You are on page 1of 20

กระบวนการยุติธรรมด้านกฎหมายครอบครัวและมรดกใน

ประเทศไทย

โดย ดร.มุฮำำหมัดซำกี เจ๊ะหะ รองคณบดีคณะอิสลำมศึกษำ


วิทยำลัยอิสลำมยะลำ

บทนำา

บทความนีม
้ ีวัตถุประสงค์หลักในการสำารวจ
กระบวนการยุติธรรมด้านกฎหมายครอบครัวและมรดกใน
ประเทศไทย ว่ามีขอ
้ บกพร่องอย่างไร และจะมีแนวทางใน
การปรับปรุงได้อย่างไร โดยเป็ นการศึกษาในเชิงโครงสร้าง
และกระบวนการแบบกว้างๆ เพือ
่ ให้เห็นภาพรวมในเบือ
้ งต้น
เพือ
่ จะได้นำาไปส่่การศึกษาวิจัยในรายละเอียดในโอกาสต่อไป

1. ความจำาเป็ นในการพัฒนากระบวนการยุติธรรมด้าน
กฎหมายครอบครัวและมรดก

อิสลามเป็ นวิถีชีวิตทีส
่ มบ่รณ์ สมดุล และครอบคลุมทุก
รายละเอียด ไม่สุดโต่งด้านหนึง่ ด้านใดแต่เพียงด้านเดียว แต่
ทุกด้านถ่กจัดลำาดับ ประกอบ ประสานกันอย่างลงตัว กล่าว
คือ มนุษย์ทุกคนมีวงจรชีวิตทีผ
่ ่กพันธ์อย่่กับพระเจ้า สัมพันธ์
กับผ้่อืน
่ ในสังคม และกับตัวเอง โดยอิสลามได้กำาหนดร่ปแบบ
ปฏิบัติในแต่ละด้านไว้อย่างเหมาะสมยิง่ หากมนุษย์ปฏิบัติ
ศาสนกิจหรืออิบาดะฮฺต่ออัลลอฮฺ และประกอบกิจกรรมต่าง
ๆ เช่น การกิน การดืม
่ การนัง่ การนอน การเดิน การสวม
ใส่เสือ
้ ผ้าอาภรณ์ และการทำางาน ตลอดจนการดำาเนิน
พิจารณาพิพากษาคดีสอดคล้องกับหลักปฏิบัติทีอ
่ ิสลาม
กำาหนด แน่แท้คุณประโยชน์ทัง้ หลายก็จะบังเกิดขึน
้ กับผ้่
ปฏิบัติและต่อสังคมทัง้ มวล แต่ในทางตรงกันข้าม หากมนุษย์
ไม่ยอมดำาเนินชีวิตตามบัญญัติแห่งพระเจ้า ความบกพร่อง
เสียหายก็จะอุบัติขึน
้ ทัง้ ต่อตนเองและสังคมอย่างยากทีจ
่ ะ
ควบคุม
ศาล โดยทัว
่ ไปถือเป็ นส่วนหนึง่ ของวิถีชว
ี ิตทางสังคมทีม
่ ี
มาตัง้ แต่สมัยโบราณตราบจนกระทัง่ ปั จจุบัน ทุกสังคมยังคง
ต้องมีศาลเพือ
่ ตัดสินปั ญหาข้อขัดแย้งระหว่างสมาชิกในสังคม
เมือ
่ อิสลามคือวิถแ
ี ห่งชีวิตทีค
่ รอบคลุมรอบด้าน ศาลใน
อิสลามจึงได้ถ่กบัญญัติขึน
้ และมีลักษณะเฉพาะซึง่ ในทีน
่ ีเ้ รียก
ว่า ศาลชะรีอะฮฺ ศาลชะรีอะฮฺจึงเป็ นบทบัญญัติทางศาสนา
อิสลามซึง่ สังคมมุสลิมทุกยุคทุกสมัยและทุกแห่งหนจะเพิก
เฉยมิได้ ทัง้ นีเ้ พราะศาลเป็ นกลไกสำาคัญในอันทีจ
่ ะสร้าง
ความเป็ นธรรมแก่ผ้่ถ่กอธรรมในสังคม
เมือ
่ การตัดสินคดีตามบัญญัติแห่งอัลกุรอานเป็ นสิง่
จำาเป็ น (วาญิบ) สำาหรับมุสลิม และศาลชะรีอะฮฺก็เป็ นสิง่
จำาเป็ น การไม่มีศาลชะรีอะฮฺและไม่ดำาเนินการตัดสินคดีตาม
บทบัญญัติแห่งอัลกุรอานและซุนนะฮฺ จึงเข้าข่ายเป็ นผ้่ฝ่าฝื น
1
บทบัญญัติของอัลลอฮฺ อย่่ในความผิดหรือมีบาป

2. ความเป็ นไปได้ของการมีศาลชะรีอะฮฺในประเทศไทย
ดร.อิสมาอีลลุตฟี จะปะกียาอธิการบดีมหาวิทยาลัย
อิสลามยะลาได้กล่าวในพิธีเปิ ดการสัมมนา “แนวทางการจัด
ตัง้ ศาลชะรีอะฮฺในประเทศไทยว่า” ว่าปั จจุบันได้มก
ี ารจัดตัง้
ศาลชะรีอะฮฺขึน
้ ในหลายประเทศแม้ประเทศทีป
่ ระชาชนส่วน
ใหญ่ไม่ใช่มุสลิม เพราะฉะนัน
้ ประเทศไทยซึง่ ปั จจุบันมีศาล
เกิดขึน
้ หลายประเภท ทัง้ นีโ้ ดยคำานึงถึงความสะดวก รวดเร็ว
และยุติธรรม แก่คก
่ รณีเป็ นสำาคัญ ตลอดจนผ้่พิพากษาก็ต้อง
มีความร้่ความเชีย
่ วชาญเฉพาะด้านมากยิง่ ขึน
้ ศาลชะรีอะฮฺ
ซึง่ มีลักษณะพิเศษหลายประการทีไ่ ม่เหมือนกับศาลยุติธรรม
หรือศาลอืน
่ ๆ ทีม
่ อ
ี ย่่ในประเทศไทย จึงเห็นว่าน่าทีจ
่ ะจัดให้
มีศาลชะรีอะฮฺขึน
้ ในประเทศไทยได้ ทัง้ นี ้ เพราะ
- การจัดตัง้ ศาลชะรีอะฮฺไม่ส่งผลกระทบต่อความมัน
่ คง
ของประเทศ

1
ด่ซ่เราะฮฺอัลมาอิดะฮฺ อายะฮฺที ่ 44,45 และ 47
- ศาลชะรีอะฮฺไม่ขัดต่อหลักรัฐธรรมน่ญและหลักความ
ยุติธรรม
- ศาลชะรีอะฮฺอาจจัดตัง้ ขึน
้ ในลักษณะของศาลชำานัญ
พิเศษอืน
่ เช่น ศาลแรงงาน ศาลภาษีอากร ศาล
ทรัพย์สินทางปั ญหา
- ตอบสนองความต้องการพืน
้ ฐานของชาวมุสลิม
- สามารถรองรับบุคลากรทีจ
่ บด้านชะรีอะฮฺ (กฎหมาย
อิสลาม) ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ
- เกิดความร่วมมือระหว่างศาลและสถาบันการศึกษา
อิสลาม เช่นมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา วิทยาลัย
อิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขตปั ตตานี ในการจัดการอบรมเพือ
่ สร้างความ
2
เชีย
่ วชาญแก่ผ้่ทีจ
่ ะมาทำางานด้านศาล

3. ประโยชน์ของการก่อตั้งศาลชะรีอะฮฺในประเทศไทย

2
อิ ส มาอี ล ลุ ต ฟี จะปะกี ย า, ความจำา เป็ นของการมี ศ าลชะรี อ ะฮฺ
สำา หรั บ มุ ส ลิ ม ในประเทศไทย, เอกสารประกอบการสั ม มนาทาง
วิชาการเรือ
่ ง “แนวทางการจัดตัง้ ศาลชะรีอะฮฺในประเทศไทยว่า” จัด
โดยคณะอิ ส ลามศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย อิ ส ลามยะลา เมื่ อ วั น ที ่ 24
กุมภาพันธ์ 2550, หน้า 5-6
ดร.อิสมาอีลลุตฟี จะปะกียายังได้กล่าวอีกว่าการจัดตัง้
ศาลชะรีอะฮฺในประเทศไทยอาจก่อให้เกิดประโยชน์หลาย
3
ประการ ทีส
่ ำาคัญมีดังนี ้
- ทำาให้ชาวมุสลิมพ้นจากบาปและความบกพร่องในการ
ยืนหยัดข้อกำาหนดของอัลลอฮฺ
- ทำาให้ชาวมุสลิมหลุดพ้นจากการไม่ตัดสินคดีตามข้อ
กำาหนดของอัลลอฮฺ
- สร้างความสันติสุขให้เกิดขึน
้ กับชีวิตของชาวมุสลิมบน
หลักการของความยุติธรรมตามแนวคิดของอิสลาม
- เป็ นการแบ่งเบาภาระงานของศาลยุติธรรม
- สร้างความพึงพอใจให้แก่ชาวมุสลิมทีส
่ ามารถปฏิบัติ
ตามคำาสัง่ ของอัลลอฮฺได้อย่างดี
- สร้างความมัน
่ คงแก่ประเทศชาติ

4. ปรัชญาและแนวความคิดในเรือ
่ งกระบวนการยุติธรรม
ด้านกฎหมายครอบครัวและมรดก

ตามทีไ่ ด้กล่าวในตอนต้นว่าอิสลามเป็ นศาสนาแห่งวิถี


ชีวิตดังนัน
้ กิจการทุกอย่างของมุสลิมจะถ่กบัญญัติไว้แล้ว ไม่
ว่าจะโดยอัล-กุรอาน อัสสุนนะฮฺ อิจญ์มาอฺ และการกิยาสห

3
เรือ
่ งเดียวกัน, หน้า 6-7
รือการเทียบเคียง โดยเฉพาะอย่างยิง่ เรือ
่ งทีเ่ กีย
่ วกับ
ครอบครัวและมรดก เพราะมุสลิมถือว่าเป็ นเรือ
่ งทีเ่ กีย
่ วข้อง
กับชีวิตประจำาวันมากทีส
่ ุด ดังที ่ Houssein Nasr ได้ตัง้ ข้อ
ี ่ ังได้รับกำรปฏิบัติโดยไม่เสือ
สังเกตว่า “หลักกำรชะรีอะฮฺทย ่ ม
่ งทีเ่ กีย
คลำยคือเรือ ่ วข้องโดยตรงกับสถำนะของบุคคล เช่น
กำรสมรส กำรหย่ำ และมรดก ซึง่ ทัง้ หมดนีร้ ้จก
ั ในนำม
กฎหมำยว่ำด้วยสถำนะบุคคล กฎหมำยเหล่ำนีเ้ ป็ นกำำบังและ
่ น
ทีม ั่ ทีค
่ อยช่วยประคับประคองให้สังคมมุสลิมคงไว้ซงึ่ ควำม
่ ่ำนมำสังคมจะตกอย่้
เป็ นอิสลำม ถึงแม้ว่ในหลำยทศวรรษทีผ
ภำยใต้อิทธิพลของอำำนำจกำรเมืองหลำกหลำยร้ปแบบ
4
ก็ตำม”

นอกจากนีห
้ ลักเสรีภาพในการนับถือศาสนาตาม
รัฐธรรมน่ญก็เป็ นอีกเหตุผลหนึง่ ทีม
่ ุสลิมควรได้รับสิทธิการ
บังคับใช้กฎหมายครอบครัวและมรดกของตนเองอย่าง
สมบ่รณ์แบบ

ถึงแม้ว่ากฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดกจะ
บังคับใช้กับมุสลิมในสีจ
่ ังหวัดชายแดนภาคใต้ แต่ยังมีปัญหา

4
Houssein Nasr, Islamic Life and Thought, State University of
New York Press, 1981, หน้า 27
5
ในทางปฏิบัติมากมายทีจ
่ ะต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน
หนึง่ ในปั ญหาดังกล่าวเกิดจากการไม่มีศาลชะรีอะฮฺ ทำาให้
มุสลิมบางกลุ่มไม่ยอมนำาข้อพิพาทขึน
้ สุ่ศาลยุติธรรม ถึงแม้ว่า
ทีศ
่ าลยุติธรรมจะมีดะโต๊ะยุติธรรมเป็ นผ้่วินิจฉัยคดีตามข้อ
กฎหมายอิสลามก็ตาม

5. การพัฒนากระบวนการยุติธรรมด้านครอบครัวและ
มรดกของชาวมุสลิมและการผลักดันให้มีการจัดตั้งศาลชะ
รีอะฮฺในประเทศไทย
เพือ
่ ให้เกิดกระบวนการยุติธรรมด้านครอบครัว
และมรดกของชาวมุสลิม จำาเป็ นอย่างยิง่ ทีจ
่ ะต้องมีการ
พัฒนาระบบคดีครอบครัวและมรดกของชาวมุสลิมและการ
ผลักดันให้มีการจัดตัง้ ศาลชะรีอะฮฺในประเทศไทย ซึง่ ใน
ปั จจุบัน ระบบคดีครอบครัวและมรดกและมรดกยังไม่เอือ
้ ต่อ
ชาวมุสลิมได้ ทัง้ นีเ้ พราะยังขาดความอิสระและอำานาจเด็ด
ขาดของดะโต๊ะยุติธรรมกล่าวคือ ดะโต๊ะยุติธรรมมีอำานาจแต่

5
เกีย
่ วกับปั ญหาการบังคับใช้กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและ
มรดกในประเทศไทยโปรดด่ Muhammadzakee Cheha,
Administrative Problems of Islamic Family Law and Inheritance in
Thailand, Ph.d. thesis, Faculty of Law, International Islamic
University, 2005.
เพียงวินิจฉัยชีข
้ าดข้อกฎหมายอิสลามเท่านัน
้ ส่วนอำานาจ
6
วินิจฉัยข้อเท็จจริงเป็ นของผ้่พิพากษาศาลจังหวัด

นอกจากนัน
้ คำาวินิจฉัยของดะโต๊ะยุติธรรมในข้อ
กฎหมายอิสลามถือสิน
้ สุดค่่ความไม่สามารถอุทธรณ์และฎีกา
7
อีกต่อไปทำาให้เกิดความไม่เป็ นธรรมแก่ประชาชน

5.1 การพัฒนาระบบวิธีพิจารณาคดีครอบครัว
และมรดก
การพัฒนาระบบวิธีพิจารณาความในคดี
ครอบครัวและมรดกเป็ นเรือ
่ งทีม
่ ีความจำาเป็ น เพราะใน
ปั จจุบัน กฎหมายวิธีพิจารณาคดีตามปกติยังไม่เอือ
้ อำานวยต่อ
ความยุติธรรมและยังขัดกับบทบัญญัติแห่งกฎหมายอิสลาม
ในบางประเด็น ประเด็นสำาคัญทีจ
่ ำาเป็ นต้องปรับปรุงแก้ไข
ได้แก่

ก. อำานาจของดะโต๊ะยุติธรรม

6
ด่มาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการใช้กฎหมายอิสลามในเขต
จังหวัดปั ตตานี นราธิวาส ยะลา และสต่ล พ.ศ. 2489
7
มาตรา 4 วรรคสามแห่งพระราชบัญญัติการใช้กฎหมายอิสลามใน
เขตจังหวัดปั ตตานี นราธิวาส ยะลา และสต่ล พ.ศ. 2489 บัญญัติว่า
“คำำวินิจฉัยของดะโต๊ะยุติธรรมตำมข้อกฎหมำยอิสลำมเป็ นทีส
่ ุด”
ตามกฎหมายปั จจุบัน ดะโต๊ะยุติธรรมมีอำานาจแต่เพียง
วินิจฉัยข้อกฎหมายอิสลาม

ข. วิธีพิจารณาคดี
โดยหลัก กระบวนพิจารณาในศาลชะรีอะฮฺจะ
ต้องเป็ นไปโดยง่าย รวดเร็ว ประหยัด ค่่ความอาจไม่ต้องมี
ทนายความ และศาลต้องปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ทีเ่ คร่งครัดตาม
บทบัญญัติแห่งอิสลาม ต้องมีการร่างกฎหมายวิธีพิจารณาคดี
ในศาลชะรีอะฮฺโดยเฉพาะ เช่น เรือ
่ งพยานในกฎหมาย
อิสลามอย่างน้อยต้องมี 2 คน พยานทีเ่ ป็ นหญิง 2 คนเท่ากับ
พยานเพศชาย 1 คน เป็ นต้น

เรือ
่ งสำาคัญทีจ
่ ำาเป็ นต้องปรับเปรียบเกีย
่ วกับวิธก
ี าร
หาพยานหลักฐานในคดีครอบครัวและมรดกอีกเรือ
่ งหนึง่ คือ
การเปลีย
่ นบทบาทของผ้่พิพากษา จากการทีเ่ น้นระบบการ
ต่อส้่กันโดยค่่ความ (Adversarial System) ก็สมควรจะเพิม

บทบาทเป็ นลักษณะระบบการค้นหาความจริง (Inquisitorial
System) มากขึน
้ หรือเป็ นลักษณะผสมผสาน (Mixture of
Adversarial and Inquisitorial) ดังนัน
้ สิง่ ทีน
่ ่าจะถือเป็ นแบบ
อย่างทีด
่ ีในวิธีปฏิบัติของศาลคือการทีผ
่ ้่พิพากษามักออกเดิน
เผชิญสืบไปยังพืน
้ ทีพ
่ ิพาททีม
่ ีปัญหาขัดแย้งด้วยตนเอง และ
อาจมีการรับฟั งพยานจากในพืน
้ ทีโ่ ดยตรง ก็เป็ นเรือ
่ งทีน
่ ่าจะ
นำามาปรับใช้มากขึน
้ เพราะเรือ
่ งนีย
้ ังเกิดขึน
้ น้อยมากในส่วน
ของศาลไทย

ค. การแก้ไขกฎหมายสารบัญญัติทีเ่ กีย
่ วข้องกับ
คดีครอบครัวและมรดก
นอกเหนือจากการแก้ไขกฎหมายวิธีสบัญญัติบาง
เรือ
่ งเพือ
่ ปรับปรุงวิธีพิจารณาคดีครอบครัวและมรดกแล้ว ยัง
ควรแก้ไขกฎหมายสารบัญญัติ กล่าวคือควรจัดทำาประมวล
กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดกผ่านการ
นิติบัญญัติเพือ
่ เป็ นแหล่งอ้างอิงของเจ้าหน้าทีใ่ นการบังคับใช้
กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก

ง. ระบบความช่วยเหลือประชาชนในทางคดี
การช่วยเหลือประชาชนในทางคดีโดยจัดให้มี
ทนายความชัรอียค
์ อยให้ความช่วยเหลือ ทนายความชัรอีย์
เหล่านีจ
้ ะต้องเป็ นผ้่มีความร้่ทางด้านชะรีอะฮฺเป็ นอย่างดีและ
ผ่านการอบรมการเป็ นทนายความโดยองค์กรทีร
่ ัฐจัดตัง้ ขึน

มา

5.2 การจัดตั้งศาลชะรีอะฮฺ
ในปั จจุบันจะเห็นได้ว่ามีประเทศทีม
่ ิใช่มุสลิมหลาย
ประเทศมีการจัดตัง้ ศาลชะรีอะฮฺเพือ
่ พิจารณาและพิพากษา
คดีเกีย
่ วกับครอบครัวและมรดกของชาวมุสลิม เช่น สิงคโปร์
ฟิ ลิปปิ นส์ ศรีลังกาและอินเดีย ดังนัน
้ ประเทศไทยทีข
่ ึน
้ ชือ
่ ว่า
เป็ นประเทศทีใ่ ห้เสรีภาพในการนับถือศาสนาก็ควรเอาอย่าง
ประเทศดังกล่าว

ประเด็นสำาคัญทีค
่ วรพิจารณาเกีย
่ วกับระบบศาลชะ
รีอะฮฺมีดังต่อไปนี ้

ก. รูปแบบศาล
ควรจะเป็ นเอกเทศ ศาลชำานัญพิเศษ หรือแผนก
8
ศาลของศาลยุติธรรม

ข.ลำาดับชั้นของศาล
ในเรือ
่ งลำาดับชัน
้ ของศาลชะรีอะฮฺก็มีความสำาคัญ
ในเชิงโครงสร้างของระบบศาลโดยรวม คดีทีเ่ สร็จจากศาลชะ
รีอะฮฺจะอุทธรณ์โดยตรงต่อศาลฎีกา (Supreme Court) หรือ
อุทธรณ์ต่อศาลอุทธรณ์โดยให้ถือว่าคำาพิพากษาของศาล
อุทธรณ์เป็ นทีส
่ ุด ดังนัน
้ ในศาลฎีกาหรือศาลอุทธรณ์จะต้อง

8
เกีย
่ วกับร่ปแบบทีเ่ หมาะสมของศาลชะรีอะฮฺในประเทศ โปรดด่ มุฮำา
หมัดซากี เจ๊ะหะ, “ระบบศาลไทยกับความเป็ นไปได้ในการจัดตัง้ ศาล
ชะรีอะฮฺ” วารสารวิชาการอิสลามศึกษา ฉบับที ่ 2, ธันวาคม
ค.ศ.2003, หน้า 146-164
จัดตัง้ แผนกคดีครอบครัวและมรดกอิสลามโดยเฉพาะ

ค. ระบบผู้พิพากษา ทีป
่ รึกษาและผู้เชีย
่ วชาญศาล
นอกจากผ้่พิพากษาแล้ว ศาลชะรีอะฮฺควรแต่งตัง้ ที ่
ปรึกษาและผ้่เชีย
่ วชาญเพือ
่ ให้ระบบการพิจารณาพิพากษาคดี
เกิดความสมบ่รณ์มากยิง่ ขึน
้ เพราะถึงแม้ว่าผ้่พิพากษาจะมี
ความร้่ในหลักกฎหมายแต่ก็ยังต้องอาศัยผ้่เชีย
่ วชาญในการ
วินิจฉัยข้อเท็จจริงบางอย่าง เช่น การมาประจำาเดือนของ
9
สตรี ซึง่ เป็ นข้อเท็จจริงในการวินิจฉัยอิดดะฮฺ ของสตรี

5.3 การพัฒนาระบบการระงับข้อพิพาททาง
เลือกเกีย
่ วกับครอบครัวและมรดก
การพัฒนากระบวนการระงับข้อพิพาทก่อนฟ้อง
คดี เช่น การเจรจาต่อรอง การตัง้ อนุญาโตตุลาการ โดย
เฉพาะกระบวนการไกล่เกลีย
่ (Mediation) ถือเป็ นเรือ
่ งทีม
่ ี
ความสำาคัญมาก เพือ
่ จะให้เกิดการระงับข้อพิพาทกันโดย
สมานฉันท์โดยไม่ต้องฟ้องคดีหรือไม่ต้องให้ศาลมีคำาวินิจฉัย
ในศาลชะรีอะฮฺของต่างประเทศ เช่น ศาลชะรีอะฮฺในประเทศ
ฟิ ลิปปิ นส์ และประเทศสิงคโปร์จะมีองค์กรหนึง่ ทำาหน้าทีไ่ กล่

9
ระยะเวลาแห่งการรอคอยของสตรีหลังการสิน
้ สุดลงของการสมรส
ไม่ว่าจะสิน
้ สุดโดยการหย่า หรือการเสียชีวิตของสามี
เกลีย
่ ข้อพิพาทระหว่างสามีภรรยา ในฟิ ลิปปิ นส์องค์กรนีจ
้ ะ
10
เรียกว่า Agama Arbitration Council ส่วนในสิงคโปร์จะ
11
เรียกว่า Hakam หรือ arbitrator

6. การพัฒนาบุคลากรในกระบวนการยุติธรรมด้าน
ครอบครัวและมรดก
การพัฒนาบุคลากรในกระบวนการยุติธรรมด้าน
ครอบครัวและมรดกเป็ นเรือ
่ งสำาคัญทีต
่ ้องทำา ทัง้ นีเ้ พือ
่ พัฒนา
ทักษะและศักยภาพของพิจารณาพิพากษาคดี การพัฒนาดัง
กล่าวมีหลายร่ปแบบ เช่นส่งศึกษาต่อ จัดอบรม ตลอดจน
ทัศนะศึกษาด่งาน

7. แผนปฏิบัตก
ิ ารเพือ
่ ให้เกิดการขับเคลือ
่ นเรือ
่ ง
กระบวนการยุติธรรมด้านครอบครัวและมรดกของชาว
มุสลิมในประเทศไทย
เพือ
่ ให้การพัฒนากระบวนการยุติธรรมด้าน
ครอบครัวและมรดกเป็ นไปได้จริง จำาเป็ นต้องมีการจัดทำา

10
เกีย
่ วกับรายละเอียดของเรือ
่ งนี ้ โปรดด่มาตรา 7(a) และมาตรา
160 แห่ง Code of Muslim Personal Laws of the Philippines.
11
รายละเอียดโปรดด่มาตรา 50(1), the Administration of Muslim
Law Act of Singapore.
แผนปฏิบัติการเพือ
่ ให้เกิดการขับเคลือ
่ นในเรือ
่ งดังกล่าวอย่าง
เป็ นระบบ โดยจัดให้มีองค์กรผ้ร
่ ับผิดชอบและมีงบประมาณ
ในการดำาเนินการได้อย่างพอเพียง และหากมีการปฏิบัติการ
ตามแผนอย่างเหมาะสม ก็น่าจะเกิดผลต่อการพัฒนาความ
คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนได้อย่างแท้จริง ซึง่ มี
ขัน
้ ตอนการดำาเนินการตามแผน มีดังต่อไปนี ้

7.1 ขั้นตอนการสำารวจข้อมูลความคืบหน้าใน
เรือ
่ งการพัฒนากระบวนการยุติธรรมด้านครอบครัวและ
มรดกของแต่ละภาคส่วน
การสำารวจข้อม่ลความคืบหน้าในเรือ
่ งการพัฒนา
กระบวนการยุติธรรมด้านครอบครัวและมรดกเป็ นเรือ
่ งสำาคัญ
ทีจ
่ ะได้เห็นพัฒนาการทีเ่ ป็ นอย่่ในปั จจุบันว่ามีอย่่อย่างไร ซึง่
ข้อม่ลต่างๆ ทีส
่ มควรทำาการสำารวจ ได้แก่
- ข้อม่ลด้านกฎหมายและระเบียบในเรือ
่ งที ่
เกีย
่ วข้อง เพือ
่ ค้นหาข้อบกพร่องและหาแนวทางแก้ไข
- ข้อม่ลเกีย
่ วกับการพัฒนากระบวนการบังคับใช้
กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก เช่น การจัดตัง้
สำานักงานจดทะเบียนสมรสและหย่า และสำารวจติดตามการ
ดำาเนินการขององค์กรด้านการระงับข้อพิพาททีเ่ กีย
่ วข้อง
เช่น โครงการการจัดตัง้ แผนกคดีครอบครัวและมรดกในศาล
อุทธรณ์ หรือศาลฎีกา โครงการความช่วยเหลือทาง
กฎหมายครอบครัวและมรดกของหน่วยงานช่วยเหลือทาง
กฎหมายต่างๆ หรือสถาบันการศึกษาต่างๆ เป็ นต้น
- ข้อม่ลทางวิชาการและงานวิจัยทีเ่ กีย
่ วข้อง
โดยตรงต่อการพัฒนาระบบคดีครอบครัวและมรดก

7.2 ขัน
้ ตอนการตัดสินใจ
เมือ
่ ได้มก
ี ารสำารวจข้อม่ลความคืบหน้าในเรือ
่ ง
การพัฒนากระบวนการยุติธรรมด้านครอบครัวและมรดกของ
แต่ละภาคส่วนโดยครบถ้วนแล้ว กระบวนการตัดสินใจจึงเป็ น
เรือ
่ งทีเ่ ป็ นไปได้ เพียงแค่เรือ
่ งการจัดตัง้ ศาลชะรีอะฮฺ ก็จะมี
ประเด็นปลีกย่อยทีต
่ ้องตัดสินใจมากมาย เช่น ควรตัง้ ศาลชะ
รีอะฮฺเป็ นศาลพิเศษหรือเป็ นแผนกพิเศษในศาลธรรมดาหรือ
ไม่เป็ นศาลพิเศษแต่มีกระบวนการพิจารณาพิเศษ ควรให้ศาล
พิเศษมีขอบเขตอำานาจ (Jurisdiction) เพียงใด ศาลชะรีอะฮฺ
ควรมีอำานาจหน้าทีใ่ นการพิจารณาพิพากษาคดีครอบครัว
และมรดกในจังหวัดอืน
่ นอกเหนือจากศาลชะรีอะฮฺในสี ่
จังหวัดชายแดนภาคใต้หรือไม่ ลำาดับชัน
้ ของศาล จะมีสอง
ชัน
้ หรือสามชัน
้ จะอุทธรณ์ฎก
ี าอย่างไร ระบบบุคลากรของ
ศาล เช่นผ้่พิพากษา ผ้่เชีย
่ วชาญศาลควรเป็ นอย่างไร?
บรรยากาศในการพิจารณาคดีและห้องพิจารณาคดีในศาล
ควรเป็ นอย่างไร กฎเกณฑ์เรือ
่ งการค้นหาความจริงในคดี
การสืบพยาน การรับฟั งพยาน ภาระในการพิส่จน์ การเดิน
เผชิญสืบควรเป็ นอย่างไร?
ปั ญหาทีส
่ ำาคัญเกีย
่ วกับขัน
้ ตอนการตัดสินใจอีก
ประการหนึง่ คือไม่ทราบว่าองค์กรใดจะเป็ นมีผ้่มีความเหมาะ
สมทีจ
่ ะตัดสินใจ ทำาอย่างไรจึงจะไม่ให้องค์กรใดองค์กรหนึง่
ผ่กขาดความคิดและการตัดสินใจไว้องค์กรเดียว ทำาอย่างไร
จึงจะให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจด้วยได้ เพือ
่ ให้
เกิดความรอบคอบ และให้ผลของการตัดสินใจเกิดการ
12
ยอมรับ

7.3 ขั้นตอนการดำาเนินการเพือ
่ ทำาให้การตัดสิน
ใจเกิดผลในทางปฏิบัติ
การดำาเนินการเพือ
่ ทำาให้การตัดสินใจเกิดผลใน
ทางปฏิบัติทีส
่ ำาคัญประการหนึง่ คือการผลักดันให้เป็ นนโยบาย
ของรัฐบาลหรือการดำาเนินการยกร่างกฎหมาย โดยเฉพาะ
การยกร่างกฎหมายสมควรจัดทำาโดยองค์กรทีม
่ ีความร้่ความ
สามารถทีเ่ หมาะสม และพยายามนำาเสนอผ่านช่องทางต่างๆ

12
ผ้่เขียนเห็นว่าองค์กรทีม
่ ีความเหมาะสมในการตัดสินใจคือกระทรวง
ยุติธรรม เพราะเป็ นกระทรวงทีอ
่ ำานวยความยุติธรรมแก่ประชาชน ทัง้
ยังเป็ นองค์กรของรัฐทีไ่ ด้รับการสนับสนุนงบประมาณแผ่นดิน
ทีเ่ ป็ นไปได้ เช่น ผ่านสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ผ่าน
พรรคการเมือง ผ่านกรมกองกระทรวงทีเ่ กีย
่ วข้องต่อไป
นอกเหนือจากการจัดทำากฎหมายแล้ว สิง่ ทีย
่ ัง
ต้องทำายังได้แก่ การพัฒนาข้อม่ล การพัฒนาเครือข่ายใน
การดำาเนินการอย่างเป็ นระบบ สิง่ สำาคัญทีส
่ ุดคือการพัฒนา
บุคลากรให้มีความพร้อมทัง้ ในด้านความร้่ทีเ่ กีย
่ วข้อง การจัด
เตรียมเครือ
่ งมือและข้อม่ลให้สามารถปฏิบัติงานได้จริง รวม
ทัง้ การปรับทัศนคติให้เกิดความเข้าใจในเรือ
่ งกระบวนการ
ยุติธรรมด้านครอบครัวและมรดกให้ถก
่ ต้องด้วย ซึง่ อาจ
จัดการฝึ กอบรมบุคลากรทีเ่ กีย
่ วข้องในด้านต่างๆ ทัง้ ความร้่
ทัว
่ ไป ความร้่ระดับกลาง และความร้่ชัน
้ ส่ง และวางแผน
เรือ
่ งบุคลากรในระยะเฉพาะหน้า ระยะกลาง และระยะยาว
เช่น การศึกษาด่งานภายในและต่างประเทศ การให้ทุนไป
ศึกษาระดับปริญญาโทหรือเอกทางด้านชะรีอะฮฺ หรือการ
ผลักดันให้มีการสอนเรือ
่ งนีใ้ นโรงเรียนและมหาวิทยาลัย
ฯลฯ

การดำาเนินการด้านการเผยแพร่ข้อม่ลและประชาสัมพันธ์
เรือ
่ งการพัฒนาระบบคดีครอบครัวและมรดกการจัดตัง้ ศาล
ชะรีอะฮฺ ก็เป็ นเรือ
่ งสำาคัญทีข
่ าดไม่ได้ สภาพปั ญหาทีเ่ กิดขึน

ในปั จจุบัน จะเห็นได้ว่าประชาชนจำานวนมากยังไม่ได้รับ
ทราบว่ามีพัฒนาการในเรือ
่ งกระบวนการยุติธรรมด้าน
ครอบครัวและมรดกอย่างไร ดังจะเห็นว่าประเด็นการจัดตัง้
ศาลชะรีอะฮฺงก็ยังไม่เป็ นทีร
่ ับร้ข
่ องประชาชนมากนัก ดังนัน

ในกระบวนการพัฒนากระบวนการยุติธรรมด้านครอบครัว
และมรดก สือ
่ มวลชนจักต้องร่วมทำางานด้วยตัง้ แต่ต้น และ
คอยเผยแพร่ความคิด ข้อม่ลข่าวสารอย่างเป็ นระบบโดย
ตลอด โดยเฉพาะการเผยแพร่ข้อม่ลไปยังบุคลากรใน
กระบวนการยุติธรรม และองค์กรวิชาชีพทีเ่ กีย
่ วข้องจำาเป็ น
ต้องเผยแพร่ขอ
้ ม่ลให้มาก เพือ
่ ให้เกิดการเปลีย
่ นแปลงไป
พร้อมๆ กัน

7.4 ขัน
้ ตอนการประเมินผล
ทันทีทีโ่ ครงการต่างๆ เริม
่ มีการดำาเนินการ จำาต้อง
มีกระบวนการประเมินผลควบค่่กันไป ซึง่ ทีผ
่ ่านมาโครงการ
ส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีการประเมินอย่างเป็ นระบบ หรือการ
ประเมินผลมักไม่มีความเป็ นกลางและไม่มีลักษณะเป็ นการ
ประเมินแบบมืออาชีพเพียงพอ ทัง้ นีเ้ พราะผ้่เกีย
่ วข้องไม่เห็น
ความสำาคัญของการประเมินผลหรือไม่เข้าใจวิธีการประเมิน
ผลทีถ
่ ่กต้อง ทางออกของเรือ
่ งนี ้ อาจทำาได้โดยการเขียน
กฎหมายบังคับไว้ให้ทำาการประเมินใน 3 ปี หรือ 5 ปี หลังจาก
กฎหมายมีผลบังคับใช้ หรือการตัง้ องค์กรประเมินทีเ่ ป็ นกลาง
เหมาะสม เป็ นมืออาชีพ เพือ
่ ให้เกิดการปรับปรุงในทิศทางที ่
เหมาะสม รวมทัง้ ต้องสร้างการรับร้่ของประชาชนอย่าง
สมำ่าเสมอ ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการประเมินผลในทุกขัน

ตอน สร้างเวทีกระบวนการเรียนร้่และพัฒนาร่วมกันของทุก
ภาคส่วน

โดยสรุป แผนปฏิบัติทุกขัน
้ ตอนข้างต้นจะไม่สามารถ
กระทำาได้อย่างมีประสิทธิภาพหากบุคลากรในกระบวนการ
ยุติธรรมทุกฝ่ าย ไม่เข้ามาช่วยพิจารณาดำาเนินการอย่างเป็ น
ระบบ นอกจากนี ้ การเปิ ดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วม
ในการดำาเนินการในส่วนต่างๆ ด้วย ก็ย่อมจะทำาให้การ
ดำาเนินการมีความสมบ่รณ์มากขึน

บทสรุป
การสำารวจกระบวนการสร้างความยุติธรรมด้าน
ครอบครัวและมรดกทีม
่ ีอย่่ในประเทศไทย ว่ามีข้อบกพร่อง
อย่างไร และจะมีแนวทางในการปรับปรุงได้อย่างไร ทีเ่ ป็ น
วัตถุประสงค์ของบทความนี ้ มีข้อสรุปสัน
้ ๆ การพัฒนา
กระบวนการยุติธรรมด้านครอบครัวและมรดกเป็ นสิง่ จำาเป็ น
และต้องทำาให้เกิดขึน
้ จริง ทัง้ นี ้ เพราะการพัฒนาจักต้องทำา
เรือ
่ งเนือ
้ หาสาระและเรือ
่ งกระบวนการควบค่ก
่ ันไป การ
พัฒนาจักต้องปรับปรุงทัง้ ในส่วนกฎหมายสารบัญญัติและวิธี
สบัญญัติ ยิง่ ไปกว่านัน
้ การเปลีย
่ นแปลงระบบกฎหมายและ
สังคมเพือ
่ สร้างความเป็ นธรรมให้เกิดขึน
้ ได้ ไม่สามารถ
กระทำาได้แค่เพียงการปรับปรุงกลไกกฎหมาย ด้วยการยก
ร่างกฎหมายใหม่เพียงสองสามฉบับ หากแต่ต้องปรับระบบ
ความเข้าใจ เปลีย
่ นแปลงปรัชญาและแนวความคิดทีเ่ ป็ นพืน

ฐานด้วย ทีส
่ ำาคัญ ต้องรวบรวมพลังของผ้่ทีเ่ กีย
่ วข้องทุกฝ่ าย
ทัง้ ในส่วนของนักกฎหมาย นักการศาสนา คณะกรรมการ
อิสลามทุกระดับ รวมทัง้ ประชาชน ให้มาทำางานร่วมกันตัง้ แต่
ขัน
้ ตอนการสำารวจปั ญหา สำารวจข้อม่ล การร่วมกันตัดสินใจ
การร่วมกันดำาเนินการ และการร่วมกันประเมินผล เพือ
่ ทีจ
่ ะ
ให้ความสำาเร็จในการสร้างความยุติธรรมด้านครอบครัวและ
มรดกในประเทศไทยเป็ นความผลงานทีท
่ ุกฝ่ ายมีส่วน
สร้างสรรค์ร่วมกันอย่างแท้จริง

You might also like