตป ิ ิ โส ภะคะวา อากาสานัญจายะตะนะเนวะสญ ั ญานา
ั ั
สญญายะตะนะอะรูปาวะจะระธาตุ สมมาทิยานะ สม ั ปั นโน
อิตป ิ ิ โส ภะคะวา วิญญาณั ญจายะตะนะ เนวะสญ ั ญานา
สญ ั ญายะตะนะอะรูปาวะ จะระธาตุ สม ั มาทิยานะ สม ั ปั นโน
อิตป ิ ิ โส ภะคะวา อากิญจัญญายะตะนะ เนวะสญ ั ญานา
สญ ั ญายะตะนะ อะรูปาวะ จะระธาตุสม ั มาทิยานะ สม ั ปั นโน

๑๐.
อิตปิ ิ โส ั มาทิยานะ สม
ภะคะวา โสตาปะฏิมัคคะธาตุ สม ั ปั นโน
อิตป ิ ิ โส ั
ภะคะวา สะกิทาคาปะฏิมัคคะ ธาตุสมมาทิยานะ สม ั ปั นโน
อิตป ิ ิ โส ภะคะวา อะนาคาปะฏิมัคคะ ธาตุสมั มาทิยานะ สม ั ปั นโน
อิตป
ิ ิ โส ภะคะวา อะระหัตตะปะฏิมัคคะ ธาตุสม ั มาทิยานะ สม ั ปั นโน

๑๑.
อิตป
ิ ิ โส ภะคะวา โสตาอะระหัตตะ ปะฏิผะละธาตุ สมั มาทิยานะ สมั ปั นโน
อิตปิ ิ โส ภะคะวา สะกิทาคาอะระหัตตะ ปะฏิผะละธาตุ สมั มาทิยานะ สม ั ปั นโน
อิตป ั มาทิยานะ สม
ิ ิ โส ภะคะวา อะนาคาอะระหัตตะ ปะฏิผะละธาตุ สม ั ปั นโน
๑๒.
กุสะลา ธัมมา
อิตปิ ิ โส ภะคะวา
อะ อา ยาวะชวี งั พุทธัง สะระณั ง คัจฉามิ
ชมภูทป ี ั ญจะอิสสะโร
กุสะลา ธัมมา
นะโม พุทธายะ
นะโม ธัมมายะ
นะโม สงั ฆายะ
ปั ญจะ พุทธา นะมามิหัง
อา ปา มะ จุ ปะ
ที มะ สงั อัง ขุ
สงั วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ
อุ ปะ สะ ชะ สุ เห ปา สา ยะ
โส โส สะ สะ อะ อะ อะ อะ นิ
เต ชะ สุ เน มะ ภู จะ นา วิ เว
อะ สงั วิ สุ โล ปุ สะ ภุ พะ
อิ สวา สุ สุ สวา อิ
กุสะลา ธัมมา
จิตติวอ ิ ัตถิ

๑๓.
อิตป
ิ ิ โส ภะคะวา อะระหัง
อะ อา ยาวะชวี งั พุทธัง สะระณั ง คัจฉามิ
สา โพธิ ปั ญจะ อิสาะโร ธัมมา

๑๔.
กุสะลา ธัมมา
นันทะวิวงั โก
อิต ิ สมั มาพุทโธ
สุ คะ ลา โน ยาวะชวี งั พุทธัง สะระณั ง คัจฉามิ
จาตุมะหาราชก ิ า อิสสะโร
กุสะลา ธัมมา
อิต ิ วิชชาจะระณะสม ั ปั นโน

อุ อุ ยาวะชวงั พุทธัง สะระณั ง คัจฉามิ
ตาวะติงสา อิสสะโร
กุสะลา ธัมมา
นันทะ ปั ญจะ สุคะโต โลกะวิทู
มะหาเอโอ ยาวะชวี งั พุทธัง สะระณั ง คัจฉามิ
ยามา อิสสะโร
กุสะลา ธัมมา
พรหมมาสท ั ทะ
ปั ญจะ สตตะั
สต ั ตาปาระมี
อะนุตตะโร
ยะมะกะขะ
ยาวะชวี งั พุทธัง สะระณั ง คัจฉามิ

๑๕.
ิ า อิสสะโร
ตุสต
กุสะลา ธัมมา
ปุ ยะ ปะ กะ
ปุรส
ิ ะทัมมะสาระถิ
ยาวะชวี งั พุทธัง สะระณั ง คัจฉามิ

๑๖.
นิมมานะระติ อิสสะโร
กุสะลา ธัมมา
เหตุโปวะ
สตั ถา เทวะมะนุสสานัง
ตะถา ยาวะชวี งั พุทธัง สะระณั ง คัจฉามิ

๑๗.
ปะระนิมมิตะ อิสสะโร
กุสะลา ธัมมา
สงั ขาระขันโธ
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา
รูปะขันโธ พุทธะปะผะ
ยาวะชวี งั พุทธัง สะระณั ง คัจฉามิ

๑๘.
พรหมมา อิสสะโร
กุสะลา ธัมมา
นัจจิปัจจะยา วินะปั ญจะ ภะคะวะตา ยาวะนิพพานัง สะระณั ง คัจฉามิ
นะโม พุทธัสสะ
นะโม ธัมมัสสะ
นะโม สงั ฆัสสะ
พุทธิลา โลกะลา กะระกะนา
เอเตนะ สจ ั เจนะ สุวต
ั ถิ โหนตุ
หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ ฯ

๑๙.
นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สงั ฆัสสะ
วิตติ วิตติ วิตติ มิตติ มิตติ จิตติ จิตติ
อัตติ อัตติ มะยะสุ สุวต ั ถิ โหนตุ
หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ

๒๐.
อินทะสาวัง มะหาอินทะสาวัง
พรหมะสาวัง มะหาพรหมะสาวัง
จักกะวัตติสาวัง มะหาจักกะวัตติสาวัง
เทวาสาวัง มะหาเทวาสาวัง
อิสส ิ าวัง มะหาอิสสิ าวัง
มุนส ี าวัง มะหามุนสี าวัง
สปั ปุรส ิ าวัง มะหาสป ั ปุรส
ิ าวัง
พุทธะสาวัง ปั จเจกะพุทธะสาวัง
อะระหัตตะสาวัง สพ ั พะสท ิ ธิวช ั พะโลกา
ิ ชาธะรานั งสาวัง สพ
อิรยิ านั งสาวัง เอเตนะ สจ ั เจนะ สุวตั ถิ โหตุ

๒๑.
สาวัง คุณัง วะชะพะลัง เตชงั วิรย ิ ธิกัมมัง นิพพานั ง
ิ ัง สท
โมกขัง คุยหะกัง
ถานัง สล ี ัง ปั ญญานิกขัง ปุญญัง ภาคะยัง ตัปปั ง สุขงั
สริ ริ ป
ู ั ง จะตุวส ี ะติเสนัง
เอเตนะ สจ ั เจนะ สุวตั ถิ โหนตุ
หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ

๒๒.
นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สงั ฆัสสะ
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ
ั ญาขันโธ สงั ขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ
สญ
นะโม อิตปิ ิ โส ภะคะวา

๒๓.
นะโม พุทธัสสะ
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ
ั ญาขันโธ สงั ขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ
สญ
นะโม สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม

๒๔.
นะโม ธัมมัสสะ
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ
ั ญาขันโธ สงั ขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ
สญ
นะโม สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม

๒๕.
นะโม ธัมมัสสะ
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ
ั ญาขันโธ สงั ขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ
สญ
นะโม สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ

๒๖.
นะโม สงั ฆัสสะ
ั ญาขันโธ
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สญ
สงั ขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ
นะโม สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ วาหะปะริตตัง

๒๗.
นะโม พุทธายะ
มะอะอุ
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา
ยาวะ ตัสสะ หาโย
นะโม อุอะมะ
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา
อุ อะมะ อาวันทา
นะโม พุทธายะ
นะ อะ กะ ติ นิ สะ ระ นะ
อา ระ ปะ ขุ ธัง มะ อะ อุ
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา
พระคาถายอดพระก ัณฑ์ไตรปิ ฎก (แปล)
๑. พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน
้ เป็ นผู ้ไกลจากกิเลส
พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน
้ เป็ นผู ้ตรัสรู ้เองโดยชอบ
พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน
้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยความรู ้และความประพฤติ
พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน้ เป็ นผู ้เสด็จไปดีแล ้ว
พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน ้ เป็ นผู ้รู ้แจ ้งโลก

๒. ข ้าพเจ ้าขอถึงพระองค์ผู ้เป็ นพระอรหันต์วา่ เป็ นทีพ ่ งึ่ กําจัดภัยได ้จริง ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมพระองค์ผู ้
เป็ นพระอรหันต์ ด ้วยเศย ี รเกล ้า
ข ้าพเจ ้าขอถึงพระองค์ผู ้ทรงตรัสรู ้เองโดยชอบว่า เป็ นทีพ ่ งึ่ กําจัดภัยได ้จริง ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมพระองค์
ี รเกล ้า
ผู ้ทรงตรัสรู ้เอง ด ้วยเศย
ข ้าพเจ ้าขอถึงพระองค์ผู ้ถึงพร ้อมด ้วยความรู ้และความประพฤติ ว่าเป็ นทีพ ่ งึ่ กําจัดภัยได ้จริง ข ้าพเจ ้าขอ
นอบน ้อมพระองค์ผู ้ถึงพร ้อมด ้วยความรู ้และความประพฤติ ด ้วยเศย ี รเกล ้า
ข ้าพเจ ้าขอถึงพระองค์ผู ้เสด็จไปดีแล ้ว ว่าเป็ นทีพ ่ งึ่ กําจัดภัยได ้จริง ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมพระองค์ผู ้เสด็จ
ไปดีแล ้ว ด ้วยเศย ี รเกล ้า
ข ้าพเจ ้าขอถึงพระองค์ผู ้รู ้แจ ้งโลก ว่าเป็ นทีพ
่ งึ่ กําจัดภัยได ้จริง ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมพระองค์ผู ้รู ้แจ ้งโลก
ด ้วยเศยี รเกล ้า

๓. พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน ้ เป็ นอนุตตะโร คือ ยอดเยีย


่ ม
พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน
้ เป็ นนายสารถีผู ้ฝึ กบุรษ

พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน้ เป็ นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทัง้ หลาย
พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน ้ เป็ นผู ้ตืน
่ จากกิเลส

๔. ข ้าพเจ ้าขอถึงพระองค์ผู ้ยอดเยีย ่ ม ว่าเป็ นทีพ่ งึ่ กําจัดภัยได ้จริง ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมพระองค์ผู ้ยอด
เยีย ี รเกล ้า
่ ม ด ้วยเศย
ข ้าพเจ ้าขอถึงพระองค์ผู ้เป็ นนายสารถีผู ้ฝึ กบุรษ
ุ ว่าเป็ นทีพ ่ งึ่ กําจัดภัยได ้จริง ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อม
พระองค์ผู ้เป็ นนายสารถีผู ้ฝึ กบุรษ

ด ้วยเศยี รเกล ้า

ข ้าพเจ ้าขอถึงพระองค์ผู ้เป็ นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทัง้ หลาย ว่าเป็ นทีพ ่ งึ่ กําจัดภัยได ้จริง ข ้าพเจ ้า
ขอนอบน ้อมพระองค์ผู ้เป็ น
ศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทัง้ หลาย ด ้วยเศย ี รเกล ้า
ข ้าพเจ ้าขอถึงพระองค์ผู ้ตืน
่ จากกิเลส ว่าเป็ นทีพ
่ งึ่ กําจัดภัยได ้จริง ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมพระองค์ผู ้ตืน ่ จาก

กิเลส ด ้วยเศยรเกล ้า

๕. พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน ้ รูปขันธ์ เป็ นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถงึ พร ้อมแล ้ว


พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน้ เวทนาขันธ์ เป็ นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถงึ พร ้อมแล ้ว
พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั น ้ สญ ั ญาขันธ์ เป็ นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถงึ พร ้อมแล ้ว
พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั น ้ สงั ขารขันธ์ เป็ นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถงึ พร ้อมแล ้ว
พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน ้ วิญญาณขันธ์ เป็ นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถงึ พร ้อมแล ้ว

๖. พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน ้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมทีเ่ ป็ นธาตุ คือ ดินจักรวาล เทวโลกชน ั ้ จาตุมหาราชก ิ า
และชน ั ้ ดาวดึงส ์
พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน ้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมทีเ่ ป็ นธาตุ คือ ไฟจักรวาล เทวโลกชน ั ้ จาตุมหาราชก ิ าและ
ั ้ ดาวดึงส ์
ชน
พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน ้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมทีเ่ ป็ นธาตุ คือ ลมจักรวาล เทวโลกชน ั ้ จาตุมหาราชก ิ าและ
ั ้
ชนดาวดึงส ์
พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน ั ้ จาตุมหาราชก
้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมทีเ่ ป็ นธาตุ คือ นํ้ าจักรวาล เทวโลกชน ิ าและ
ชน ั ้ ดาวดึงส ์
พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน ้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมทีเ่ ป็ นธาตุ คือ อากาศจักรวาล เทวโลกชน ั ้ จาตุมหาราชก ิ า
และชน ั ้ ดาวดึงส ์

๗. พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน


้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมทีเ่ ป็ นธาตุ คือ สวรรค์ชน ั ้ ยามา
พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน ั ้ ดุสต
้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมทีเ่ ป็ นธาตุ คือ สวรรค์ชน ิ
พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน
้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมทีเ่ ป็ นธาตุ คือ สวรรค์ชน ั ้ นิมมานรดี
พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมทีเ่ ป็ นธาตุ อันเป็ นไปในกามาวจรภูม ิ
พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน ้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมทีเ่ ป็ นธาตุ อันเป็ นไปในรูปาวจรภูม ิ

๘. พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน ้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมทีเ่ ป็ นธาตุ คือ ปฐมญาน


พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน
้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมทีเ่ ป็ นธาตุ คือ ทุตย ิ ญาน
พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมทีเ่ ป็ นธาตุ คือ ตติยญาน
พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน ้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมทีเ่ ป็ นธาตุ คือ จตุตถญาน
พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน ้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมทีเ่ ป็ นธาตุ คือ ปั ญจมญาน

๙. พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน ้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมทีเ่ ป็ นธาตุ อันเป็ นไปในอรูปาวจรภูม ิ คือ อากาสานัญ
จายตนะและเนวสญ ั ญานาสญ ั ญายตนะ
พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน
้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมทีเ่ ป็ นธาตุ อันเป็ นไปในอรูปาวจรภูม ิ คือ วิญญาณั ญจายต
นะและเนวสญ ั ญานาสญ ั ญายตนะ
พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมทีเ่ ป็ นธาตุ อันเป็ นไปในอรูปาวจรภูม ิ คือ อากิญจัญญายต
นะและเนวสญ ั ญานาสญ ั ญายตนะ

๑๐. พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน ้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมทีเ่ ป็ นธาตุ คือ พระโสดาปั ตติมรรค
พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน
้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมทีเ่ ป็ นธาตุ คือ พระสกิทาคามิมรรค
พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมทีเ่ ป็ นธาตุ คือ พระอนาคามิมรรค
พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน ้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมทีเ่ ป็ นธาตุ คือ พระอรหัตตมรรค

๑๑. พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมทีเ่ ป็ นธาตุ คือ พระโสดาปั ตติผล และ พระอรหัตตผล
พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน
้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมทีเ่ ป็ นธาตุ คือ พระสกิทาคามิผล และ พระอรหัตตผล
พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมทีเ่ ป็ นธาตุ คือ พระอนาคามิผล และ พระอรหัตตผล

๑๒. ธรรมะฝ่ ายกุศล พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน ่ งึ่ ตลอดชวี ต


้ ข ้าพเจ ้าขอถึงพระพุทธเจ ้า ว่าเป็ นทีพ ิ พระผู ้มี
พระภาคเจ ้า ผู ้เป็ นอิสสระแห่งชมภูทวีป
ธรรมะฝ่ ายกุศล ขอนอบน ้อมแด่พระพุทธเจ ้า ขอนอบน ้อมแด่พระธรรมเจ ้า ขอนอบน ้อมแด่พระสงั ฆเจ ้า
ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมแด่พระพุทธเจ ้าห ้าพระองค์ ด ้วยหัวใจพระวินัยปิ ฎก ด ้วยหัวใจพระสุตตันตปิ ฎก ด ้วย
หัวใจพระอภิธรรมปิ ฎก
ด ้วยมนต์คาถา ด ้วยหัวใจมรรคส ี่ ผลส ี่ และ นิพพานหนึง่ ด ้วยหัวใจพระเจ ้าสบ ิ ชาติทรงแสดงการบําเพ็ญ
บารมีสบ ิ
ด ้วยหัวใจพระพุทธคุณเก ้า ด ้วยหัวใจพระไตรรัตนคุณ ธรรมะฝ่ ายกุศล มีนัยอันวิจต ิ รพิสดาร

๑๓. พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน ่ งึ่ ตลอดชวี ต


้ เป็ นผู ้ไกลจากกิเลส ข ้าพเจ ้าขอถึงพระพุทธเจ ้า ว่าเป็ นทีพ ิ

๑๔. ธรรมะฝ่ ายกุศล ของผู ้มีพระภาคเจ ้า เป็ นผู ้ตรัสรู ้เองโดยชอบ ข ้าพเจ ้าขอถึงพระพุทธเจ ้า ว่าเป็ นที่
พึง่ ตลอดชวี ต
ิ เป็ นอิสสระถึงเทวโลกชน ั ้ จาตุมหาราชก
ิ า
ธรรมะฝ่ ายกุศล พระผู ้มีพระภาคเจ ้า เป็ นผู ้ถึงพร ้อมด ้วยความรู ้และความประพฤติ ข ้าพเจ ้าขอถึง
พระพุทธเจ ้า ว่าเป็ นทีพ่ งึ่ ตลอดชวี ต
ิ เป็ นอิสสระถึงสวรรค์ชน ั ้ ดาวดึงส ์
ธรรมะฝ่ ายกุศล พระพุทธเจ ้าเป็ นผู ้เสด็จไปดีแล ้ว เป็ นผู ้รู ้แจ ้งโลก ข ้าพเจ ้าขอถึงพระพุทธเจ ้า ว่าเป็ นที่
พึง่ ตลอดชวี ติ เป็ นอิสสระถึงสวรรค์ชน ั ้ ยามา
ธรรมะฝ่ ายกุศล ด ้วยความศรัทธาต่อพระพรหม ด ้วยพระบารมีอันยอดเยีย ่ มของพระโพธิสต ั ว์ทัง้ ห ้า
ข ้าพเจ ้าขอถึงพระพุทธเจ ้า ว่าเป็ นทีพ ่ งึ่ ตลอดชวี ต ิ

๑๕. ธรรมะฝ่ ายกุศล พระผู ้มีพระภาคเจ ้า ผู ้เป็ นนายสารถีผู ้ฝึ กบุรษ


ุ ข ้าพเจ ้าขอถึงพระพุทธเจ ้า ว่าเป็ นที่
พึง่ ตลอดชวี ต ั ้ ดุสต
ิ เป็ นอิสสระถึงสวรรค์ชน ิ

๑๖. ธรรมะฝ่ ายกุศล พระผู ้มีพระภาคเจ ้า พระองค์ผู ้เป็ นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทัง้ หลาย ข ้าพเจ ้า
่ งึ่ ตลอดชวี ต
ขอถึงพระพุทธเจ ้า ว่าเป็ นทีพ ั ้ นิมมานรดี
ิ เป็ นอิสสระถึงสวรรค์ชน
๑๗. ธรรมฝ่ ายกุศล พระผู ้มีพระภาคเจ ้า เป็ นผู ้รู ้แจ ้ง สงั ขารขันธ์ รูปขันธ์ เป็ นของไม่เทีย่ ง เป็ นความทุกข์
มิใชเ่ ป็ นตัวตนของเราจริง ข ้าพเจ ้าขอถึงพระพุทธเจ ้า ว่าเป็ นทีพ ่ งึ่ ตลอดชวี ต ิ เป็ นอิสสระถึงสวรรค์ชนั ้ ปร
นิมมิตตวสวัสดี

่ งึ่ ตลอดชวี ต
๑๘. ธรรมะฝ่ ายกุศล ข ้าพเจ ้าขอถึงพระพุทธเจ ้า ว่าเป็ นทีพ ิ เป็ นอิสสระถึงสวรรค์ชนั ้ พรหม

โลก ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมแด่พระพุทธเจ ้า ขอนอบน ้อมแด่พระธรรมเจ ้า ขอนอบน ้อมแด่พระสงฆเจ ้า ด ้วย
ั ย์ปฏิญาณนี้ ขอความสุขสวัสดี จงมีแก่ข ้าพเจ ้าด ้วยเถิด ข ้าพเจ ้าขอถึงพระพุทธเจ ้าว่าเป็ นทีพ
คําสต ่ งึ่
่ ระนิพพาน
ตราบเข ้าสูพ

๑๙. ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมแด่พระพุทธเจ ้า ขอนอบน ้อมแด่พระธรรมเจ ้า ขอนอบน ้อมแด่พระสงั ฆเจ ้า ด ้วย
การสวดมนต์พระคาถานี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแก่ข ้าพเจ ้าด ้วยเถิด

ั ย์ปฏิญาณนี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแก่
๒๐. ด ้วยการสวดพระคาถามหาทิพมนต์นี้ และด ้วยการกล่าวคําสต
ข ้าพเจ ้าด ้วยเถิด

ั ย์ปฏิญาณนี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแก่
๒๑. ด ้วยการสวดพระคาถามหาทิพมนต์นี้ และด ้วยการกล่าวคําสต
ข ้าพเจ ้าด ้วยเถิด

ั ญาขันธ์ สงั ขารขันธ์ วิญญาณ


๒๒. ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมแด่พระพุทธเจ ้า ผู ้เข ้าถึงรูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สญ
ขันธ์ เป็ นทุกข์ ไม่เทีย ่ ัวตนของเราจริง ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมพระผู ้มีพระภาคเจ ้าพระองค์นัน
่ ง มิใชต ้

ั ญาขันธ์ สงั ขารขันธ์ วิญญาณ


๒๓. ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมแด่พระพุทธเจ ้า ผู ้เข ้าถึงรูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สญ
ขันธ์ เป็ นทุกข์ ไม่เทีย ่ ัวตนของเราจริง ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมพระธรรม ทีพ
่ ง มิใชต ่ ระพุทธเจ ้าตรัสไว ้ดี
แล ้ว

๒๔. ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมแด่พระธรรมเจ ้า รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สญ ั ญาขันธ์ สงั ขารขันธ์ วิญญาณขันธ์
เป็ นทุกข์ ไม่เทีย ่ ัวตนของเราจริง ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมพระธรรมทีพ
่ ง มิใชต ่ ระพุทธเจ ้าตรัสไว ้ดีแล ้ว

๒๕. ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมแด่พระธรรมเจ ้า รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สญั ญาขันธ์ สงั ขารขันธ์ วิญญาณขันธ์
เป็ นทุกข์ ไม่เทีย ่
่ ง มิใชตัวตนของเราจริง ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมพระสงฆ์ สาวกของพระพุทธเจ ้า ผู ้ปฏิบัตด
ิ ี
แล ้ว

๒๖. ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมแด่พระสงั ฆเจ ้า รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สญั ญาขันธ์ สงั ขารขันธ์ วิญญาณขันธ์
เป็ นทุกข์ ไม่เทีย ่ ัวตนของเราจริง ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมพระสงฆ์ สาวกของพระพุทธเจ ้า ผู ้ปฏิบัตด
่ ง มิใชต ิ ี
แล ้ว

๒๗. ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมแด่พระพุทธเจ ้า ด ้วยคําสอนของ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ความไม่เทีย ่ ง


่ ัวตนของเราจริง ข ้าพเจ ้าขอกราบไหว ้พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อม
เป็ นทุกข์ มิใชต
แด่พระพุทธเจ ้า ด ้วยพระธรรมคําสงั่ สอน ความไม่เทีย ่ ัวตนของเราจริง
่ ง เป็ นทุกข์ มิใชต

คาถาพาหุง
พุทธคุณ พาหุง มหากา

จากคาสอนหลวงพ่อจร ัญ ว ัดอ ัมพว ัน


หลวงพ่อจรัญ " พระพุทธคุณ อาตมาสงั เกตมาว่า บางคนเขาไปหาหมอดูเคราะห์ร ้ายก็ต ้องสะเดาะ
เคราะห์ อาตมาก็มาดูเหตุการณ์โชคลางไม่ดก ี ็เป็ นความจริงของหมอดู อาตมาก็ตงั ้ ตําราขึน ้ มาด ้วยสติ
บอกว่าโยมไปสวดพุทธคุณเท่าอายุให ้เกินกว่า ๑ ให ้ได ้ เพือ ่ ให ้สติด ี แล ้วสวด "พาหุงมหากา" หายเลย
สติก็ดข
ี น ้ ้ผลสวดตัง้ แต่ นะโม พุทธัง ธัมมัง สงั ฆัง พุทธคุณ ธรรมคุณ สงั ฆคุณ พาหุงมหากา
ึ้ เท่าทีใ่ ชได
จบแล ้วย ้อนกลับมาข ้างต ้น เอาพุทธคุณห ้องเดียว ห ้องละ ๑ จบ ต่อ ๑ อายุ อายุ ๔๐ สวด ๔๑ ก็ได ้ผล "
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มา สมั พุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สม ั มา สม ั พุทธัสสะ
ั มา สม
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สม ั พุทธัสสะ

พุทธัง สะระณั ง คัจฉามิ


ธัมมัง สะระณั ง คัจฉามิ
สงั ฆัง สะระณั ง คัจฉามิ

ทุตย
ิ ัมปิ พุทธัง สะระณั ง คัจฉามิ
ทุตยิ ัมปิ ธัมมัง สะระณั ง คัจฉามิ
ทุตย ิ ัมปิ สงั ฆัง สะระณั ง คัจฉามิ

ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณั ง คัจฉามิ


ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณั ง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ สงั ฆัง สะระณั ง คัจฉามิ

๑. พุทธคุณ
อิตป ั มาสม
ิ ิ โส ภะคะวา อะระหัง สม ั พุทโธ วิชชาจะระณะ สม
ั ปั นโน สุคะโต โลกะวิทู
อนุตตะโร ปุรส ั ถาเทวมนุสสานั ง พุทโธภะคะวาติ
ิ ะธัมมะสาระถิ สต

๒. ธรรมคุณ
ั ทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสโิ ก โอปะนะยิโก ปั จจัตตังเวทิตัพโพ
สวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม สน
วิญํูหต
ิ ิ


๓. สงฆคุ ณ
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ อุชป ุ ะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะ
โต สาวะกะสงั โฆ
สามีจป ิ ะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ ยะทิทังจัตตาริ ปุรส
ิ ะยุคานิ อัฏฐะปุรส
ิ ะปุคคะลา เอสะ ภะคะ
วะโต สาวะกะสงั โฆ
อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ


๔. พุทธชยมงคลคาถา (ถวายพรพระ)
๑. พาหุง สะหัสสะมะภินม ิ มิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทต
ิ ะโฆระสะเสนะมารัง
ทานาทิธัมมะวิธน ิ ะวา มุนน
ิ า ชต ิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ

๒. มาราติเรกะมะภิยช ุ ฌิตะสพั พะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง


ขันตีสท
ุ ันตะวิธน ิ ะวา มุนน
ิ า ชต ิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ

๓. นาฬาคิรงิ คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง


เมตตัมพุเสกะ วิธน ิ ะวา มุนน
ิ า ชต ิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ

๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโย ชะนะปะถังคุลม


ิ าละวันตัง
อิทธีภส ั ิ
ิ งขะตะมะโน ชตะวา มุนนิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ

๕. กัตตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินย


ี า จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
ั เตนะ โสมะวิธน
สน ิ ะวา มุนน
ิ า ชต ิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ

๖. สจั จัง วิหายะ มะติสจ


ั จะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิ ตะมะนั ง อะติอันธะภูตัง
ปั ญญาปะทีปะชะลิโต ชต ิ ะวา มุนน
ิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ
๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพธ ุ ัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต
อิทธูปะเทสะวิธน ิ ะวา มุนน
ิ า ชต ิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ

๘. ทุคคาหะ ทิฏฐิภช ุ ะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสท ุ ธิชต


ุ ม
ิ ท
ิ ธิพะกาภิธานัง
ญาณาคะเทนะ วิธน ิ า ชต ิ ะวา มุนน
ิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ
เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถาโย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
หิตวานะเนกะวิวธิ านิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขงั อะธิคะเมยยะ นะโร สะปั ญโญ
่ ใชคํ้ าว่า เต สวดให ้ตัวเองใชคํ้ าว่า เม (เต แปลว่าท่าน - เม แปลว่าข ้าพเจ ้า)
* ถ ้าสวดให ้คนอืน

๕. มหาการุณิโก
มหาการุณโิ ก นาโถ หิตายะ สพ ั พะปาณินัง ปูเรตวา
ปาระมี สพ ั พา ปั ตโต สม ั โพธิมต ุ ตะมัง เอเตนะ สจ ั จะวัชเชนะ
โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
ชะยันโต โพธิยา มูเล สก ั ยานั ง
นันทิวฑ ั ฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
อะปะราชต ิ ะปั ลลังเก สเี ส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สพ ั พะ
พุทธานัง อัคคัปปั ตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง
สุปะภาตัง สุหฏ ุ ฐิตัง สุขะโณ สุมห ุ ต ุ โต จะ สุยฏิ ฐัง พรัหมะ
จารีส ุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
มโนกัมมัง ปะณิธ ี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ
ภะวะตุ สพ ั พะมังคะลัง รักขันตุ สพ ั พะเทวะตา
สพั พะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต*
ภะวะตุ สพ ั พะมังคะลัง รักขันตุ สพ ั พะเทวะตา
สพ ั พะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต*
ภะวะตุ สพ ั พะมังคะลัง รักขันตุ สพ ั พะเทวะตา
สพ ั พะสงั ฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต*
* ถ ้าสวดให ้คนอืน ่ ใชคํ้ าว่า เต สวดให ้ตัวเองใชคํ้ าว่า เม (เต แปลว่าท่าน - เม แปลว่าข ้าพเจ ้า)
กราบ ๓ ครัง้ เสร็จแล ้วสวดเฉพาะพุทธคุณ ดังต่อไปนี้
อิตป ิ ิ โส ภะคะวา อะระหัง สม ั มาสม ั พุทโธ วิชชา จาระณะสม ั ปั นโน สุคะโต โลกะวิทู
อะนุตตะโร ปุรส ิ ะทัม มะสาระถิ สต ั ถาเทวะ มะนุสสานั ง พุทโธ ภะคะวาติ
ให ้สวดพุทธคุณเกินอายุ ๑ จบ เชน ่ อายุ ๒๘ ปี ให ้สวด ๒๙ จบ
เมือ ่ สวดพุทธคุณครบตามจํานวนจบทีต ่ ้องการแล ้ว จึงตัง้ จิตแผ่เมตตาและอุทศ ิ สว่ นกุศลดังนี้

คาถาแผ่เมตตาตนเอง
อะหัง สุขโิ ต โหมิ ขอให ้ข ้าพเจ ้ามีความสุข
อะหัง นิททุกโข โหมิ ขอให ้ข ้าพเจ ้าปราศจากความทุกข์
อะหัง อะเวโร โหมิ ขอให ้ข ้าพเจ ้าปราศจากเวร
อะหัง อัพยาปั ชโฌ โหมิ ขอให ้ข ้าพเจ ้าปราศจากอุปสรรคอันตรายทัง้ ปวง
สุข ี อัตตานัง ปะริหะรามิ
ขอให ้ข ้าพเจ ้าจงมีความสุขกายสุขใจ รักษากายวาจาใจให ้พันจากความทุกข์ภัยทัง้ ปวงเถิด

แผ่เมตตาให้สรรพสตว์ ั
สพั เพสต ั ตา สต
ั ว์ทัง้ หลาย ทีเ่ ป็ นเพือ
่ นทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด ้วยกันทัง้ หมดทัง้ สน ิ้
อะเวรา โหนตุ จงเป็ นสุขเป็ นสุขเถิด อย่าได ้มีเวรแก่กันและกันเลย
อัพยาปั ชฌา โหนตุ จงเป็ นสุขเป็ นสุขเถิด อย่าได ้พยาบาทเบียดเบียนซงึ่ กันและกันเลย
อนีฆา โหนตุ จงเป็ นสุขเป็ นสุขเถิด อย่าได ้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย
สุขอี ัตตานัง ปะริหะรันตุ จงมีความสุขกายสุขใจ รักษาตนให ้พ ้นจากทุกข์ภัยทัง้ สน ิ้ เถิดฯ
บทกรวดนา้ (อุทศ ิ สว่ นกุศล)
อิทัง เม มาตาปิ ตน
ู ัง โหตุ สุขต ิ า โหนตุ มาตาปิ ตะโร
- ขอสว่ นบุญนีจ
้ งสําเร็จ แก่มารดาบิดาของข ้าพเจ ้า
อิทัง เม ญาตินัง โหตุ สุขต ิ า โหนตุ ญาตะโย
ขอให ้มารดาบิดาของข ้าพเจ ้า จงมีความสุข- ขอสว่ นบุญนีจ ้ งสําเร็จ แก่ญาติทัง้ หลายของข ้าพเจ ้า
อิทัง เม คุรป ู ั ชฌายาจริยานัง โหตุ สุขต ิ า โหนตุ คุรปู ั ชฌายาจริยา
- ขอสว่ นบุญนีจ ้ งสําเร็จ แด่ครูอป ุ ั ชฌาย์อาจารย์ของข ้าพเจ ้า ขอให ้ครูอป ุ ั ชฌาย์อาจารย์ จงมีความสุข
อิทัง สพ ั พะ เทวะตานัง โหตุ สุขต ิ า โหนตุ สพ ั เพ เทวา
- ขอสว่ นบุญนีจ ้ งสําเร็จแก่เทวดาทัง้ หลาย ขอให ้เทวดาทัง้ หลายจงมีความสุข
อิทัง สพ ั พะเปตานั ง โหตุ สุขต ิ า โหนตุ สพ ั เพ เปตา

- ขอสวนบุญนีจ ํ
้ งสาเร็จ แก่เปรตทัง้ หลาย ขอให ้เปรตทัง้ หลาย จงมีความสุข
อิทัง สพ ั พะ เวรีนัง โหตุ สุขต ิ า โหนตุ สพ ั เพเวรี
- ขอสว่ นบุญนีจ ้ งสําเร็จแก่เจ ้ากรรมนายเวรทัง้ หลาย ขอให ้เจ ้ากรรมนายเวรทัง้ หลาย จงมีความสุข
อิทัง สพ ั พะสต ั ตานัง โหตุ สุขต ิ า โหนตุ สพ ั เพสตั ตา
- ขอสว่ นบุญนีจ ้ งสําเร็จ แก่สต ั ว์ทัง้ หลายทัง้ ปวง ขอให ้สต ั ว์ทัง้ หลายทัง้ ปวง จงมีความสุข
ขอให ้ญาติทัง้ หลายของข ้าพเจ ้า จงมีความสุข
<<จบบทสวด>>

--------------------------------------------------------------------------------


คาแปล "พาหุงมหากา" หรือ "พุทธชยมงคลคาถา" มีอยู่ ๘ บท และมีความมุง
่ หมายแตกต่าง
ก ันทงแปดบท
ั้ กล่าวคือ

บทที่ ๑ สําหรับเอาชนะศัตรูหมูม ่ าก เชน ่ ในการสูรบ ้


บทที่ ๒ สําหรับเอาชนะใจคนทีก ่ ระด ้างกระเดือ ่ งเป็ นปฏิปักษ์
บทที่ ๓ สําหรับเอาชนะสตั ว์ร ้ายหรือคูต ่ อ่ สู ้

บทที่ ๔ สาหรับเอาชนะโจร
บทที่ ๕ สําหรับเอาชนะการแกล ้ง ใสร่ ้ายกล่าวโทษหรือคดีความ
บทที่ ๖ สําหรับเอาชนะการโต ้ตอบ
บทที่ ๗ สําหรับเอาชนะเล่หเ์ หลีย ่ มกุศโลบาย
บทที่ ๘ สําหรับเอาชนะทิฏฐิมานะของคน

เราจะเห็นได ้ว่า ของดีวเิ ศษอยูใ่ นนี้ และถ ้าพูดถึงการทีจ ่ ะเอาชนะหรือการแสวงหาความมีชย ั ก็ดเู หมือน
จะไม่มอ ี ะไรนอกเหนือไปจาก ๘ ประการทีก ่ ล่าวข ้างต ้น ก่อนทีจ
่ ะนํ าเอาตัวคาถาบทสวดมนต์และคํา
แปลมาไว ้ให ้จําจะต ้องทําความเข ้าใจคําอธิบายบทต่างๆ
ไว ้พอสมควรก่อน เพราะความในคาถาเองเข ้าใจยาก ถึงจะแปลออกมาก็ยังเข ้าใจยากอยูน ่ ั่นเอง เมือ่ เรา
ไม่เข ้าใจเราอาจจะไม่เกิดความเลือ ่ มใส จึงควรจะหาทางทําความเข ้าใจกันให ้แจ่มแจ ้งไว ้ก่อน

่ งผจญมาร ซงึ่ มีเรือ


ในบทที่ ๑. เป็ นเรือ ่ งว่าพระยามารยกพลใหญ่หลวงมา พระพุทธเจ ้าก็ทรงสามารถ
เอาชนะได ้
จึงถือเป็ นบทสําหรับเอาชนะศัตรูหมูม ่ าก เชน ่ ในการสูรบ

คําแปล - พระยามารผู ้นิรมิตแขนได ้ตัง้ พัน ถืออาวุธครบมือ ขีช ้ อ
่ างช ื่ ครีเมขละ พร ้อมด ้วยเสนามารโห่
ร ้องมาองค์พระจอมมุนก ี ็เอาชนะมารได ้ ด ้วยทานบารมีด ้วยเดชะอันนี้ ขอชย ั มงคลจงมีแก่เรา

ในบทที่ ๒. เรือ
่ งเล่าว่า มียักษ์ ตนหนึง่ ชอ ื่ อาฬะวกะ เป็ นผู ้มีจต
ิ กระด ้างและมีกําลังยิง่ กว่าพระยามาร
พยายามมาใชกํ้ าลังทําร ้ายพระองค์อยูจ ่ นตลอดรุง่ ก็ทรงทรมานยักษ์ตนนีใ้ ห ้พ่ายแพ ้ไปได ้จึงถือเป็ นบท

ทีใ่ ชเอาชนะปฏิ ปักษ์หรือคูต ่ สู ้
่ อ
คําแปล - อาฬะวกะยักษ์ผู ้มีจต ิ กระด ้าง ปราศจากความยับยัง้ มีฤทธิใ์ หญ่ยงิ่ กว่าพระยามารเข ้ามา
ประทุษร ้ายอยูต่ ลอดรุง่ องค์พระจอมมุนก ี ็เอาชนะได ้ ด ้วยขันติบารมี ด ้วยเดชะอันนี้ ขอชย ั มงคลจงมีแก่
เรา

ในบทที่ ๓. มีเรือ ่ งว่าเมือ


่ พระเทวทัตทรยศต่อพระพุทธเจ ้า ได ้จัดการให ้คนปล่อยชางสาร ้ ทีก
่ ําลังตกมัน
ชอื่ นาฬาคีร ี เพือ
่ มาทําร ้ายพระพุทธเจ ้า แต่เมือ ้
่ ชางมาถึ
งก็ไม่ทําร ้าย จึงถือเป็ นบททีเ่ อาชนะสต ั ว์ร ้าย
คําแปล - ชางตั้ วประเสริฐ ชอ ื่ นาฬาคีร ี เป็ นชางเมามั
้ น โหดร ้ายเหมือนไฟไหม ้ป่ า มีกําลังเหมือนจักราวุธ
และสายฟ้ า องค์พระจอมมุนก ี ็เอาชนะได ้ ด ้วยพระเมตตาบารมีด ้วยเดชะอันนี้ ขอชย ั มงคลจงมีแก่เรา
ในบทที่ ๔. เป็ นเรือ่ งขององคุลม ี าล ซงึ่ เรารู ้กันแพร่หลาย คือ องคุลม ี าลนัน้ อาจารย์บอกไว ้ว่าถ ้าฆ่าคน
และตัดนิว้ มือมาร ้อยเป็ นสร ้อยคอ ให ้ได ้ครบพัน ก็จะมีฤทธิเ์ ดชยิง่ ใหญ่ องคุลม ี าลฆ่าคนและตัดนิว้ มือได ้
๙๙๙ เหลืออีกนิว้ เดียวจะครบพัน ก็มาพบพระพุทธเจ ้าพระพุทธเจ ้าทรงสามารถเอาชนะถึงกับองคุลม ี าล
เลิกเป็ นโจรและยอมเข ้ามาบวช กลายเป็ นสาวกองค์สําคัญองค์หนึง่ จึงถือเป็ นบททีใ่ ชเอาชนะโจรผู้ ้ร ้าย
คําแปล - โจร ชอ ื่ องคุลมี าล มีฝีมือเก่งกล ้า ถือดาบเงือ ้ วิง่ ไล่พระองค์ไปตลอดทาง ๓ โยชน์
องค์พระจอมมุนก ี ็เอาชนะได ้ ด ้วยการกระทําปาฏิหาริย ์ ด ้วยเดชะอันนีข ั มงคลจงมีแก่เรา
้ อชย

ในบทที่ ๕. หญิงคนหนึง่ มีนามว่า จิญจมาณวิกา ใสร่ ้ายพระพุทธเจ ้า โดยเอาไม ้กลมๆ ใสเ่ ข ้าทีท ่ ้องแล ้ว
ก็ไปเทีย ่ วป่ าวข่าวให ้เล่าลือว่าตัง้ ครรภ์กับพระพุทธเจ ้า พระพุทธเจ ้าทรงเอาชนะ ให ้ความจริงปรากฏแก่
คนทัง้ หลายว่าเป็ นเรือ ่ งกล่าวร ้ายใสโ่ ทษพระองค์โดยแท ้ จึงถือเป็ นบททีเ่ อาชนะคดีความหรือการกล่าว
ร ้ายใสโ่ ทษ
คําแปล - นางจิญจมาณวิกาใชไม ้ ้มีสณ
ั ฐานกลมใสท ่ ท
ี่ ้อง ทําอาการประหนึง่ ว่ามีครรภ์ เพือ่ กล่าวร ้าย
พระพุทธเจ ้าองค์พระจอมมุนก ี ็เอาชนะได ้ ด ้วยวิธส
ี งบ ระงับพระทัยในท่ามกลางหมูค ่ น ด ้วยเดชะอันนีข ้ อ

ชยมงคลจงมีแก่เรา

ในบทที่ ๖. เป็ นเรือ ่ งทีพ


่ ระพุทธเจ ้าทรงเอาชนะสจ ั จะกะนิครนถ์ ซงึ่ เป็ นคนเจ ้าโวหาร เข ้ามาโต ้ตอบกับ

พระพุทธเจ ้าจึงถือเป็ นบททีใ่ ชเอาชนะในการโต ้ตอบ
คําแปล - สจ ั จะกะนิครนถ์ ผู ้มีนส ิ ยั ละทิง้ ความสต ั ย์ใฝ่ ใจจะยกย่องถ ้อยคําของตนให ้สูงประหนึง่ ว่ายกธง
เป็ นผู ้มืดมัวเมาองค์พระจอมมุนก ั แล ้วตรัสเทศนาด ้วยเดชะอันนี้ ขอชย
ี ็เอาชนะได ้ ด ้วยรู ้นิสย ั มงคลจงมี
แก่เรา

ในบทที่ ๗. เป็ นเรือ่ งทีพ ้


่ ระพุทธเจ ้า ให ้พระโมคคัลลาน์ อัครมหาสาวกไปต่อสูเอาชนะพระยานาคช ื่ นัน

โทปนั นทะ ผู ้มีเล่หเ์ หลีย ้
่ มในการต่อสูมากหลาย ้
จึงถือเป็ นบททีใ่ ชเอาชนะเล่ หเ์ หลีย
่ มกุศโลบาย
คําแปล - องค์พระจอมมุนี ได ้โปรดให ้พระโมคคัลลาน์เถระ นิรมิตกายเป็ นนาคราช ไปทรมานพระยานาค
ชอื่ นันโทปนั นทะ ผู ้มีฤทธิม ์ ากให ้พ่ายแพ ้ด ้วยวิธอ
ี ันเป็ นอุปเท่หแ
์ ห่งฤทธิ์ ด ้วยเดชะอันนี้ ขอชยั มงคลจง
มีแก่เรา

ในบทที่ ๘. เป็ นเรือ


่ งทีพ
่ ระพุทธเจ ้าทรงเอาชนะ ผกาพรหม ผู ้มีทฏ ิ ฐิแรงกล ้าสาํ คัญว่าตนเป็ นผู ้ทีม่ ี
ความสําคัญทีส ่ ด
ุ แต่พระพุทธเจ ้าก็ทรงสามารถทําให ้ผกาพรหมยอมละทิง้ ทิฏฐิมานะ และยอมว่า

พระพุทธเจ ้าสูงกว่า จึงถือเป็ นบททีใ่ ชเอาชนะทิ ฏฐิมานะของตน
คําแปล - พรหม ผู ้มีนามว่า ท ้าวผกา มีฤทธิแ ์ ละสําคัญตน ว่าเป็ นผู ้รุง่ เรืองด ้วยคุณอันบริสท
ุ ธิม
์ ท
ี ฏิ ฐิทถ
ี่ อ

ผิดรัดรึงอยูอ
่ ย่างแน่นแฟ้ น องค์พระจอมมุนก ี ็เอาชนะได ้ด ้วยวิธเี ทศนาญาณ ด ้วยเดชะอันนี้ ขอชย ั มงคล
จงมีแก่เรา

คาแปล มหาการุณิโก
สมเด็จพระสม ั มาสม ั พุทธเจ ้า พระผู ้ทรงเป็ นทีพ ่ งึ่ ของสรรพสต ั ว์ทรงประกอบด ้วยพระมหากรุณา ทรง
บําเพ็ญพระบารมีทัง้ ปวง เพือ ่ ประโยชน์เกือ ้ กูลแก่สรรพสต ั ว์ ทรงบรรลุพระสม ั โพธิญาณอันสูงสุด ด ้วย
การกล่าวสจ ั จวาจานี้ ขอชย ั มงคลทัง้ หลายจงมีแก่ข ้าพเจ ้าขอข ้าพเจ ้าจงมีชย ั ชนะในชยั มงคลพิธ ี ดุจพระ
จอมมุนผ ี ู ้ยังความปี ตย ิ น
ิ ดีให ้เพิม
่ พูนแก่ชาวศากยะ ทรงมีชย ั ชนะมาร ณ โคนต ้นมหาโพธิท ์ รงถึงความ
เป็ นเลิศยอดเยีย ่ ม ทรงปี ตป ิ ราโมทย์อยูเ่ หนืออชต ิ บัลลังก์อันไม่รู ้พ่าย ณ โปกขรปฐพี อันเป็ นทีอ
่ ภิเษก
ของพระพุทธเจ ้าทุกพระองค์ ฉะนัน ้ เถิด เวลาทีก ่ ําหนดไว ้ดี งานมงคลดี รุง่ แจ ้งดี ความพยายามดี
่ ั
ชวขณะหนึง่ ดี ชวครูห ่ ั ่ นึง่ ดี การบูชาดี แด่พระสงฆ์ผู ้บริสท ุ ธิ์ กายกรรมอันเป็ นกุศล วจีกรรมอันเป็ นกุศล
มโนกรรมอันเป็ นกุศล ความปรารถนาดีอันเป็ นกุศล ผู ้ได ้ประพฤติกรรมอันเป็ นกุศล ย่อมประสบความสุข
โชคดี เทอญ

ขอสรรพมงคลจงมีแก่ข ้าพเจ ้า ขอเหล่าเทพยดาทัง้ ปวงจงรักษาข ้าพเจ ้า ด ้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ ้า


ขอความสุขสวัสดีทัง้ หลาย จงมีแก่ข ้าพเจ ้าทุกเมือ

ขอสรรพมงคลจงมีแก่ข ้าพเจ ้า ขอเหล่าเทพยดาทัง้ ปวงจงรักษาข ้าพเจ ้า ด ้วยอานุภาพแห่งพระธรรม ขอ


ความสุขสวัสดีทัง้ หลาย จงมีแก่ข ้าพเจ ้าทุกเมือ

ขอสรรพมงคลจงมีแก่ข ้าพเจ ้า ขอเหล่าเทพยดาทัง้ ปวงจงรักษาข ้าพเจ ้า ด ้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ ขอ


ความสุขสวัสดีทัง้ หลาย จงมีแก่ข ้าพเจ ้าทุกเมือ ่ ทีม
่ าและอานิสงสข ์ องบทสวดมนต์ ชย ั มงคลคาถา หรือ
พาหุงมหาการุณโิ ก ทีม ่ าของบทสวดมนต์ชย ั มงคลคาถา อาตมาได ้ตําราเก่าแก่ครัง้ กรุงศรีอยุธยา เป็ น
ใบลานทองคําจารึกของสมเด็จพระพนรัตน์ วัดป่ าแก ้ว ปั จจุบันเรียกว่า วัดใหญ่ชย ั มงคล อยุธยา ได ้รจนา

ถวายพระพรชยมงคลคาถาแก่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระพนรัตน์เป็ นอาจารย์ของสมเด็จพระ
นเรศวรมหาราช อานิสงสข ์ องบทสวดมนต์ชย ั มงคลคาถา หรือพาหุงมหากา สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
ไม่เคยแพ ้ทัพ สมเด็จพระเจ ้ากรุงธนบุร ี เจ ้าพระยามหากษั ตริยศ ึ ไม่เคยแพ ้ทัพ พระชย
์ ก ั หลังชางของ
้ ร.
๑ นัน
้ มาจากบทพาหุง มหากา ผู ้ใดสวดมนต์ชย ั มงคลคาถา หรือพาหุงมหากา เป็ นประจําทุก ๆ วันแล ้ว
มีแต่ชย ั ชนะทุกประการ เรียนหนั งสอ
ื ก็เกิดปั ญญา มีแต่ความเก่งกล ้าสามารถ ผู ้ใดสวดทุกเชา้ คํา่ คิดสงิ่
ใดทีด่ เี ป็ นมงคล จะสมความปรารถนาทุกประการ

เมือ
่ อาตมา(หลวงพ่อจรัญ)ได ้พบกับสมเด็จพระพนรัตน์ วัดป่ าแก ้ว
คืนวันหนึง่ อาตมานอนหลับแล ้ว ฝั นไปว่า อาตมาได ้เดินไปในสถานทีแ ่ ห่งหนึง่ ได ้พบกับพระสงฆ์รป ู หนึง่
ครองจีวรครํ่า สมณสารูปเรียบร ้อยน่าเลือ ่ มใส อาตมาเห็นว่าเป็ นพระอาวุโสผู ้รัตตัญํูจงึ น ้อมนมัสการ
ท่าน ท่านหยุดยืนตรงหน ้าอาตมาแล ้วกล่าวกับอาตมาว่า "ฉั นคือสมเด็จพระพนรัตน์ วัดป่ าแก ้วแห่งกรุง
ศรีอยุธยา ฉั นต ้องการให ้เธอได ้ไปทีว่ ด ั ใหญ่ชย ั มงคล เพือ ่ ดูจารึกทีฉ ่ ั นได ้จารึกถวายพระเกียรติแก่สมเด็จ
พระนเรศวรมหาราชผู ้เป็ นเจ ้า เนือ ่ งในวาระทีส ่ ร ้างพระเจดียฉ ์ ลองชย ั ชนะเหนือพระมหาอุปราชาแห่งพม่า
และประกาศความเป็ นอิสระของประเทศไทย จากหงสาวดีเป็ นครัง้ แรก เธอไปดูไว ้แล ้วจดจํามาเผยแพร่
ออกไป ถึงเวลาทีเ่ ธอจะได ้รับรู ้แล ้ว" ในฝั นอาตมารับปากท่าน ท่านก็บอกตําแหน่งให ้แล ้วก็ตกใจตืน ่
นอนใกล ้รุง่ อาตมาก็ทบทวนความฝั นก็นก ึ อยูใ่ นใจว่าเราเองนัน ้ กําหนดจิตด ้วยพระกรรมฐานมีสติอยู่
เสมอเรือ ่
่ งฝั นฟุ้ งซานก็เป็ นไม่ อาตมาก็ได ้ข่าวในวันนัน ้ แหละว่า ทางกรมศล ิ ปากรทําการ
บูรณะปฏิสงั ขรณ์พระเจดียใ์ หญ่ในวัดใหญ่ชย ั มงคล และจะทําการบรรจุบัวยอดพระเจดีย ์ อันเป็ นนิมต ิ
หมายการสน ิ้ สุดการบูรณะ และจะรือ ้ นั่งร ้านทัง้ หมดออกเสร็จสน ิ้ อาตมาจึงได ้ขอร ้อง ดร.กิง่ แก ้ว อัตถา
กร ให ้เลือ ่ นการปิ ดยอดบัวไปอีกวันหนึง่ เพือ ่ ทีอ ้
่ าตมาจะได ้นํ าพระซุมเสมาช ั ซุมเสมาขอ
ย ้ ทีอ
่ าตมาได ้
สร ้างขึน
้ ตามแบบดัง้ เดิมทีพ ่ บในเจดียใ์ หญ่ใกล ้กับวัดอัมพวัน ซงึ่ พังลงนํ้ า ทีก ่ ง๋ เหล็งเป็ นคนรวบรวมเอา
ให ้อาตมาตัง้ แต่เมือ ่ เริม
่ มาพัฒนาวัดใหม่ๆ แต่แตกหักผุพังทัง้ นัน ้ หลายสบ ิ ปี๊ บ อาตมาได ้ป่ นเอามาผสม
สร ้างเป็ นองค์พระใหม่ ไปร่วมบรรจุไว ้ทีย ่ อดพระเจดียบ ์ ้าง

วันนัน ้ อาตมาเดินทางไปถึงก็ได ้เดินขึน ้ ไปบนเจดียต ์ อนทีส


่ ด
ุ บันไดแล ้ว มองเห็นโพรงทีท ่ างเขาทําไว ้
สําหรับลงไปด ้านล่างมีร ้านไม ้พอไต่ลงไปภายใน ตัง้ ใจเด็ดเดีย ่ วว่าลงไปคราวนี้ ถ ้าพลาดตกลงไปจาก
นั่งร ้านม ้าก็ยอมตายคนทีร่ ว่ มเดินทางมาเขามัวแต่ไปบนลานชน ั ้ บน อาตมาก็ดงิ่ ลงไปชน ั ้ ล่าง มีไฟฉาย
ดวงหนึง่ เวลานัน ้ ประมาณ ๐๙.๐๐ น. อาตมาลงไปภายในแล ้วก็พบนิมต ิ ดังทีส
่ มเด็จพระพนรัตน์ได ้บอก
ไว ้จริง ๆ อาตมาจึงได ้พบว่าแท ้ทีจ ่ ริงแล ้ว สงิ่ ทีส
่ มเด็จพระพนรัตน์วด ั ป่ าแก ้วท่านได ้จารึกถวายพระพร ก็
คือบทสวดทีเ่ รียกว่า "พาหุงมหาการุณโิ ก" ท ้ายของนิมต ิ นัน้ ระบุวา่ "เราสมเด็จพระพนรัตน์วด ั ป่ าแก ้วศรีอ
โยธเยศ คือผู ้จารึกนิมต ิ รจนาเอาไว ้ถวายพระพรแด่มหาบพิตรเจ ้าสมเด็จพระนเรศวรมหาราช"

พาหุงมหากาก็คอ ื บทสวดสรรเสริญพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสงั ฆคุณ แล ้วก็พรพาหุงอันเริม ่ ด ้วย


"พาหุงสหัสไปจนถึงทุคคาหทิฏฐิ แล ้วเรือ ่ ยไปจนถึงมหาการุณโิ กนาโถหิตายะและจบลงด ้วยภาวะตุ
สพั พะมังคะลัง สพ ั พะพุทธา สพั พะธัมมา สพ ั พะสงั ฆา นุภาเวนะสะทาโสตถี ภะวันตุเต" อาตมา เรียก
รวมกันว่าพาหุงมหากา อาตมาจึงเข ้าใจในบัดนัน ้ เองว่า บทพาหุงนีค ้ อ
ื บทสวดมนต์ทส ี่ มเด็จพระพนรัตน์
วัดป่ าแก ้วได ้ถวายให ้พระบาทสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ไว ้สวดเป็ นประจําเวลาอยูก ่ ับพระมหาราชวัง

และในระหว่างศกสงคราม จึงปรากฏว่าพระบาทสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเจ ้าทรงรบ ณ ทีใ่ ด ทรงมีชย ั
ชนะอยูต ่ ลอดมามิได ้ทรงเพลีย ่ งพลํ้าเลยแม ้จะเพียงลําพังสองพระองค์กับสมเด็จพระอนุชาธิราชเจ ้า
ท่ามกลางกองทัพพม่าจํานวนนั บแสนคนก็ทรงมีชย ั ชนะเหนือกองทัพพม่าด ้วยการกระทํายุทธหัตถีมช ั
ี ย
เหนือพระมหาอุปราชาทีด ่ อนเจดียป
์ ชู นียสถานแม ้ข ้าศกึ จะยิงปื นไฟเข ้าใสพ่ ระองค์ในตอนทีเ่ ข ้ากันพระ
ศพของพระมหาอุปราชาออกไปราวกับห่าฝนก็มป ิ านแต่ก็มไิ ด ้ต ้องพระองค์ ด ้วยเดชะพาหุงมหากาทีท ่ รง
เจริญอยูเ่ ป็ นประจํานั่นเอง

อาตมาพบนิมต
ิ แล ้วก็ไต่ขน ่ งไปเกือบสามชวั่ โมง เนือ
ึ้ มา ด ้วยความสบายใจถึงปากปล่องทีล ้ ตัวมีแต่
หยากไย่ เดินลงมาแม่ชเี ห็นเข ้ายังร ้องว่า หลวงพ่อเข ้าไปในโพรงนั่ นมาหรือ แต่อาตมาไม่ตอบ ตัง้ แต่นัน ้
มา อาตมาจึงสอนการสวดพาหุงมหากาให ้แก่ญาติโยมเป็ นต ้นมา เพราะอะไร เพราะพาหุงมหากานัน ้ เป็ น
บทสวดมนต์ทม ี่ ค
ี า่ ทีส
่ ด ุ มีผลดีทสี่ ด
ุ เพราะเป็ นชยั ชนะอย่างสูงสุดของพระบรมศาสดาจากพญาวัสวดี
มาร จากอาฬาวกะยักษ์ จากชางนาฬาคิ ้ ร ี จากองคุลมี าล จากนางจิญมาณวิกา จากสจ ั จะกะนิครนถ์ จาก
พญานันโทปนันทนาคราช และท่านท ้าวผกาพรหม เป็ นชย ั ชนะทีพ ่ ระพุทธองค์ทรงได ้มาด ้วย
อิทธิปาฏิหาริย ์ และด ้วยอํานาจแห่งบารมีธรรมโดยแท ้ ผู ้ใดได ้สวดไว ้ประจําทุกวัน จะมีชย ั ชนะมีความ
เจริญรุง่ เรืองตลอดกาลนาน มีสติระลึกได ้ จะตายก็ไปสูสค ่ ุ ติภม
ู ิ ขอให ้ญาติโยมสวดพาหุงมหากากันให ้
ทั่วหน ้า นอกจากจะคุ ้มตัวแล ้ว ยังคุ ้มครอบครัวได ้ สวดมากๆ เข ้า สวดกันทัง้ ประเทศก็ทําให ้ประเทศมี
แต่ความรุง่ เรือง พวกคนพาลสน ั ดานหยาบก็แพ ้ภัยไปอย่างถ ้วนหน ้า ไม่ใชแ ่ ต่พระบาทสมเด็จพระ
นเรศวรมหาราชเท่านัน ้ ทีพ
่ บความมหัศจรรย์ของบทพาหุงมหากา แม ้สมเด็จพระเจ ้าตากสน ิ มหาราชก็
ทรงพบเชน ่ กัน โดยมีบันทึกโบราณบอกไว ้ว่าดังนี้

"เมือ ิ มหาราชตีเมืองจันทบุรไี ด ้แล ้วก็ทรงเห็นว่าสงครามกู ้ชาติตอ


่ พระเจ ้าตากสน ่ จากนีไ
้ ปจะต ้องหนั ก
หนา และยืดยาวจึงทรงโปรดเกล ้าฯ ให ้สร ้างพระยอดธงแบบศรีอยุธยาขึน ้ แล ้วนิมนต์พระเถระทัง้ หลาย
มาสวดบทพาหุง มหากาบรรจุไว ้ในองค์พระและพระองค์ก็ทรงเจริญรอยตามพระบาทสมเด็จพระนเรศวร
มหาราชด ้วยการเจริญพาหุงมหากาจึงบันดาลให ้ทรงกู ้ชาติสําเร็จ"

สวดพาหุงมหากากันให ้ได ้ทุกบ ้าน สวดให ้ได ้มากๆ จะมีแต่ความรุง่ เรือง สวดพาหุงมหากาก่อนแล ้วจึง
สวดชน ิ บัญชร เพราะชน ิ บัญชรนั น ้ เจ ้าประคุณสมเด็จท่านได ้สวดบูชาพระอรหันต์ของท่าน ต ้องสวดพาหุ
งมหากาก่อนแล ้วจึงมาถึงชน ิ บัญชรให ้จดจํากันเอาไว ้ นั่ นแหละมงคลในชวี ติ อันทีจ ่ ริงถ ้าเราทําบุญ เรา
จะได ้ยินพระสวดคาถา "พาหุงมหากา" หรือ "พุทธชย ั มงคลคาถา" ให ้เราฟั งทุกครัง้ บางทีเราจะเคยได ้
ยินพระสวดเจนหูเกินไปจนไม่นก ึ ว่ามีความสําคัญ แท ้จริงแล ้วคาถาดังกล่าวนี้ มีของดีอยูใ่ นตัวให ้เราใช ้
มากทุกบททุกตอน เป็ นเรือ ่ งของพระพุทธเจ ้า อ ้างอานุภาพของพระพุทธเจ ้า เพือ ่ นํ าชย ั มงคลมาให ้แก่
เรา ทุกตอนลงท ้ายว่า "ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ" เวลาพระสวดให ้เรา ท่านต ้องใชคํ้ าว่า
"เต" ซงึ่ แปลว่า "แก่ทา่ น" แต่ถ ้าเราจะเอามาสวดหรือภาวนาของเราเอง เพือ ่ ให ้ชยั ชนะเกิดแก่ตัวเราเอง
เราก็จะต ้องใชว่้ า "เม" ซงึ่ แปลว่า "แก่ข ้า" คือสวดว่า "ตันเตชะสา ภะวะตุเม ชะยะมังคะลานิ"

คาถาสมเด็จพระพุฒาจารย์
พุทธมังคลคาถาถือเป็ น อีกหนึง่ บทคาถา ของท่านสมเด็จพระพุฒาจารย์โต
คําว่าพุทธมังคลคาถานี้ คือการนมัสการบูชาพระอรหันต์แปดทิศ ซงึ่ ล ้วนแต่เป็ นพระมหาเถระทีย
่ งิ่ ใหญ่
ิ้
ทัง้ สน

พุทธม ังคลคาถา
สม ั พุทโธ ทิปะทัง เสฏโฐ นิสน ิ โน เจวะ มัชฌิเม
โกณฑัญโญ ปุพพะภาเค จะ อาคเณยเย จะ กัสสะโป
สารีปต ุ โต จะ ทักขิเณ หะระติเย อุปาลิ จะ
ปั จฉิมเมปิ จะ อานันโท พายัพเพ จะ คะวัมปะติ
โมคคัลลาโน จะ อุตตะเร อีสาเนปิ จะ ราหุโล
อิเม โข มังคะลา พุทธา สพ ั เพ อิธะ ปะติฏฐิตา
วันทิตา เต จะ อัมเหหิ สก ั กาเรหิ จะ ปูชต
ิ า
เอเตสงั อานุภาเวนะ สพ ั พะโสตถี ภะวันตุ โน
อิจเจวะมัจจันตะนะมัสสะเนยยัง
นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง
ปุญญาภิสน ั ทัง วิปล
ุ ัง อะลัตถัง
ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโยฯ
พุทธม ังคลคาถา
สม ั พุทโธ ทิปะทัง เสฏโฐ นิสน
ิ โน เจวะ มัชฌิเม
โกณฑัญโญ ปุพพะภาเค จะ อาคเณยเย จะ กัสสะโป
สารีปต ุ โต จะ ทักขิเณ หะระติเย อุปาลิ จะ
ปั จฉิมเมปิ จะ อานันโท พายัพเพ จะ คะวัมปะติ
โมคคัลลาโน จะ อุตตะเร อีสาเนปิ จะ ราหุโล
อิเม โข มังคะลา พุทธา สพ ั เพ อิธะ ปะติฏฐิตา
วันทิตา เต จะ อัมเหหิ สก ั กาเรหิ จะ ปูชต
ิ า
เอเตสงั อานุภาเวนะ สพ ั พะโสตถี ภะวันตุ โน
อิจเจวะมัจจันตะนะมัสสะเนยยัง
นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง
ปุญญาภิสน ั ทัง วิปล
ุ ัง อะลัตถัง
ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโยฯ

--------------------------------------------------------------------------------
คาถาบูชาพระสมเด็จ
ปุตตะกาโม ละเภ ปุตตัง
ธะนะกาโม ละเภ ธะนัง
อัตถิ กาเย กายะญายะ
เทวานัง ปิ ยะตัง สุตะวา

คาถาอารธนาพระสมเด็จ
โตเสนโต วะระธัมเมนะ
โตสฏ ั ฐาเน สเิ ว วะเร
โตสงั อะกาส ิ ชน ั ตูนัง
โตสะจิตตัง นะมามิหัง

คาถาบูชาพระสมเด็จ
โตเสนโต วะระธัมเมนะ โตสฏ ั ฐาเน สเิ ว วะเร
โตสงั อะกาส ิ ชน
ั ตูนัง โตสะจิตตัง นะมามิหัง
(เมตตามหานิยมประเสริฐนัก)

คาถาชุมนุมเทวดา
สะรัชชงั สะเสนัง สะพันธุง นะรินทัง
ปะริตตานุภาโว สะทา รักขะตูต ิ ผะริตวานะ
เมตตัง สะเมตตา ภะทันตา อะวิกขิตตะจิตตา
ปะริตตัง ภะณั นตุ
สคั เค กาเม จะรูเป คิรส ิ ขิ ะระตะเฏ
จันตะลิกเข วิมาเน ทีเป รัฏเฐ จะ
คาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะ
วัตถุมหิ เขตเต ภุมมา จายันตุ เทวา
ชะละถะละ วิสะเม ยักขะคันธัพพะนาคา
ติฏฐันตา สน ั ติเกยัง มุนวิ ะระวะ จะนั ง
สาธะโว เม สุณันตุ
ธัมมัสสะวะ นะกาโล อะยัมภะทันตา
ธัมมัสสะวะ นะกาโล อะยัมภะทันตา
ธัมมัสสะวะ นะกาโล อะยัมภะทันตา
โองการเทพชุมนุม
สาธุ อุกาสะ ข ้าพเจ ้าขอนมัสการ พระพุทธะคุณณั ง
พระธัมมะคุณณั ง พระสงั ฆะคุณณั ง พระศรีรัตนตรัย
และสมณาจารย์ ครูอาจารย์ เดชะบรมโพธิสมภารมาอยู่
เหนือเกศเกล ้าแห่งข ้าพเจ ้า ผู ้จะตัง้ นมัสการ
เชญ ิ พระพุทธองค์ ทรงพระสูตร พระวินัย
พระอภิธรรม พระกัมมัฏฐาน พระธัมมามูล
ทัง้ แปดหมืน่ สพี่ ันพระธรรมขันธ์ จนทัง้ พระไตรปิ ฎก
กัณฑ์ไตร พระเตมียน์ใบ ้ พระมหาชนก
พระมโหสถ พระโพธิสต ั ย์ พระพุทธสห ิ งิ
พระอินทร์ พระพรหม พระยม พระกาฬ
พระจตุโลกบาล พระโมกคัลลาณญาณ
พระสารีบต ุ ร พระพุทธกุ กุกสน ั โธ
พระโกนาคุมะโน พระพุทธกัสสโป พุทโธ
พระศรีสากะยะมุนโี คดม พระพุทธบรรทม
พระนารอด ยอดพระตัณหัง
อัฏฐะอรหันตัง พระสุวรรณสามปั ณฑิตา
พระแท่นศล ิ าอาสน์ พระมุนน ี าถ
พระศาสดา พระยาธรรมิกราช
พระศรีอารินไมตรี พระฤาษีทัง้ แปดหมืน ่ พระองค์
อันนั่งจมกรมภาวนาอยูใ่ นถํ้าพระคูหาสวรรค์
พระอาทิตย์ พระจันทร์ พระไตรสรรณคมน์
พระบรรทม พระโกณทัญญาณาณสุวรรณเสน
พระสุเมรุราช พระธาตุจฬ ุ ามณี
พระศรีมหาโพธิ พระหัตถ์ พระโอษฐ
พระหฤทัย พระไตรปิ ฎก พระปั จเจกโพธิ์
ท ้าวสริ ส ุ โทธนะ พระนางสริ ม
ิ ท ิ หามายาอันเป็ น
พระพุทธมารดาแห่งพระพุทธองค์
อันทรงพระนามกรชอ ื่ พระสท ิ ธารถชาติ
เป็ นทีส
่ ดุ พระพุธ พระพฤหัส พระสช ั ชนู
พระเสาร์ พระราหู พระสมุทรทัง้ ห ้า
ทัง้ แผ่นฟ้ า ทัง้ พสุธาชล ทัง้ ปลาอานนท์
นางเมขลา พระยาพาลีทรพี อินทรชต ิ
สุครีพ ทศกัณฑ์ กุมภัณฑ์ พระลักษณ์
พระราม พระหนุมาณ พระรามสูร
พระวิฑรู บูรก ิ า สุนันทยักษา พระยานาค
พระยาครุฑ พระราหู พิเภก ชมภูทเี ปหิมะอันตัง
พระพุทธเทวดาอยูใ่ นชน ั ้ ฟ้ า จตุมหาราชก ิ าสวรรค์
ั ้
เทพยดาอยูใ่ นชนฟ้ าดาวดึงสวรรค์
เทพยดาอยูใ่ นชน ั ้ ฟ้ ายามาสวรรค์
เทพยดาอยูใ่ นชน ั ้ ฟ้ าดุสต ิ าสวรรค์
เทพยดาอยูใ่ นชน ั ้ ฟ้ านิมมานรดีสวรรค์
เทพยดาอยูใ่ นชน ั ้ ฟ้ าปรนิมมิตวสวัดดีสวรรค์
เทพยดาอยูใ่ นชน ั ้ ฟ้ าอกนิฏฐโลกมหาสวรรค์
พระตัณหัง พระพุทธวิปัสส ี ปิ ตม ุ ารดา วาสุกรี
มังกร ครุฑ กินนร กินรี การเวก ปั กษา
มหากุมภัณฑ์อนันทยักษา มหากะบิลราช
พระโคอุสภ ุ ราช พระสารีรก ิ ธาตุ
พระเพลิงอันรุง่ เรืองรัศมี
พระศรีรัตนตรัยแก ้วและสมณาจารย์
ทัง้ พระรัตนญาณ พระบารมีตาวติงสาตีสน ู
นะโมพุทธายะ ธัมโมพุทธายะ สงโฆพุทธายะ ั
ธัมมะปั ชชา จะวันทะนา เมตตาติ

คาไหว้พระธาตุรวม
ั พัฏฐาเนสุ
วันทามิ เจติยัง สพ
ปะติฏฐิตา สะรีระธาตุง มะหาโพธิง
พุทธะรูปัง สะกะลัง สะทา นาคะโลเก
เทวะโลเก ตาวะติงเส พรัหมะโลเก
ั ภูทเี ป ลังกาทีเป
ชม
สะรีระธาตุโย เกสาธาตุโย อะระหันตา
ธาตุโย เจติยัง คันธะกุฏ ิ จตุราส-ี
ติสะหัสสะธัมมักขันธา ปาทะเจติยัง
นะระเทเวหิ ปูชต ิ า อะหัง วันทามิ
ธาตโย อะหัง วันทามิ ทูระโต
อะหัง วันทามิ สพ ั พะโส

คาไหว้ปาระมี 30 ท ัส
ทานะ ปาระมี สม ั ปั นโน , ทานะอุปะปาระมี สม ั ปั นโน , ทานะปะรามัตถะปาระมี สม ั ปั นโน , เมตตา ไมตรี
กรุณา มุฑต ิ า อะเปกขา ปาระมี สม ั ปั นโน , อิตป ิ ิ โส ภะคะวา
สล ี ะปาระมี สม ั ปั นโน , สล ี ะอุปะปาระมี สม ั ปั นโน , สล ี ะปะระมัตถะปาระมี สม ั ปั นโน , เมตตา กรุณา
มุทต ิ า อุเปกขา ปาระมี สม ั ปั นโน , อิตป ิ ิ โส ภะคะวา

เนขัมมะปาระมี สมปั นโน , เนกขัมมะอุปะปาระมี สม ั ปั นโน , เนกขัมมะปะระมัตถะปาระมี สม ั ปั นโน ,
เมตตา กรุณา มุทต ิ า อุเปกขา ปาระมี สม ั ปั นโน , อิตป ิ ิ โส ภะคะวา
ปั ญญาปาระมี สม ั ปั นโน , ปั ญญาอุปะปารมี สม ั ปั นโน , ปั ญญาปะระมัตถะปาระมี สม ั ปั นโน , เมตตา
กรุณา มุทต ิ า อุเปกขา ปาระมี สม ั ปั นโน , อิตป ิ ิ โส ภะคะวา
ขันตีปาระมี สม ั ปั นโน , ขันตีอป ุ ะปาระมี สม ั ปั นโน , ขันตีปะระมัตถะปาระมี สม ั ปั นโน , เมตตา กรุณา
มุทต ิ า อุเปกขา ปาระมี สม ั ปั นโน , อิตป ิ ิ โส ภะคะวา
สจ ั จะปาระมี สม ั ปั นโน , สจ ั จะอุปะปาระมี สม ั ปั นโน , สจ ั จะปะระมัตถะปาระมี สม ั ปั นโน , เมตตา กรุณา
มุทต ิ า อุเปกขา ปาระมี สม ั ปั นโน , อิตป ิ ิ โส ภะคะวา

อะธิฏฐานะปาระมี สมปั นโน , อะธิฏฐานะอุปะปาระมี สม ั ปั นโน , อะธิฏฐานะปะระมัตถะปาระมี สม ั ปั นโน ,
เมตตา กรุณา มุทต ิ า อุเปกขา ปาระมี สม ั ปั นโน , อิตป ิ ิ โส ภะคะวา
เมตตาปาระมี สม ั ปั นโน , เมตตาอุปะปาระมี สม ั ปั นโน , เมตตาปะระมัตถะปาระมี สม ั ปั นโน , เมตตา
กรุณา มุทต ิ า อุเปกขา ปาระมี สม ั ปั นโน , อิตป ิ ิ โส ภะคะวา
อุเปกขาปาระมี สม ั ปั นโน , อุเปกขาอุปะปาระมี สม ั ปั นโน , อุเปกขาปะระมัตถะปาระมี สม ั ปั นโน , เมตตา
กรุณา มุทต ิ า อุเปกขา ปาระมี สม ั ปั นโน , อิตป ิ ิ โส ภะคะวา
ทะสะปาระมี สม ั ปั นโน , ทะสะอุปะปาระมี สม ั ปั นโน , ทะสะปะระมัตถะปาระมี สม ั ปั นโน , เมตตา กรุณา
มุทต ิ า อุเปกขา ปาระมี สม ั ปั นโน , อิตป ิ ิ โส ภะคะวา
พุทธัง สะระณั ง คัจฉามิ นะมามิหังฯ

คาพรรณนาพระบรมธาตุ
อะหัง วันทามิ ทูระโต
อะหัง วันทามิ ธาตุโย
ั พะโสฯ
อะหัง วันทามิ สพ

มงคลจ ักรวาฬทงั้ 8 ทิศ


สริ ธิ ต
ิ ม
ิ ะติเตโชชะยะสท ิ ธิมะหิทธิมะหาคุณาปะริมต ิ ะปุญญาธิการัสสะ สพ ั พันตะรายะนิวาระณะสะมัตถัส
สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สม ั มาสมั พุทธัสสะ ทวัตติงสะมะหาปุรส ิ ะลักขะณานุภาเวนะ อะสต ี ยานุพยัญ
ชะนานุภาเวนะ อัฏฐุตตะระสะตะมังคะลานุภาเวนะ ฉั พพัณณะรังสย ิ านุภาเวนะ เกตุมาลานุภาเวนะ ทะสะ
ปาระมิตานุภาเวนะ ทะสะอุปะปาระมิตานุภาเวนะ ทะสะปะระมัตถะปาระมิตานุภาะเวนะ สล ี ะสะมาธิ
ปั ญญานุภาเวนะ พุทธานุภาเวนะ ธัมมานุภาเวนะ สงั ฆานุภาเวนะ เตชานุภาเวนะ อิทธานุภาเวนะ พะลานุ
ภาเวนะ เญยยะธัมมานุภาเวนะ จะตุราสต ี ส
ิ ะหัสสะ ธัมมักขันธานุภาเวนะ นะวะโลกุตตะระธัมมานุภาเวนะ
อัฏฐังคิกะมัคคานุภาเวนะ อัฏฐะสะมาปั ตติยานุภาเวนะ ฉะฬะภิญญานุภาเวนะ จะตุสจ ั จะญาณานุภาเวนะ
ทะสะพะละญาณานุภาเวนะ สพ ั พัญํุตะญาณานุภาเวนะ เมตตากะรุณามุทต ิ าอุเปกขานุภาเวนะ สพ ั พะ
ปะริตตานุภาเวนะ ระตะนัตตะยะสะระณานุภาเวนะ ตุยหัง สพ ั พะโรคะโสกุปัททะวะทุกขะโทมะนั สสุปายา
สา วินัสสน ั ตุ สพ
ั พะอันตะรายาปิ วินัสสน ั ตุ สพั พะสงั กัปปา ตุยหัง สะมิชฌันตุ ทีฆายุตา ตุยหัง โหตุ สะ
ตะวัสสะชเี วนะ สะมังคิโก โหตุ สพ ั พะทา ฯ อากาสะปั พพะตะวะนะภูมค ิ ังคามะหาสะมุททา อารักขะกา
เทวะตา สะทา ตุมเห อะนุรักขันตุ ฯ
ภะวะตุ สพ ั พะมังคะลัง รักขันตุ สพ ั พะเทวะตา
สพั พะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
ภะวะตุ สพ ั พะมังคะลัง รักขันตุ สพ ั พะเทวะตา
สพ ั พะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
ภะวะตุ สพ ั พะ มังคะลัง รักขันตุ สพั พะเทวะตา
สพ ั พะสงั ฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ
นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปั คคะหะนิวาระณา
ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันตวา เตสงั อุปัททะเว
นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปั คคะหะนิวาระณา
ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันตวา เตสงั อุปัททะเว
นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปั คคะหะนิวาระณา
ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันตวา เตสงั อุปัททะเว ฯ

เทวะตาอุยโยชะนะคาถา
ทุกขัปปั ตตา จะ นิททุกขา ภะยัปปั ตตา จะ นิพภะยา
โสกัปปั ตตา จะ นิสโสกา โหนตุ สพ ั เพปิ ปาณิโน
เอตตาวะตา จะ อัมเหหิ สม ั ภะตัง ปุญญะสม ั ปะทัง
สพั เพ เทวานุโมทันตุ สพ ั พะสม ั ปั ตติสท ิ ธิยา
ทานัง ทะทันตุ สท ั ธายะ สลี ัง รักขันตุ สพ ั พะทา
ภาวะนาภิระตา โหนตุ คัจฉั นตุ เทวะตาคะตา ฯ
สพ ั เพ พุทธา พะลัปปั ตตา ปั จเจกานัญจะ ยัง พะลัง
อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สพ ั พะโส ฯ

เมตตานิสงสะสุตตะปาโฐ
เอวัมเม สุตัง ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิ ณฑิกัสสะ อาราเม ฯ ตัต
ระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตส ิ ภิกขะโวติ ฯ ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต ปั จจัสโสสุง ภะคะวา เอตะ
ทะโวจะ ฯ
เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมต ุ ติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลก ี ะตายะ ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะ
นุฏฐิตายะ ปะริจต ิ ายะ สุสะมารัทธายะ เอกาทะสานิสงั สา ปาฏิกังขา ฯ กะตะเม เอกาทะสะ ฯ สุขงั สุปะติ
สุขงั ปะฏิพช ุ ฌะติ ฯ นะ ปาปะกัง สุปินัง ปั สสะติ ฯ มะนุสสานัง ปิ โย โหติ ฯ อะมะนุสสานัง ปิ โย โหติฯ
เทวะตา รักขันติ ฯ นาสสะ อัคคิ วา วิสงั วา สต ั ถัง วา กะมะติ ฯ ตุวะฏัง จิตตัง สะมาธิยะติ ฯ มุขะวัณโณ
ี ั
วิปปะสทะติ ฯ อะสมมุฬโห กาลัง กะโรติฯ อุตตะริง อัปปะฏิวช ิ ฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติ ฯ
เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมต ุ ติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลก ี ะตายะ ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะ
นุฏฐิตายะ ปะริจต ิ ายะ สุสะมารัทธายะ อิเม เอกาทะสานิสงั สา ปาฏิกังขาติ ฯ อิทะมะโวจะ ภะคะวา ฯ
อัตตะมะนา เต ภิกขู ภะคะวะโต ภาสต ิ ัง อะภินันทุนติ ฯ

คาถาบูชาพระพุทธเจ้าหลวง
พระสยามมินโธ วะโรอิต ิ พุทธสงั มิ อิตอ ิ รหัง สะหัสสะกายัง วะรังพุทโธ นะโม พุทธายะ
(หรืออาจว่าคาถาแบบเต็มรูปแบบดังนี้)
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สม ั มาสม ั พุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สม ั มาสม ั พุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สม ั มาสม ั พุทธัสสะ
อิตปิ ิ โส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิ ตอ ิ ิ
พระสยามมินโท วะโรอิต ิ
พุทธะสงั มิ อิตอ ิ ะระหัง
สะหัสสะกายัง วะรังพุทโธ
นะโม พุทธายะ มาสส ี ะมานั ง

(หรือจะชว่ ยกันรวมจิตอธิษฐานภาวนาพระคาถาบูชาพระพุทธเจ ้าหลวง


โดยขอพรจากพระองค์ทา่ นเป็ นตัวอย่างดังต่อไปนี้)
ขอเดชะใต ้ฝ่ าละอองธุลพ
ี ระบาทปกเกล ้าปกกระหม่อม
ข ้าพระพุทธเจ ้า ...(ชอื่ ) ขอถวายบังคมองค์สมเด็จพระพุทธเจ ้าหลวง
ขออัญเชญ ิ พระบารมีแห่งพระองค์โปรดดลบันดาล ให ้ข ้าพระพุทธเจ ้า
มีความเจริญรุง่ เรืองก ้าวหน ้าทัง้ ชวี ต
ิ ครอบครัว และธุรกิจการงาน
หวังสงิ่ ใดขอให ้สมปรารถนา ขออัญเชญ ิ พระบารมีแห่งพระองค์
โปรดดลบันดาลพิทักษ์รักษา ปกแผ่ให ้ปวงชนชาวไทยทัง้ ชาติ
ปราศจากภยันตราย อันก่อความแตกแยกสามัคคี ให ้มีแต่สน ั ติสข

ขอให ้ชาติไทยอันมีองค์พระมหากษั ตริยเ์ ป็ นประมุข
ธํารงไว ้ซงึ่ ประชาธิปไตย เพือ ่ ให ้ปวงชนชาวไทยอยูร่ ว่ มกันอย่างร่มเย็นเป็ นสุข
ภายใต ้พระบารมีของล ้นเกล ้าล ้นกระหม่อมแห่งองค์
พระบาทสมเด็จพระเจ ้าอยูห ่ ัวภูมพิ ลอดุลยเดช และพระมหากษั ตราธิราชไทยทุกพระองค์ด ้วยเทอญ

คาถาบูชาเจ้าแม่กวนอิม
(เป็ นการออกเสย ี งตามภาษาจีนแต ้จิว๋ ทีช ่ าวไทยเชอ ื้ สายจีนในไทยแปลไว ้ทัง้ สองบท แต่ในความเป็ น
จริงแล ้ว ท่านสามารถอธิษฐานเป็ นภาษาไทยหรือภาษาอะไรก็ได ้ เพราะว่าการสอ ื่ ความหมายจะใชแรง ้
อธิษฐาน ทีเ่ กิดจากความตัง้ ใจอันแน่วแน่ของผู ้กราบไหว ้ในขณะสวดบริกรรมนั่ นเองทีส ่ ําคัญทีส
่ ด
ุ )
บทสรรเสริญพระคุณ
นะโมกวงซอ ิ ม ิ ผ่อสก ั
นํ าโมไต๋ชอ ื้ ไต๋ปย ุ กิวโคว่ กิวหลั่ง กวงไต๋เล่งกํ้า กวงสอ ี่ ม ิ ผูส ่ ก ั (กราบ)
นํ าโมไต๋ชอ ื้ ไต๋ปย ุ กิวโคว่ กิวหลั่ง กวงไต๋เล่งกํ้า กวงสอ ี่ ม ิ ผูส ่ ก ั (กราบ)
นํ าโมไต๋ชอ ื้ ไต๋ปย ุ กิวโคว่ กิวหลั่ง กวงไต๋เล่งกํ้า กวงสอ ี่ ม ิ ผูส ่ ก ั (กราบ)
นํ าโมฮูก นํ าโมหวบ นํ าโมเจ็ง นํ าโมกิวโคว่ กิวหลั่ง กวงสอ ี่ ม
ิ ผูส ั ทั่งจีโ้ ต
่ ก
โอม เกียล ้อฮวดโต เกียล ้อฮวดโต เกียล ้อฮวดโต ล ้อเกียฮวดโต ล ้อเกียฮวดโต
ซาผ่อออ เทียงล ้อซงิ้ ตีล ่ ้อซงิ้ นัง้ ลีห ่ ลั่ง หลั่งลีซ่ งิ้ เจ็กเฉียก ใจเอียง ห่วยอุย ่ ติ๊ ง
นํ าโมม่อออป่ อเยี๊ ยปอล ้อบิ๊ ก (กราบ)
บทมหากรุณาธารณีสต ู ร
โชยชวิ่ โชยงั่ง บ่อไหง๋ ไต่ปย ุ ซม ิ ทอลอ นีจวิ่ (๓ จบ)
ปึ งซอ ื ออนีทอ ยูไล ้ (๓ จบ)
นํ ามอ ฮอลาตัน นอตอลา เหย่ เย
นํ ามอ ออลีเย ผ่อลูกด ิ ตีซอปอลาเย
ผูท่ ส ั
ี ตตอพอเย หม่อฮอสต ั ตอพอเย
หม่อ ฮอเกียลูนี เกียเยงัน สต ั พันลาฮัวอี
ซูตัน นอตันเซ
นํ ามอ สด ิ กิด ลีตออีหม่งออลีเย
ผ่อลูกด ิ ตีสด ิ ฮูลาเลงถ่อพอ
นํ ามอ นอลา กินซ ี
ซล ี ี หม่อฮอพันตอซาเม
สะพอ ออทอ เตาซพ ี ง
ออซเี ย็น สะพอ สะตอ นอมอ พอสะตอ
นอมอ พอเค มอฮัว เตอเตา
ตันจิต ทองัน ออพอ ลูซ ี
ลูเกียตี เกียลอตี อีซล ี ี
หม่อฮอ ผูท ่ ส ี ตั ตอ สต ั พอ สต ั พอ
มอลา มอลา มอซ มอซ ลีทอยิน ี ี
กีลก ู ล ี ก ู ด ิ มง ตูลู ตูลู ฟาเซเยตี
หม่อ ฮอฮัว เซเยตี ทอลา ทอลา
ตีลน ี ี สด ิ ฮูลาเย เจลา เจลา มอมอ ฮัวมอลา หมกตีล ี
อีซ ี อีซ ี สด ิ นอ สด ิ นอ ออลาซน ั ฮูลาเซลี
ฮัวซอ ฮัวซน ั ฮูลา เซเย
ฮูลู ฮูลู มอลา ฮูลู ฮูลู ซล ี ี ซอลา ซอลา
สด ิ ลี สด ิ ลี ซูลู ซูลู ผูถ ่ เี่ ย ผูถ ่ เี่ ย ผูถ
่ อ
่ เย ผูถ ่ อ
่ เย
มีตล ี เี ย นอลา กินซ ี ตีลส ี ดิ นีนอ
ผ่อเย มอนอ ซอผ่อฮอ สด ิ ถ่อเย ซอผ่อฮอ
หม่อฮอ สด ิ ถ่อเย ซอผ่อฮอ สด ิ ทอยีอ ี
สด ิ พันลาเย ซอผ่อฮอ นอลากินซ ี ซอผ่อฮอ
มอลานอลา ซอผ่อฮอ สด ิ ลาเซง ออหมกเคเย
ซอผ่อฮอ ซอผ่อหม่อฮอ ออสด ิ ถ่อเย ซอผ่อฮอ

เจกิดลา ออสดถ่อเย ซอผ่อฮอ ปอทอมอกิดสด ิ ถ่อเย
ซอผ่อฮอ นอลากินซ ี พันเคลาเย ซอผ่อฮอ
มอพอลี เซงกิดลาเย ซอผ่อฮอ
นํ ามอห่อลาตัน นอตอลาเยเย
นํ ามอออลีเย ผ่อลูกต ิ ตี ชอพันลาเย ซอผ่อฮอ
งันสด ิ ตินตู มันตอลา ปั ดถ่อเย ซอผ่อฮอ
(เจ ้าแม่กวนอิมมหาโพธิสต ั ว์ (อวโลกิเตศวร) ผู ้ทรงแบ่งภาคได ้หลายภาค เพือ ่ มาโปรดสรรพสต ั ว์
ทัง้ หลาย และทรงเอือ ้ อารียแ ์ ก่มวลมนุษย์ทไี่ ด ้กราบไหว ้บูชาให ้ประสบผลสําเร็จอันพึงปรารถนาได ้อย่าง
น่ามหัศจรรย์ ท่านสามารถชว่ ยปั ดเป่ าความทุกข์ภัยพยันตรายให ้ท่านทีเ่ ดือดร ้อน ท่านสามารถสวดคาถา
บูชาเจ ้าแม่กวนอิมให ้ครบ ๑๐๘ จบทุกวันโดยตัง้ จิตอธิษฐานให ้แน่วแน่ ก็จะได ้ผลสําเร็จอันพึงปรารถนา
ทุกประการ)

พระคาถาป้องก ันภ ัยทง10ทิ ั้ ศ ของอาจารย์ฝน ั้


เมือ ่ สวดคาถานีก ้ ็อาจสามารถป้ องกันอันตรายจากสต ั ว์ป่านานาชนิด และภูตผีปีศาจทัง้ หลายได ้ ถ ้าผู ้ใด
สวดเป็ นประจํา ก็จะอยูเ่ ย็นเป็ นสุข ไม่มโี รคภัยไข ้เจ็บมาเบียดเบียน และรอดพ ้นจากภยันตรายทัง้ หลาย
จงตัง้ ใจสวดทุกเชาทุ ้ กเย็น ก่อนออกจากบ ้านไหนก็ตาม ถ ้าสวดคาถานีจ ้ ะเป็ นสริ ม ิ งคลแก่ตัวเอง มีโชคมี
ลาภและป้ องกันอันตรายต่างๆ
บูระพารัสมิง พรพุทธะคุณัง บูรพารัสมิง พระธัมเมตัง บูรพารัสมิง พระสงั ฆานั ง ทุกขะโรคะ ภะยัง
วิวญ ั ชย ั เย สพ ั พะทุกข์ สพ ั พะโศก สพ ั พะโรค สพ ั พะภัย สพ ั พะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวญ ั ชย ั เย สพ ั พะธะ
นัง สพ ั พะลาภัง ภะวันตุเม รักขันตุ สุรักขันตุฯ
อาคะเนยรัสมิง พรพุทธะคุณัง อาคะเนยรัสมิง พระธัมเมตัง อาคะเนยรัสมิง พระสงั ฆานั ง ทุกขะโรคะ ภะ
ยัง วิวญ ั ชย ั เย สพ ั พะทุกข์ สพ ั พะโศก สพ ั พะโรค สพ ั พะภัย สพ ั พะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวญ ั ชย ั เย
สพ ั พะธะนัง สพ ั พะลาภัง ภะวันตุเม รักขันตุ สุรักขันตุฯ
ทักษิณรัสมิง พรพุทธะคุณัง ทักษิณรัสมิง พระธัมเมตัง ทักษิณรัสมิง พระสงั ฆานั ง ทุกขะโรคะ ภะยัง
วิวญ ั ชย ั เย สพ ั พะทุกข์ สพ ั พะโศก สพ ั พะโรค สพ ั พะภัย สพ ั พะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวญ ั ชย ั เย สพ ั พะธะ
นัง สพ ั พะลาภัง ภะวันตุเม รักขันตุ สุรักขันตุฯ
หรดีรัสมิง พรพุทธะคุณัง หรดีรัสมิง พระธัมเมตัง หรดีรัสมิง พระสงั ฆานั ง ทุกขะโรคะ ภะยัง วิวญ ั ชย ั เย
สพ ั พะทุกข์ สพ ั พะโศก สพ ั พะโรค สพ ั พะภัย สพ ั พะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวญ ั ชย ั เย สพ ั พะธะนั ง สพ ั พะ
ลาภัง ภะวันตุเม รักขันตุ สุรักขันตุฯ
ปั จจิมรัสมิง พรพุทธะคุณัง ปั จจิมรัสมิง พระธัมเมตัง ปั จจิมรัสมิง พระสงั ฆานั ง ทุกขะโรคะ ภะยัง วิวญ ั ชย ั
เย สพ ั พะทุกข์ สพ ั พะโศก สพ ั พะโรค สพ ั พะภัย สพ ั พะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวญ ั ชย ั เย สพ ั พะธะนั ง
สพ ั พะลาภัง ภะวันตุเม รักขันตุ สุรักขันตุฯ
พายัพรัสมิง พรพุทธะคุณัง พายัพรัสมิง พระธัมเมตัง พายัพรัสมิง พระสงั ฆานั ง ทุกขะโรคะ ภะยัง
วิวญ ั ชย ั เย สพ ั พะทุกข์ สพ ั พะโศก สพ ั พะโรค สพ ั พะภัย สพ ั พะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวญ ั ชย ั เย สพ ั พะธะ
นัง สพ ั พะลาภัง ภะวันตุเม รักขันตุ สุรักขันตุฯ
อุดรรัสมิง พรพุทธะคุณัง อุดรรัสมิง พระธัมเมตัง อุดรรัสมิง พระสงั ฆานั ง ทุกขะโรคะ ภะยัง วิวญ ั ชย ั เย
ั ั ั
สพพะทุกข์ สพพะโศก สพพะโรค สพพะภัย สพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวญ ั ั ั ั
ั ชยเย สพพะธะนั ง สพ ั พะ
ลาภัง ภะวันตุเม รักขันตุ สุรักขันตุฯ
อิสานรัสมิง พรพุทธะคุณัง อิสานรัสมิง พระธัมเมตัง อิสานรัสมิง พระสงั ฆานั ง ทุกขะโรคะ ภะยัง วิวญ ั ชยั
เย สพ ั พะทุกข์ สพ ั พะโศก สพ ั พะโรค สพ ั พะภัย สพ ั พะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวญ ั ชย ั เย สพ ั พะธะนั ง
สพ ั พะลาภัง ภะวันตุเม รักขันตุ สุรักขันตุฯ
อากาศรัสมิง พรพุทธะคุณัง อากาศรัสมิง พระธัมเมตัง อากาศรัสมิง พระสงั ฆานั ง ทุกขะโรคะ ภะยัง
วิวญ ั ชย ั เย สพ ั พะทุกข์ สพ ั พะโศก สพ ั พะโรค สพ ั พะภัย สพ ั พะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวญ ั ชย ั เย สพ ั พะธะ
นัง สพ ั พะลาภัง ภะวันตุเม รักขันตุ สุรักขันตุฯ
ปฐวีรัสมิง พรพุทธะคุณัง ปฐวีรัสมิง พระธัมเมตัง ปฐวีรัสมิง พระสงั ฆานั ง ทุกขะโรคะ ภะยัง วิวญ
ั ชยั เย
ั พะทุกข์ สพ
สพ ั พะโศก สพ ั พะโรค สพ ั พะภัย สพ
ั พะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวญ ั เย สพ
ั ชย ั พะธะนั ง สพั พะ
ลาภัง ภะวันตุเม รักขันตุ สุรักขันตุฯ

คาถาสารพ ัดนึก
พระพุทธเจ ้า
ทานะปาระมี สล ี ะปาระมี เนกขัมมะปาระมี ปั ญญาปาระมี วิรยิ ะปาระมี ขันติปาระมี สจั จะปาระมี อธิษ
ฐานะปาระมี เมตตาปาระมี อุเบกขาปาระมี
ทานะอุปปะปาระมี สล ี ะอุปปะปาระมี เนกขัมมะอุปปะปาระมี ปั ญญาอุปปะปาระมี วิรย ิ ะอุปปะปาระมี ขันติ
อุปปะปาระมี สจ ั จะอุปปะปาระมี อธิษฐานะอุปปะปาระมี เมตตาอุปปะปาระมี อุเบกขาอุปปะปาระมี
ทานะปะระมัตถะปาระมี สล ี ะปะระมัตถะปาระมี เนกขัมมะปะระมัตถะปาระมี ปั ญญาปะระมัตถะปาระมี
วิรย
ิ ะปะระมัตถะปาระมี ขันติปะระมัตถะปาระมี สจ ั จะปะระมัตถะปาระมี อธิษฐานะปะระมัตถะปาระมี
เมตตาปะระมัตถะปาระมี อุเบกขาปะระมัตถะปาระมี บารมี 30 ทัศ
อานิสงค์ : สารพ ัดนึก

รวมคาถาอืน ่ ๆ
คาถาเมตตามหานิยม
นะเมตตา โมกรุณา พุทธปราณี ธายินดี ยะเอ็นดู นะโมพุทธายะ นะมะอะอุ

(ใชภาวนาคาถาก่ อนออกจากบ ้าน จะทําให ้คนทีพ ึ ทีด
่ บเจอมีความรู ้สก ่ ี การติดต่อใดๆก็จะราบรืน
่ ไม่
ติดขัด) หรือของอีกสํานั กหนึง่ ว่าสน
ั ้ ๆ ดังนี้
เมตตา คุณะณั ง อะระหัง เมตตา

คาถาเจ้านายเมตตา
ปั ญจะมังสริ ะสงั ขาตัง นาหาย นะกาโร โหติ สม
ั ภะโว อิสวาสุ
(ให ้สวดท่องภาวนา ๓ จบ ก่อนออกจากบ ้าน แล ้วเจ ้านายจะเมตตา)

คาถาขุนแผน
เอหิมะมะ นะโมพุทธายะ นะมะพะทะ
้ องกับของใชส้ ว่ นตัวอะไรก็ได ้แล ้วจะทําให ้มีเสน่หเ์ ป็ นทีห
(ใชท่ ่ ลงไหล)

คาถาเอ็นดู
วิชชาจะระณะสม ั ปั นโน อิตป
ิ ิ โสภะคะวา
ปิ ยะเทวะมนุสสานัง ปิ โยพรหมานะ มุตตะโม
ปิ โยนาคะ สุปัณณานัง
ปิ ณนิ ทะริยัง นะมามิหัง
นะเมตตา โมกรุณา พุทปรานี ธายินดี ยะเอ็นดู
(ให ้ท่องคาถาก่อนไปพบผู ้หลักผู ้ใหญ่เพือ ่ ให ้เกิดความรักใคร่เอ็นดู)

คาถาคนนิยม
เอหิสาลิกา ยังยัง พุทธัง อาคัจฉาหิ สาลิกาถิง กะระณั ง ตาวังคาวา
เอหิมะมะ สุวะโปตะโก อะยัง ราชา สุวณ ั ณะวัณณา สาลิกานัง มะโหสะโต ปิ ยังมะมะ

(ใชสวดภาวนาเมื อ ่ งสําคัญ ค ้าขาย เพือ
่ ต ้องการติดต่อเจรจาในเรือ ่ ให ้คนนิยมชมชอบ)

คาถาสม ัครงาน
พุทธัสสาหัง นิยยาเทมิ สะริรัญ ชวี ต
ิ ัญวิทัง
นะโมมิตตามนุสสาจะ นะเมตตา โมกรุณา
้ องก่อนออกจากบ ้านไปสม
(ใชท่ ั ภาษณ์หรือสมัครงานจะทําให ้มีเสน่หเ์ ป็ นทีป
่ ระทับใจ)
คาถาค้าขายดี
โอมอิตพ ิ ท
ุ ทัตสะ สุวน ั นัง วารัชชะคัง วามะนีวาวัตตัง วาพัพพะยัน ละเอหิคาคัชวันติ
(ให ้เอาใบไม ้แชน่ ํ้ าใสข ่ น
ั ไว ้แล ้วสวดภาวนา เลร็จแล ้วนํ านํ้ าไปประพรมให ้ทั่วร ้าน จะทําให ้ขายคล่อง)
หรืออีกคาถาหนึง่ ก็วา่ กันว่าทําให ้ทํามาค ้าขึน ้ เหมือนกันคือ
อิตป
ิ ิ โสภะคะวา สม ั มาสม ั พุทโธ อิตป ิ ิ โสภะคะวา พุทโธภะคะวา อิตป ิ ิ โสภะคะวา พุทโธภะคะวา
และอีกคาถาหนึง่ สําหรับพ่อค ้า แม่ค ้าทีน ่ ย ิ ค ้าเหมือนกันคือ
ิ มเสกเป่ า ๓ จบ กับสน
พุทธัง พะหุชะนานัง เอหิจต ิ ตัง เอหิมะนุสสานัง เอหิลาภัง เอหิเมตตา
ชมภูทเี ป มะนุสสานัง อิตถิโย ปุรโิ ส จิตตัง พันธังเอหิ

คาถาสาริกาลิน ้ ทอง
พุทธา อะเนนา มะลิยา สุสงั คะเยมิ
ิ ะลิยา สุสงั คะเยมิ
พุทธา อิรม
พุทธา อิรปะโย เคมะคุณนะ ปั กเขสะเมมะมิ
อุนาโลมา ปั นนะ วิชายะเต

(ใชสวดภาวนาหากต ้องการให ้คนรักใคร่ พูดจาเป็ นเสน่ห ์ ตอนท่องถึงคําว่า มิ ก็ให ้แตะทีล
่ น
ิ้ ด ้วยทุกครัง้ )

คาถาการเจรจา
นะโมพุทธายะ มะอะอุ ยะธาพุทโมนะ อุอะอะ อิสวาสุ สพ ั พะทัสสะ อะสงั วิส ุ โลปุสะพุภะ

(ใชภาวนากั ้ อนออกจากบ ้านไปติดต่อเจรจาเรือ
บนํ้ าล ้างหน ้าตอนเชาก่ ่ งสําคัญ จะทําให ้สําเร็จในสงิ่ ที่
หวังไว ้)

คาถาอ ัญเชญ ิ พระเครือ ่ ง


พุทธัง อาราธนานั ง รักษา ธัมมัง อารธนานั ง รักษา สงั ฆัง อาราธนานั ง รักษา

(ใชสวดภาวนากั บพระเครือ ่ งก่อนออกจากบ ้าน พระจะคุ ้มครองเป็ นสริ ม
ิ งคลกับตัวเอง)

คาถาอุปถ ัมภ์
อิตป
ิ าระมิตาติงสา อิตส ั พัญมาคะตา อิตโิ พธิ มนุปปั ตโต อิตป
ิ พ ิ ิ โส จะตมะโน
นะเมตตา โมกรุณา พุทปรานี ธายินดี ยะเอ็นดู ยะหันตวา ธามัวเมา พุทพาเอา นะโมพุทธายะ
(ใชท่้ องก่อนออกจากบ ้าน จะทําให ้เจ ้านายสงสาร ชว่ ยเหลืออุปถ ้มภ์ด)ี

คาถาร ักแท้
โอมนะโมพุทธายะ พุทธัง สะระติ ธัมมัง สะระติ สงั ฆัง สะระติ
จิตตังสะมาเรมะมะเอทิ เอหิชย ั ยะ เอหิสพ
ั เพชะนา พะหูชะนา เอหิ
(ให ้บริกรรมคาถานีก
้ ับลูกอมแล ้วอมขณะทีค ่ ย
ุ กับคนทีเ่ รารัก จะทําให ้เขาคนนัน
้ เกิดความรักจริงจังขึน
้ มา)

คาถาม ัดใจ
พุทธัง รัตตะนัง ธัมมัง รัตตะนัง สงั ฆัง รัตตะนั ง นะผูก โมมัด พุทรัด ธารึง ยะกรึงคะเร โอมสวาหะ

(ใชสวดภาวนาก่ อนนอน ทําให ้คนรักคิดถึง)

คาถามนต์ร ัก
โอม นะ ปะ โร รันนะขุเภติ
พุทธัง สะระติ จิตตัง สมาคะมา
ธัมมัง สะระติ จิตตัง สมาคะมา
สงั ฆัง สะระติ จิตตัง สมาคะมา

(ใชภาวนากั บดอกไม ้ก่อนทีจ่ ะสง่ ให ้กับคนรัก เมือ
่ เขาหรือเธอสูดดมดอกไม ้ก็จะรักเราตอบ)
คาถาใจอ่อน
ปั ญจะมังสริ ะสงั ชาตัง นะอตใจ นะกาโร โหติ สม ั ภะโว
ตรีนก ั ภะวัง
ิ ัตวานะ นะ การัง ปั ญจะสม
้ องก่อนทีจ
(ใชท่ ่ ะพบเจรจากับคนทีเ่ ป็ นเจ ้าหนีห
้ รือใครก็ตาม จะทําให ้ได ้รับการผ่อนปรน ใจอ่อนได ้ทุก
ที)

คาถาผูกใจคน
โอมนะโมพุทธะ นะ มะ อะ อุ เอหิชย ั ยะ เอหิสพั เพชะนา พะหูชะนา เอหิ

(ใชสวดเมื
อ ่ ต ้องการให ้คนทั่วไปรักใคร่ยน ้
ิ ดี ใชเสกกั บแป้ งหรือนํ้ าหอมก็ได ้)

คาถามหาเสน่ห ์
จันโทอะภกันตะโร
ปิ ต ิ ปิ โย เทวะมนุสสานัง
อิตภิโยปุร ิ โส
มะ อะ อุ อุ มะ อะ อิสวาสุ อิกะวิต ิ
(ให ้ภาวนาคาถานี้ ๓ จบก่อนออกไปพบคน จะทําให ้คนทีต
่ ้องไปพบเกิดความรักใคร่)

หมวดป้องก ันภ ัยต่างๆ

คาถาป้องก ันผี
นะโมพุทธายะ มะพะ ทะนะ ภะ กะ สะ จะ
สพั เพทวาปี สาเจวะ อาฬะวะกาทะโยปิ ยะ
ขัคคัง ตาละปั ตตัง ทิสวา สพ ั เพยักขา
ปะลายันติ สก ั กัสสะ วะชริ าวุธัง
เวสสุวณั ณั สสะ คะธาวุธัง
อะฬะวะกัสสะ ทุสาวุธัง
ยะมะนัสสะ นะยะนาวุธัง
อิเมทิสวา สพ ั เพยักขา ปะลายันติ

(ใชสวดภาวนาเมื อ
่ เกิดความกลัวผีขนึ้ มา วิญญาณจะไม่มารบกวนเข ้าใกล ้)

คาถาป้องก ันผีพราย
ตานังเลนัง สพ ั พะปาณีนัง เลนังตานัง สพ
ั พะปาณีนัง

(ใชสวดภาวนาเพื อ
่ ให ้ปลอดภัยจากการรบกวนของวิญญาณ ภูตผีตา่ งๆ หรือภาวนากับนํ้ านํ าไปพรมกับ
คนทีค ิ ว่าจะถูกวิญญาณสงิ สู)่
่ ด

คาถาป้องก ันงู
ปะถะมังพันธุ กังชาตัง ทุตย ิ ังทัณฑะ เมวะจะ
ตะติยังเภทะกัญเจวะ จะตุตถังอังกุ สม ั ภะวัง
ปั ญจะมังสริ ะสงั ชาตัง นะงู นะกาโร โหติสม ั ภะโว

(ใชภาวนาเมื อ
่ ต ้องเข ้าป่ า ทีร่ ก หรือแม ้แต่เมือ
่ ขณะพบเจองู จะทําให ้คุณปลอดภัย)

คาถาก ันสุน ัข
นะโมพุทธายะ นะมะอะอุ อิสวาสุ อุอะมะ
้ องแล ้วเป่ าเบาๆ เวลาเจอสุนัขดุ)
(ใชท่
คาถาป้องก ันต ัว
ปั ญจะมัง สริ ะสงั ชาตัง นะกาโร โหติ สม ั ภะโว
พินธุ ทัณฑะ เภทะ อังกุ สริ ิ นะโมพุทธายะ
้ องภาวนาเป่ าใสม
(ใชท่ ่ อ ั ว์)
ื แล ้วตบมือดังๆ จะทําให ้ปลอดภัยจากอันตรายไม่วา่ คนหรือสต

คาถาคงกระพ ัน
อะสงั วิส ุ โลปุสะภุพะ
สงั วิทาปุกะยะปะ นะโมพุทธายะ มะอะอุ อะระหัง
(ใชท่ ้ องกับพระเครือ่ งและวัตถุมงคลและนํ าติดตัวไว ้เพือ
่ ป้ องกันตัว คุ ้มครอง)

คาถาป้องก ันภ ัยพิบ ัติ


ระตะนัตตะ ยังปุเชมิ คุณะวันตา นะราปิ จะ
เตโสตตะมา นุภาเวนะ ปุญญานิ ปะกะตานิเม

(ใชสวดภาวนาก่ ่ าจเกิดอันตราย จะชว่ ยให ้ปลอดภัยจากภัยพิบัตต
อนเดินทางหรือกระทําการใดๆทีอ ิ า่ งๆ)

คาถาสก ัดโจรผูร้ า้ ย
เจโรอัตนะรถา ยิควา ภูมย ิ ัง
จักขุมัง ปรมานู ภัควโต อิทธิยา อัตตะโน
สริ เิ ร มังสงั จักขะ อวสุสตุ
อวะสุสเต สริเว มังสงั โลหัตตัง
(ใชท่ ้ องเพือ่ ให ้ปลอดจากโจรผู ้ร ้าย)

คาถาค ับข ัน
พุทโธเมสะระณั ง เลนัง
ตาณั งชวี ติ ัง ปะริยันตะ
พุทธัง สะระณั ง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณั ง คัจฉามิ
สงั ฆัง สะระณั ง คัจฉามิ
นะปิ ดหู โมปิ ดตา พุทมิเห็น
ธาดลซอ ่ นไว ้ ยะหายไป
(ใชท่้ องบริกรรมเมือ ่ ตกอยูใ่ นยามคับขัน ศัตรูหรือคนทีไ่ ม่ประสงค์ดจ
ี ะมองไม่เห็น)

คาถาหน ังเหนียว
สุกต
ิ ติมา สุภาจาโร สุสลี ะวา สุปากะโต อัสสะสม ิ า วะเจธะโร เกสะ โรวา อะสม ั ภิโต

(ใชสวดภาวนาคาถานี ้ ับนํ้ ามันทาถูรา่ งกายจะทําให ้อาการฟกชํ้าหายเร็ว หรือก่อนออกศก
ก ึ ใดๆ จะทําให ้
หนังเหนียวไม่บาดเจ็บง่าย)

คาถาต่อสู ้
นะกาโรปะถะมังฌานัง
โมกาโรทุตย ิ าฌานัง
พุทกาโร ตะติยฌานัง
ธากาโร จะตุตถังฌานัง
ยะกาโร ปั ญจะมังฌานัง
ปั ญจะอักขระรานิ ชาตานิ นะโมพุทธายะ ลักขะนัง

(ใชสวดภาวนาเมื
อ ิ หน ้าศัตรูหรือกําลังจะต ้องต่อสู ้ เพือ
่ ต ้องเผชญ ่ ให ้พ ้นจากอันตราย)

คาถารอด
นะรา นะระ หิตังเทวัง นะระเทเรหิปช ู ติ ัง นะรานั ง กะมะปั งเกหิ นะมามิสค ิ ัง
ุ ะตังชน

(ใชสวดภาวนาเมื อ
่ สถานการณ์ไม่คอ ่ ยดีเชน่ รู ้สก
ึ ว่ามีคนสะกดรอยตาม ถูกปองร ้ายอันตรายกําลังเข ้าใกล ้
ก็ให ้ท่องคาถานีเ้ พือ
่ ให ้รอดพ ้นอันตรายได ้อย่างไม่คาดฝั น)

คาถากาบ ัง
ปะถะมังพินธุกังชาตัง ตรีนก
ิ ัตวา นะนะ การังปั ญจะสม ั ภะวัง
นะรา นะระ หิตังเทวัง นะระ เทเวหิปช ิ ัง นะรานั ง กามะปิ เกหิ นะมามิสค
ู ต ิ ัง
ุ ะตังชน

(ใชสวดภาวนาเพื ่ หลบศัตรู หรือคนทีก
อ ่ ําลังคิดปองร ้าย ทําให ้ฝ่ ายตรงข ้ามมองไม่เห็นหรือคลาดสายตา
ไปได ้)

คาถาแคล้วคลาด
พุทธาอะนุนามะริยาสุขงั เขยเย
พุทธาอะนินาสุหะลาลิสงั เขยเย
พุทธาริโยเคมะกุลักขะกัปปะเก
วันทามิเตสุระนะรักกะเมสะเม
(ให ้ท่องคาถานี้ ๓ จบเวลาต ้องการให ้แคล ้วคลาดในสงิ่ ใดๆทีอ ี่ ง เชน
่ าจเป็ นอันตราย หรือเสย ่ ก่อนเดิน
ทางไกลหรือขึน ้ เครือ
่ งบิน)

คาถาก ันปื น
นะอุ เออัด อุทธังพะลังเสยยัด
อะอัดนะ นัดมัดอัด อุทธะอุตตัมปิ
อุตตะรัง อุสอุ ัสสะปะปิ ภะคะวา
อิตป
ิ ิ ผด
ิ นะอุทธัง อัทโธ โมโทอัดธังอุด
พุทอุทธัง อัทโธ ชาโธอุทธัง อัดยะมิให ้ออก
นะผิดกาโรโหติ สม ั ภะโว

(ใชสวดภาวนาตอนที ส
่ ถานการณ์คับขัน เพือ
่ ให ้แคล ้วคลาดจากอาวุธปื น)

คาถาแก้ศตรู ั
พุทธัง บังจักขุ ปะติลย ิ ะติสญ
ู ญัง
จิตตะวิภัตติ สงั ชาตัง
อะโหสะกัง มหาสูญญัง ปรมัตถะสูญญัง
ธัมมัง บังจักขุ ปะติลย ิ ะ ติสญ ู ญัง
จิตตะวิภัตติ สงั ชาตัง
อะโหสะกัง มหาสูญญัง ปรมัตถะสูญญัง
สงั ฆัง บังจักขุ ปะติลย ิ ะ ติสญ ู ญัง
จิตตะวิภัตติ สงั ชาตัง
อะโหสะกัง มหาสูญญัง ปรมัตถะสูญญัง

(ใชภาวนาเวลาที ก
่ ําลังถูกคนปองร ้าย ให ้ท่องคาถากับมือแล ้วเอามือนัน
้ มาแตะทีห
่ น ้าผาก ว่ากันว่าจะทํา
ให ้รอดพ ้นไปได ้)


คาถาข่มศตรู
ตะโต โพธิสต ั โต ราชะสงิ โหวะมหิทธิโก
อะระหัง ตะมัตทังปะกาเสนโต
ราชะสงิ โห สต
ั ถาอาหะ นะโมพุทธายะ นะมามิสค ุ ะตังชน ิ ัง
้ กรรมคาถาเมือ
(ใชบริ ่ จะต ้องไปเจอศัตรู จะทําให ้ศัตรูเกรงกลัว - ท่อง ๓ จบแล ้วกระทืบเท ้าดังๆ ก่อน
ออกจากบ ้านเหมือนกับพิธต ี ัดไม ้ข่มนาม)

คาถาข ับไล่สงิ่ ชว่ ั ร้าย


มะโทรัง อะตะระโร เวสะวะโน นะหากปิ ปิ สาคะตาวาโหมิ
มหายักขะ เทพะอนุตะรัง เทพะดา เทพะเอรักขัง ยังยังอิต ิ เวสะวะนัน
ภูตัง มหาลักชามะนง มะภูอารักขะ นะพุททิมะมัตตะนัง กาลปะติทศ ิ า
สพั เพยักขา ปะลายัตตะนิ
(ใชท่้ องกับนํ้ าบริสทุ ธิแ
์ ล ้วนํ ามาประพรมให ้ทั่วสถานทีน ้ ๆ จะชว่ ยแก ้อาถรรพ์ตา่ งๆ ณ ทีน
่ ัน ่ ัน
้ ได ้)

คาถาแก้พษ ิ
อะสงั วิสโุ ล ปุสะพุภะ สะทะวิปิ ปะสะอุ มะ อะ อุ อาปามะจุปะ ทีมะสงั อังขุ นะโมพุทธายะ

(ใชภาวนาคาถานี ก
้ ับเครือ
่ งสมุนไพร <ขิง พลู ไพลตํารวมกัน> แล ้วทาบริเวณทีเ่ ป็ นผืน
่ แดงโดยไม่รู ้
สาเหตุจะทําให ้บรรเทาได ้)

คาถาแก้อาคม
นะโมพุทธายะ
นะรา นะระ รัตตัง ญานัง
นะรา นะระ รัตตัง หิตัง
นะรา นะระ รัตตังเขมัง วิปัสสต ิ ัง นะมามิหัง

(ใชสวดภาวนากั บนํ้ าแล ้วนํ ามาดืม ึ ว่าร่างกายจิดใจไม่เป็ นปรกติ กระวนกระวายวซงึ่
่ และอาบ ถ ้าหากรู ้สก
อาจจะถูกของ)

คาถาก ันไฟและขโมย
ปั ญจะมาเล ชเิ นนาโถ ปั ตโตสม
ั โพ ธิมตตะมัง อรหังพุทโธ อิตปิ ิ โสภะคะวา

(ใชสวดภาวนากั บทราย ๗ จบด ้วยกัน แล ้วนํ าไปโปรยรอบบ ้าน จะปลอดจากอัคคีภัยและขโมยโจร)

คาถาพืชผล
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต
อภิวน ั ทิยะ ปูเชตะวา
เอเตนะ จาปิ สจ ั เจนะ
ปวุตตา พืชชาติโย
ปั พพัณณา จาปรัณณาจะ
วิรหู ันตุ
(ใชท่ ้ องภาวนาขณะทีป ่ ลูกต ้นไม ้ หว่านพืชผล เพือ
่ ให ้เติบโตงอกงามเร็วและปลอดจากแมลงหรือภัย
อืน่ ๆ)

คาถาร ักษาไข้
โพชฌังโค สติสงั ขาโต ธัมมานั ง วิจโย ตถา วิรย ิ ัมปิ ต ิ บัสสทั ธิ
โพชฌังคา จ ตถา ปเร สมาธุ เปกขโพชฌังคา สต ั เต เต สพ ั พทัสสนิ า
มุนน ั มะทักขาตา ภาวนา พหูลก
ิ า สม ี ะตา สงั วัตตันติ อภิญญายะ นิพพานะยะ จะโพธิยา

(ใชภาวนาเมื อ ้
่ เวลาทีไ่ ม่สบายกับยาทีใ่ ชทานอยู ่ ะชว่ ยให ้หายป่ วย หายเจ็บไข ้ได ้เร็วขึน
จ ้ )
คาถาชนะมาร
ิ ธิเม
นะโม พุทธายะ โมคคัลลานัญ จะมหาเถโร อิทธิมันโต อานุภาเวนะ เชยยะสท

(ใชสวดภาวนาเพือ่ ให ้เอาชนะจากคนไม่ดไี ด ้)

คาถาโชคลาภ ๑
นะโมพุทธายะ นะมะ พะทะ จะ ภะ กะ สะ นะ อุ อุ นะ
เตชะสุเนนะ มะภูจะนาวิเวอิต ิ นะยะปะรังยุตเต

(ใชภาวนากั บกระเป๋ าสตางค์ จะทําให ้ไม่ขด
ั สน)

คาถาโชคลาภ ๒
นะโมพุทธายะ สพ ั พะสเิ นหา จะปูชโิ ต สพ
ั พะโกรธาวินาสสน ั ตุ
อะเสสะโต เมตตากรุณายัง ทะยะวิสา โสปิ ยามะนา โปเม สพ ั พะโลกัสสมิง

(ใชภาวนาเพือ่ ให ้เกิดโชคลาภ อาจจะใชเสกกั้ บนํ้ าแล ้วใชล้ ้างหน ้าก็ได ้)

คาถาโชคลาภ ๓
โพธิ มะหิสะกะ อิถพ ิ น ุ ะ อิถส
ิ ตั โต อิถวี าโย
เอหิ มะ มะ นะกาโร โหติ สม ั ภะโว

(เป็ นอีกคาถาหนึง่ ทีใ่ ชสวดภาวนาเพื อ
่ ให ้เกิดโชคลาภแบบฟลุ ้คๆขึน
้ มาได ้ เอามาเสกกับนํ้ าแล ้วแตะ
หน ้าผาก)

คาถารา ่ รวย
ธะนัง โภคัง ทุสะ มะนิ นะนัง โภคัง ทุสะ มะนิ อุม ิ อะมิ มะหิสต ุ ัง สนะพุทธัง
อะ สุ นะ อะ นะ มะ พะ ทะ จะ ภะ กะ สะ

(ใชภาวนากั บนํ้ าแล ้วนํ าเอามาพรมให ้ทั่วร ้าน หรือบ ้านจะนํ าทาซงึ่ เงินทองไม่ขาดสาย)

คาถามหาลาภ
นะมามีมา มะหาลาภา อิตพ ิ ท ั ณั งวา ระชะตังวา มะณีวา ธะนั งวา พีชงั วา อัตถังวา ปั ตถัง
ุ ธัสสะ สุวณ
วา เอหิ เอหิ อาคัจเฉยยะ อิตมิ ม
ี า นะมามิหัง
(ให ้สวดภาวนาก่อนนอน ๓ จบและตอนเชาอี ้ ก ๓ จบ จะเรียกทรัพย์ โชคลาภให ้มีได ้อย่างน่าอัศจรรย์)

คาถาสะเดาะเคราะห์
นะโมเม โรเตโข สพ ั พะเทวานั ง
ั พะพุทธา นุภาเวนะ สพ
สพ ั พะธัมมา นุภาเวนะ สพ ั พะสงั ฆา นุภาเวนะ
พระเคราะหะ จะเทวะดา สุรย ิ ัง วันทัง ปะมุญจะกะ สะสภ ิ ม
ู โบ จะเทวานัง
พุทโธ ลามัง ถะวิสสะติ ชโี ว สุโก จะ มหาลาถัง สพ ั พะทุกขัง วินาสสน ั ติ
(กราบ ๓ ครัง้ แล ้วกล่าวว่า พุทโธ ธัมโม สงั โฆ สวดอย่างนี้ ๗ วัน)

คาถาคลอดลูกง่าย
ยโตหัง ภคินี อริยายะ
ชาติยา ชาโต นาภิชา นามิ
สญั จิจจะ ปาณั ง ชวี ติ า
โวโรเปตา เตนะ สจ ั เจนะ
โสตภิเต โหตุ โสตภิ คัพภัสสะ

(ใชภาวนาแล ้วลูบทีค่ รรภ์มารดาเพือ
่ ให ้คลอดลูกง่าย)
คาถาเสกขีผ ้ งึ้
มทุจต ิ ตัง สุวามุปขัง
ทิตสวานิมามัง ปิ ยังมะมะ
เมตตา ชวิ หายะมะ ทุรัง
ทะตวาจาจัง สุตทังสุตตะวา
สพั เพชะนาพะ หุชะนาอิตถีชะนา
สม ั มะนุนะ พรามมะนา นุนะ
ปะสงั สน ั ติ

(ใชภาวนากั บขีผ ื่ ฟั ง)
้ งึ้ หรือลิปสติก จะทําให ้คนรักเชอ

คาถาแก้ฝ้นร้าย
ยันทุนนิมัตตัง อวมังคลัญจะ
โยจามะนาโป สกุณัสสะสท ั โธ
ปาปั คคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง
พุทธานุภาเวนะ วินาสเมนตุ
ยันทุนนิมัตตัง อวมังคลัญจะ
โยจามะนาโป สกุณัสสะสท ั โธ
ปาปั คคะโท ทุสสุปินัง อะกันตัง
ธรรมานุภาเวนะ วินาสเมนตุ
ยันทุนนิมัตตัง อวมังคลัญจะ
โยจามะนาโป สกุณัสสะสท ั โธ
ปาปั คคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง
สงั ฆานุภาเวนะ วินาสเมนตุ

(ใชภาวนาตอนเช ้ ก
าตรู ่ ับนํ้ าลูบหน ้าเพือ
่ แก ้ฝ้ นร ้าย)

คาถาปลุกใจ
ปั จจะมัง สริ ะสงั ชาตัง นะอดทน นะกาโร โหติสม ั ภะโว
นะรานะระหิตัง เทวัง นะระเทเวหิจชงิ ตัง นะรานั งกามะปั งเกหิ
นะมามิสค ุ ะตังนัง กัณหะ เนหะ
(ใชท่้ องเมือ ิ กับความห่อเหีย
่ ต ้องเผชญ ่ ว หมดกําลังใจ จะได ้ชว่ ยเพิม
่ พลังให ้มีกําลังใจและกายต่อสูกั้ บ
ปั ญหาต่างๆ)

คาถาคดีความ
อิตปิ ิ โสภะคะวา อรหังสม ั มา สม ั พุทโธ อรหังเต โน
โสตาปะติ ภะลัง อะนาตามิ พะลังเตโช วิทะเตเชยยะ
เชยยะ สพ ั พะศัตรู วินาสสน ั ติ

(ใชภาวนาหากเมื อ่ มีเรือ
่ งต ้องขึน ้ โรงขึน ื่ คูค
้ ศาล โดยเขียนชอ ่ ดีลงบนกระดาษแล ้วนํ าไปเผาทิง้ ทําทุกวัน
คูค
่ วามจะถอนฟ้ อง)

คาถาลงนา้
ยันทุนนิมต
ิ ตัง อวมังคลัญจะ โยจามะนาโป
สกุณัสสะสท ั โธ ปาปั คกะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง
พุทธานุภาเวนะ วินาสเมนตุ
ยันทุนนิมติ ตัง อวมังคลัญจะ
โยจามะนาโป สกุณัสสะสท ั โธ
ปาปั คคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง
ธรรมานุภาเวนะ วินาสเมนตุ
ยันทุนนิมติ ตัง อวมังคลัญจะ
โยจามะนาโป สกุณัสสะสท ั โธ
ปาปั คคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง
สงั ฆานุภาเวนะ วินาสเมนตุ
โอมชําระ มหาชําระ
นัทธีสะคะระชําระประสท ิ ธิเม

(ใชภาวนาเวลาจะลงนํ ้ าไม่วา่ เป็ นคลองหรือทะเล เพือ ั ว์มพ
่ ป้ องกันอันตรายจากสต ี ษ
ิ ต่างๆ)

คาถาน ักมวย
นะโม พุทธายะ นะธนู นะกาโรโหติ สม ั ภะโว
ปะถะมังพินธุกังชาตัง นะรา นะวะ หิตังเทวัง
นะระเทเวหิปช ิ ัง นะรานั ง กามะปั งเกหิ
ู ต
นะมามิสค
ุ ะตังชต ิ ัง จะ ภะ กะ สะ

(ใชสวดภาวนากั บนํ้ าแล ้วดืม
่ ก่อนขึน ั ชนะ)
้ ชกจะทําให ้มีชย

คาถาหม ัดหน ัก
โสภะคะวา อะทิสะมานิ อุเทยยัง คัจฉั นตัพพัง
สงั ลารัง ปะระมัง สุขงั นะลัพภะติ
มหาสูญโญ จะสม ั ภะโต สงั สาเร อานังคัจฉั นติ

(ใชภาวนาเมื อ ่ ั กมวยก็ใชได
่ ต ้องการให ้หมัดหนั ก ไม่ใชน ้ ้)

คาถาฤทธิเ์ ดช
นะรา นะรา หิตังเทวัง
นะราเทเวหิปช ิ ัง
ู ต
นะรานัง กามะปั งเกหิ
นะมามิสคุ ะตังชน ิ ั ง กะยะพุตัง

(ใชสวดภาวนาเวลาที ต
่ ้องเข ้าไปในสถานทีม
่ อ
ี ันตราย เพือ
่ ให ้รอดพ ้นจากภัยต่างๆ)

คาถาเดินทางไกล
มะติ ยาเต มะเต ยาติ
มาเต ถินา นะนา ถิเต
มะนา เนสา มะสา เนนา
มะสา จะติ มะติ จะสา
มะติยาโน มะโนยาติ มะโนติตัง
มะตังติโน มะตังปาลัง
มะลังปาตัง มะลังจะติ มะติจะลัง

(ใชภาวนาก่ อนออกเดินทางไกลจะชว่ ยให ้ปลอดภัยและสําเร็จในจุดมุง่ หมายปลายทาง)

คาถาข ับรถ
เมตตัญ จะ สพ ั พโล กัสสะมิง มานะ สม ั ภาวะเย อะปะริมานั ง

(ใชภาวนาเพือ่ ให ้ปลอดภัยจากอุบัตเิ หตุ ไม่หลับใน)
คาถาอย่างย่อ
คาถาหลวงพ่อฤาษีลงิ ดา ขับไล่คณ ุ ไสยสม ั ปะจิตฉามิ 3 จบ
คาถารา ่ รวยของหลวงพ่อฤาษีลงิ ดา สม ั ปะติจฉามิ 3 จบ
คาถาย่อพระก ัณฑ์ไตรปิ ฏก จิ เจ รุ นิ
คาถาพุทธคุณย่อ อิสวาสุ
คาถาชน ิ บ ัญชรย่อ ชนิ ะปั ญชะระปะริตตังมังรักขะตุสพั พะทา
คาถารวมพระพุทธ ธรรมสงฆ์คอ ื โส เส สุ ส ิ มัง
คาถาหลวงพ่อฤาษีสต ู รเร่งร ัดอภิญญาคือ โสตัตถะภิญญา
ฝึ กมโนยิทธิ คือ นะมะพะธะ
บูชาพุทธองค์หา้ องค์ คือ นะโม พุทธายะ
บูชาหลวงปู่ทวด นะโมโพธิสต ั โต อาคันติมายะ อิตภ ิ ะคะวา 3 จบ

แหล่งข ้อมูล / คัดลอก : http://www.watthummuangna.com/

คัดลอก / เรียบเรียง : hs6kjg

You might also like