You are on page 1of 20

จัดทำำโดย

นำยณรงค์พนธ์ กรกฤตธนพนธ์
527190006
นำยนิ สน ั เสภำ 527190007
ว่ำที่ร้อยตรีบุญเลิศ สรรเสริญ
527190008
นำยสัญญำ รุ่งเรือง
527190012
นำงจิรัชยำ ลี้กิจเจริญผล
527190023
นำงสำวปวีณำ ฟั กขำำ
527190030
อะไรคือวิธีระบบ

พรหมวงศ์(2520) ได้ให้นิยามว่า ระบบ หมายถึง


ของหน่วยย่อยซึ่งทำางานเป็ นอิสระต่อกัน แต่มีปฏิสัม
ยให้งานนั้ นบรรลุวัตถุประสงค์ท่ีต้ ังไว้
อะไรคือวิธีระบบ

มุท (2518) ระบบ หมายถึง "ภาพส่วนรวมของโครง


นการอย่างหนึ่ งที่มีการจัดระเบียบความสัมพันธ์
งค์ประกอบต่างๆ ที่รวมกันอย่่ในโครงการหรือขบวน
อะไรคือวิธีระบบ

บนำที (Banathy, 1968) ระบบ หมายถึง การรวบรว


งต่างๆ ทั้งหลายที่มนุ ษย์ได้ออกแบบ และสร้างขึ้น
พื่อจัดดำาเนิ นงานให้บรรลุเป้ าที่วางไว้
ควำมสำำคัญของวิธก
ี ำรเชิงระบบ

สำมำรถจัดกำรกับปั ญหำที่มค ี วำมยุ่งยำกซับซ้อนได้


เป็ นเครื่องมือส่งเสริมวิธีคิดของบุคคลทัว่ ไป
เป็ นเครื่องมือสำำหรับพัฒนำองค์ควำมร้้ในศำสตร์สำขำแขนงต่ำงๆ
เป็ นเครื่องมือสำำหรับกำรบริหำรงำนในองค์กำร
ขั้นตอนของวิธก
ี ำรเชิงระบบ
วิธก
ี ารเชิงระบบของนั กการ
ศึกษา
3 ท่านที่น่าสนใจคือ
โอเบียน
อุทย
ั บุญประเสริฐ

เฮนรี่ เลมาน
โอเบียน ระบบนี้ มีกิจกรรมสำาคัญ 7 อย่าง
 ทำาความเข้าใจปั ญหา
 รวบรวมข้อม่ล
 พัฒนาทางเลือก
 ประเมิน
 เลือกทางแก้ท่ีดีท่ีสุด
 ปฎิบัติการตามทางแก้ท่ีเลือกไว้
 ประเมินความสำาเร็จ
ทัย บุญประเสริฐ ( 2529 : 14-15 )
1) กำาหนดปั ญหาที่ต้องการแก้ไข
2) การกำาหนดวัตถุประสงค์ย่อยที่สัมพันธ์กับปั ญหา
3) ศึกษาถึงสิ่งแวดล้อมหรือข้อจำากัดในการทำางาน
4) สร้างทางเลือกในการแก้ปัญหา
5) ตัดสินใจเลือกทางที่เหมาะสม
6) ทดลองปฎิบต ั ิ
7) ประเมินผล
8) เก็บรวบรวมข้อม่ลป้ อนกลับ
9) ดำาเนิ นการเป็ นส่วนของระบบปกติ
วัตถุประสงค์
1.ปั ญหา
2.
3. ข้อจำากัด

เฮนรี่ เลมาน
ปรับปรุง นำาไปใช้
เสนอทางแก้ปัญหา
.
4.

7. ประเมินผล 6. ปฏิบัติ 5. เลือกข้อเสนอ


การประยุกต์ใช้วิธรี ะบบ

อุทัย บุญประเสริฐ ได้สรุปขั้นตอนสำาคัญๆไว้ 5


ขั้นตอน ดังต่อไปนี้
1. จะต้องทราบปั ญหาที่จะต้องแก้ไขให้แจ้งชัด
2. คิดหาวิธีการหรือแนวทางเลือก
3. เลือกวิธีการเหมาะสมที่สุด
4. ประเมินผลการปฎิบัติ
5. รับข้อม่ลป้ อนกลับและปรับระบบต่อไป
การระบบมีองค์ประกอบที่สำาคัญ 4 ประการ
ลักษณะสำาคัญของระบบวิธี
- เป็ นการทำางานร่วมกันเป็ นคณะของบุคคลที่เกี่ยวข้องในระบบนั้ น

- เป็ นการแก้ปัญหาโดยการใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์
- เป็ นการใช้ทรัพยากรที่มีอย่่อย่างเหมาะสม
- เป็ นการแก้ปัญหาใหญ่ โดยแบ่งออกเป็ นปั ญหาย่อย ๆ เพื่อ
สะดวกในการแก้ปัญหา อันจะเป็ นผลให้แก้ปัญหาใหญ่ได้สำาเร็จ
- ม่งุ ใช้การทดลองให้เห็นจริง
- เลือกแก้ปัญหาที่พอจะแก้ไขได้
และเป็ นปั ญหาเร่งด่วนก่อน
การวิเคราะห์ระบบ ( System Analysis )

ขั้นตอนของกำรวิเครำะห์ระบบ
  1. ปั ญหา (Identify Problem)
2.จุดมุ่งหมาย (Objectives)
3. ศึกษาข้อจำากัดต่าง ๆ (Constraints)
4. ทางเลือก (Alternatives)
5. การพิจารณาทางเลือกที่เหมาะสม (Selection)
6. การทดลองปฏิบัติ (Implementation)
7. การประเมินผล (Evaluation)
8. การปรับปรุงแก้ไข (Modification)
ลักษณะของระบบที่ดี

1. มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม ( interact with


environment )
2. มีจุดหมายหรือเป้ าประสงค์ ( purpose)
3. มีการรักษาสภาพตนเอง (self-regulation)
4. มีการแก้ไขตนเอง ( self-correction )
ระบบเปิ ด Open System
คือระบบที่รบั ปั จจัยนำาเข้า
จากสิ่งแวดล้อม
และขณะเดียวกันก็ส่งผลผลิต 
กลับไปให้ส่ิงแวดล้อมอีกครั้งหนึ่ ง
ระบบปิ ด Close System
คือ ระบบที่มิได้รบั ปั จจัยนำาเข้าจากสิ่งแวด
ขณะเดียวกันระบบปิ ดจะผลิตเอาท์พุท
ให้กับสิ่งแวดล้อมด้วย
วิธีระบบที่นำำมำใช้ในกำรสอน

รประเมินความจำาเป็ น 8. การจัดหรือกำาหนดแหล่ง
ารเลือกทางแก้ปัญหา ทรัพยากรที่จำาเป็ น
ารตั้งจุดมุ่งหมายทางการสอน 9. การทดสอบและ/หรือประเมินค่า
ารวิเคราะห์งานและเนื้ อหาที่ ประสิทธิภาพของแหล่งทรัพยากรนั้ น
ปนต่อผลสัมฤทธิต ์ ามจุดมุ่งหมาย10. ปรับปรุงแก้ไขแหล่งทรัพยากร
ารเลือกยุทธศาสตร์การสอน จนกว่าจะเกิดประสิทธิภาพ
ารลำาดับขั้นตอนของการสอน 11. การเดินตามวัฏจักรของ
ารเลือกสื่อ กระบวนการทั้งหมดซำ้าอีก
จบการนำาเสนอ
ขอบคุณ

You might also like