You are on page 1of 79

โตขอกลาวหาของคตส.

ที่ใชในการยึดทรัพยทักษิณ
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 2

คําบน

หลังจากที่ผมไดเขารวมการชุมนุมใหญในชวงเดือนเมษายนป 52 และไดเขารวมการชุมนุมในเขต
กรุงเทพอีกหลายครั้ง ตอมาไดขึ้นไปเคลื่อนไหวรวมกับเพื่อนๆทางภาคเหนืออยูพ ักใหญๆ แลวจึงได
กลับไปปฎิบัติธรรมที่เดิมคือ ถ้ําซึง่ อยูชายแดนพมาแถบเขตของวาแดง และชวงปลายปไดลงมา
รักษาโรคของคนแกที่โรงพยาบาลตํารวจ กะวาจะอยูรวมชุมนุมใหญแลวจึงกลับไปปฎิบัติธรรมตอ
ระหวางที่รอการชุมนุมใหญในเดือนกุมภาพันธ ไดเขาไปอานกระทูของคุณ Jampoon ในหองราช
ดําเนิน เรื่องขอกลาวหาของคตส. และก็นกึ ไปถึงชวงที่นายกทักษิณขายหุน ชินคอรปฯ มีขอกลาวหา
มากมาย ความเห็นสวนใหญที่นาํ สูสังคม มักจะเปนความเห็นของนักกฎหมาย ไมเคยมีความเห็น
ของนักบัญชีหรือนักการเงินใหคนในสังคมไดเห็นมุมมองของคนกลุมนี้เลย ทั้งๆที่คนกลุมนี้มีความ
ลึกซึ้งในเรื่องของหุน เรื่องของภาษี เรื่องของกําไร (ไมไดชมตัวเองนะครับ พูดตามความจริง) ผมก็เลย
คิดวาเรานาจะเอาความรูดานบัญชีที่มีอยู อธิบายเรื่องราวใหคนไดเขาใจ แตก็มาคิดตออีกวา ถาเรา
เขียนความเห็นคนเขาจะอานเขาใจหรือ เพราะเรื่องที่เกี่ยวของกับการดําเนินงานของบริษัทนั้น มัน
เปนเรื่องที่เขาใจยาก แตเปนเรื่องที่งา ยตอการกลาวหา ก็เลยตัดสินใจวาตองเขียน คนจะอานรูเรื่อง
มากนอยก็ไมเปนไร เริ่มเขียนลงใน www.newskythailand.us ใช Login วา “Nirvana” โดยตั้งชื่อ
กระทูว า “จะอธิบายเรื่องการยึดทรัพยของนายกทักษิณใหชาวบานเขาใจไดอยางไร???” ใน
วันที่ 16 มกราคม 53 ตอมาก็ไดไปโพสทไวที่ www.konthaiuk.com www.thaipeoplevoice.com
และ www.prachatai.com คนหาขอมูลไป เขียนไป เกลือบจะทุกวัน ก็เลยมาคิดวายังขาดที่หองราช
ดําเนิน ซึ่งมีคนเกงๆเยอะ มีขอมูลในเชิงลึก แตตัวผมไมสามารถเขาไปแสดงความเห็นได เพราะ
Login ถูกระงับถาวร (สัพเพ) ผมก็เลยตอง ใชวิธี mail ขอมูล ไปให สาย สีมา ซึ่งเคยเคลื่อนไหว
ทางการเมืองรวมกัน ใหชวยตั้งกระทูใหที ถามีอะไรผิดพลาดตองแกไขไมมาก ผมก็ใชวิธโี ทรไปหา
สาย สีมา ใหแกไขดวย และคิดวาเขียนครบทั้งหมดแลว ควรจะทําเปนไฟลที่สมบรูณแบบ จึงขอให
คุณ Jampoon รวบรวมความเห็นที่ดีๆเพือ่ นํามารวมเขาไวดวยกัน แลวนําออกเผยแพรสูนอกโลกไซ
เบอร และ ขอบคุณ Login “มาหาอะไร” ผูจัดทํา http://maha-arai.blogspot.com ซึ่งเปนจุดเริ่นตน
ที่ผมไดเขาไปอานขอมูลตางๆ
แตเดิมตั้งใจวาเมื่อไดเขียนความเห็นโตแยงขอกลาวคตส.แลว จะหยุดแสดงความเห็น แตไดมีคนติดตอ
เขามาที่ผม ใหเขียนเรื่องของแอมเพิลริชดวย และเมื่อไดโพสทความเห็นเรื่องแอมเพิลริชไปแลวมีเสียง
สะทอนกลับมาวา เขาใจดีขึ้น แตถา ไปอธิบายใหชาวบานฟง ก็ยงั เขาใจยากอยู จึงไดแตงเติมเรื่อง
เปรียบหุน เปนทองคํา เพื่อใหใชอธิบายเรื่องแอมเพิลไดดว ย ตองขออภัยหากมีขอผิดพลาดเกิดขึน้
นิรวาณ
19 ก.พ. 53
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 3

สารบัญ
หนา
ลุงที่เชียงรายและทองคํา 4
Highlight โตขอกลาวหาในการยึดทรัพยทักษิณ 6
ขอกลาวหาของคตส.ขอ 1 10
ขอเท็จจริงและผลการวิเคราะห 11
รายละเอียดการวิเคราะหและขอเท็จจริง. 12
ตารางแสดง ผลประโยชนที่ AIS จายใหแกหนวยงานของรัฐ 16
ขอกลาวหาของคตส. ขอ 3 17
เรื่องนารูในป 2551 เกี่ยวกับปลิงดูดเลือด 20
ตารางแสดงคาสัมปทานทีท่ โี อทีไดรับ และ เงินทีท่ ีโอทีนาํ สงคลัง 22
เรื่องเก็บตกเกีย่ วกับการลดคาสัมปทาน 26
ขอกลาวหาของคตส.ขอ 4 28
ขอกลาวหาของคตส.ขอ 5 31
ขอกลาวหาของคตส.ขอ 2 32
ความเห็นตอขอกลาวหาจากหองราชดําเนิน 34
เปรียบเทียบความสามารถในการทํากําไรของบริษัท 38
เปรียบเทียบอัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน ของกลุมชินกับกิจการอื่นๆ 40
รายชื่อผูถือหุน ใหญ 10 อันดับแรก ปูนซิเมนตไทยและปตท 42
ราคาหุน และมูลคาตามบัญชีตอหุน 43
เปรียบเทียบอัตราสวนราคาหุนตอมูลคาตามบัญชีของชินคอรปฯกับกิจการอื่นๆ 45
เรื่องของแอมเพิลริช 49
นายกทักษิณเสียภาษีปละประมาณเทาใด? 59
ความรูเกีย่ วกับ “เครดิตภาษีเงินปนผล” 60
ขอถกเถียงในหองราชดําเนินเกีย่ วกับเครดิตภาษีเงินปนผล 63
วิสัยทัศนของนายกทักษิณที่ผมถือวาสุดยอดจริงๆ 71
การตรวจสอบทรัพยสนิ และหนี้สนิ ของนักการเมือง 72
ทําไมคนบางกลุมอยากเสียภาษีเยอะ 78
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 4

ลุงที่เชียงรายและทองคํา
ผมไดมโี อกาสไปปฏิบต
ั ิธรรมที่จงั หวัดเชียงราย และไดมโี อกาส
พูดคุยกับชาวไรชาวนา มีลุงคนหนึง่ ถามผมวา

“รัฐเขาจะยึดเงินทักษิณเปนหมืน
่ ลานเพราะทักษิณทุจริต โกงกินเงินของชาติ
ใชมั๊ย”

ผมก็เลยตัง้ คําถามกลับไปวา
“ถาเมื่อสิบปที่แลวลุงมีทองคํา 1 เสนหนัก 10 บาท ตอนนั้นราคา
ทองคําบาทละ 4,000 บาท พอมาถึงปน้ท
ี องคําราคาบาทละ 15,000 บาท
ลุงก็เลยขายทองคําทั้ง 10 บาทออกไปไดเงิน 150,000 บาท
แลวมีคนกลาวหาลุงวา ลุงร่ํารวยผิดปกติ ไปโกงเขามา ไปลักขโมยเขามา
ลุงวามันถูกตองไหมละ “

ลุงแกตอบผมวา
“อาว ก็เมื่อสิบปที่แลวลุงมีทองคําหนัก 10 บาท และตอนขายลุงก็มีทองคําหนัก 10
บาทเหมือนเดิม แลวจะกลาวหาวาลุงไปขโมยของคนอื่นมาไดอยางไร”

ผมก็เลยบอกลุงไปวา
“กอนจะเลนการเมืองคุณทักษิณเขามีหุนอยู 1,500 ลานหุน พอมาถึงป 2549 คุณ
ทักษิณจึงขายหุน 1,500 ลานหุนออกไปไดเงิน 73,000 ลานบาท รัฐเขาจะยึดเงิน
73,000 ลานบาทนี่แหละ

ผมก็จึงถามวา "ลุงรูไหมวาหุนคืออะไร”
ลุงแกตอบผมวา “ลุงไมรูจักหลอก ไอหุนเหิ่นเนี่ย “
ผมก็จึงบอกวา “หุนมันก็ไมตางจากทองคําหลอกลุง”
ลุงแกก็พด ่ งมันอยางนี้ นี่เอง”
ู ตอ “ออ เรือ

ผมก็เลยถามตอ “แลวลุงคิดวาทักษิณโกงกินหรือไม”
ลุงแกตอบวา “เมื่อกอนลุงก็เชื่อตามที่ฟงขาว วาทักษิณโกงกินจริง แตพอเอ็ง
ยกตัวอยางเรื่องทองคํา ลุงจึงเขาใจ”
แลวแกก็พด
ู ตอวา “มันใสรายกันนี่หวา นาสงสารนายกทักษิณจัง”
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 5

ลุงที่เชียงรายและทองคํา (ภาคสอง)

แลวลุงแกก็ถามตอ "แลวไอแอมเพิลรงเพิลริชละ มันเปนอยางงัย"

ผมก็เลยยอนถามลุงวา “ถาเมื่อสิบปที่แลว ทองคําของลุง 10 บาทนั้นเปน 2 เสน


เสนหนึ่ง 2 บาท และอีกเสน 8 บาท ลูกชายลุงจะไปทํางานในเขมร ลุงเลยเอา
เสน 2 บาทใหลูกชาย เมื่อลูกชายกลับมาก็เอามาคืนใหลุง แลวลุงก็ขายทอง
ทั้งสองเสน รัฐฯเขาจะเก็บภาษีจากลุง เพราะลุงไปซื้อทองคําจากเขมรมา
ราคาแคบาทละ 4,000 บาท แตตอนนี้ลงุ ขายไดบาทละ 15,000 บาท
ทองคําเสน 2 บาทลุงมีกําไร 20,000 กวาบาท ลุงตองเสียภาษี"

ลุงแกพูดวา "ก็ไอทองเสน 2 บาท เดิมมันอยูทเี่ ชียงรายนี่ และมันก็เปนของลุง


 และมันก็เปนเสนเดิมที่ลุงใหลูกชายไป ลูกชายลุง
มาตั้งแตตน
มันไมไดไปเปลีย
่ นเปนทองคําของเขมรเลยนีห
่ วา"

แลวผมก็บอกวา "ทักษิณเขาเอาหุนสวนหนึง่ ไปใหแอมเพิลริชเปนผูถือไว


ที่เกาะบริตช
ิ เวอรจิน ผานไป 7 ป แอมเพิลริชก็สงหุนคืนทักษิณ
แลวทักษิณก็ขายหุนทัง้ หมด"

ลุงแกทาทางยังงงอยู

ผมก็เลยพูดตอวา "หุนที่แอมเพิลริชถือไวที่เกาะบริติชเวอรจิน ก็เหมือนกับ ทองคํา


ที่ลูกชายลุงใสอยูที่เขมร พอผานไป 10 ป ลูกชายลุงก็เอามาคืนใหลุง แลวลุงก็
ขายทองทั้งสองเสน"

ิ ฉามันทนไมได เลยใสรายทาน"
ลุงแกพูดตอ "ชาวบานรักทักษิณเยอะ คนขี้อจ
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 6

Highlight โตขอ
 กลาวหาในการยึดทรัพยทักษิณ
คตส.ไดตั้งขอกลาวหาในการยึดทรัพยหลายขอแยกเปนหลายประเด็น ซึ่งพอสรุป
ไดดังนี้ (1) ลดคาสัมปทานให AIS (2) แกสญ
ั ญาใหรัฐตองรวมรับผิดชอบคาใช
โครงขายรวม (3) แปลงคาสัมปทานเปนภาษีสรรพสามิต (4) อนุญาตโครงการ
ดาวเทียมไอพีสตาร (5) ใหพมากูเงินรัฐบาลไทยซื้อสินคาชินคอรปฯ ซึ่งแยกเปน
ประเด็นยอยดังนี้

อัตราคาสัมปทานทีก ํ หนดขึ้นใหม
่ า

เดือนเมษายนป 2544 DTAC ไดรบ


ั การแกไขสัญญาใหจา ยในอัตรา 18% ของ
รายได ดังนัน
้ AIS จึงไดรองขอความเปนธรรมและไดรบ
ั การลดอัตราคาสัมปทานใน
เดือนพฤศจิกายน จาก 25% เหลือ 20%

แมวาตั้งแตป 2545 - 2549 AIS จะจายคาสัมปทานในอัตราที่ลดลงก็ตาม รัฐมิได


ขาดรายไดที่พึงจะไดรบ
ั จาก AIS แตอยางไร แตรัฐกลับไดรับผลประโยชนจาก AIS
้ จากป 2544 ในรูปของคาสัมปทาน ภาษีสรรพสามิต
ตั้งแตป 2545 – 2549 เพิ่มขึน
และ ภาษีเงินไดนต
ิ ิบค
ุ คล รวมเปนเงินประมาณกวา 5 หมื่นลานบาท

นับตั้งแต AIS ไดรับการลดอัตราคาสัมปทานในปลายป 2544 เปนตนมา AIS ก็ได


ลดคาโทรใหแกผูใชมือถือลงเปนอยางมาก ซึ่งมากกวาที่ทีโอทีไดกําหนดไวเสียอีก
ั จะเห็นไดวา
ซึ่งทีโอทีกาํ หนดใหลดคาโทรลงจากเดิมตัง้ แต 5% - 10% ปจจุบน
ในปจจุบันคาโทรมือถือถูกลงไมนอยกวาครึง่ หนึ่งเมื่อเทียบกับคาโทรในป 2544

การลดคาสัมปทานจึงไดรับประโยชนดวยกันทั้ง 3 ฝาย คือ ผูใชมือถือ รัฐ และ


บริษัทมือถือ

จํานวนผูใชมือถือ

คตส.กลาวหาในทํานองวา ผูใชมือถือของคาย AIS เพิ่มขึน


้ มากกวาของคายอื่น
ซึ่งคานกับขอเท็จจริง กลาวคือ จํานวนผูใชมอ
ื ถือของคาย AIS ในป 2549 เพิ่มขึ้น
ประมาณ 5 เทาเมื่อเทียบกับป 2544 ในขณะทีม
่ ีบางคายเพิ่มขึ้นมากวา 14 เทา
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 7

รายไดที่บริษัทไดรับจากคาโทรมือถือ

อัตราการเพิม
่ ขึ้นของรายไดในป 2549 เมื่อเทียบกับป 2544 ของ AIS และ DTAC
อยูในระดับที่ใกลเคียงกัน คือ ประมาณเกลือบหนึ่งเทาตัว ซึ่งคานกับขอกลาวหา
ของคตส.ทีว่ า AIS มีรายไดที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ

คูแขงขันของ AIS แทบไมมก


ี ําไร

ทําไมคตส.ตองไปเดือดเนื้อรอนใจแทนคูแขงของ AIS ดวย


ขอเท็จริง DTAC ซึ่งเปนคูแขงรายหนึ่งมีกําไรตั้งแต ป 2544 - 2549 อยูในชวง
1,822 – 4,938 ลานบาท

การแปลงคาสัมปทานเปนภาษีสรรพสามิต

เดิมคายมือถือตางๆจายคาสัมปทานทั้งหมดใหกับ ทีโอที หรือ กสท เปลีย


่ นเปน
แบงคาสัมปทานออกเปน 2 กอน (ยอดแตละกอนไมตางกันมากนัก)
กอนหนึ่งใหกับ ทีโอที หรือ กสท อีกกอนหนึง่ จายใหกรมสรรพสามิต กอนที่จายให
กรมสรรพสามิตตองจายเปนรายเดือน
ไมวาจะแปลงคาสัมปทานเปนภาษีสรรพสามิตหรือไมกต
็ าม คายมือถือตางๆยังคง
ตองจายคาสัมปทานเทาเดิม แตการแปลงคาสัมปทานเปนภาษีสรรพสามิตรัฐจะ
ไดรับประโยชนมากกวา เพราะคาสัมปทานกอนนี้ ที่ทีโอที หรือ กสท เคยไดรบ

แลวเอาไปถลุงใชในองคกร ไดนําไปใหกรมสรรพสามิตแทน ผูที่เสียประโยชนจาก
กรณีนี้คือ ทีโอที และ กสท ไมสามารถนําเอาไปถลุงได

AIS ยึดครองตลาดมือถือโดยเด็ดขาดแตผูเดียว

ขอเท็จจริง เอไอเอสมีลูกคา 19.5 ลานคน (49%) , DTAC 12.2 ลานคน (30.5%)


ทรูมูฟ 7.6 ลานคน (19%) และ อื่นๆ 0.7 ลานคน (1.5%)

ชินแซทฯไมยิงดาวเทียมไทยคม 4

บริษัท ชินแซทเทลไลท จํากัด (มหาชน) ไดประสบความสําเร็จในการจัดสง


ดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร) ซึ่งเปนดาวเทียมบรอดแบนดเชิงพาณิชยที่ใหญ
ที่สุดในโลก (และเปนดาวเทียมบรอดแบนดดวงแรกของภูมิภาคเอเชียแปซิฟก)
ขึ้นสูวงโคจรเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2548 บริษัทฯ ไดรับรางวัล “2006 Industry
Innovator for Technology Development and Application” จากสมาคมผู
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 8

ประกอบวิชาชีพดาวเทียมนานาชาติ (Society of Satellite Professionals


International หรือ SSPI) ในเดือนกุมภาพันธ 2549 ซึ่งเปน รางวัลนวัตกรรมดีเดน
ของวงการดาวเทียมโลก ประเภทการพัฒนาเทคโนโลยีและระบบงาน

ชินแซทฯลดภาระการลงทุนฯ เปนจํานวนกวา 20,768 ลานบาท

ขอเท็จจริง เดิมชินคอรปฯถือหุน
 ในชินแซทฯอยู 51.4% เมื่อชินแซทฯตองการ
เงินทุนเพิ่ม จึงขายหุนเพิ่มทุนอีก 208 ลานหุนแกนักลงทุนสถาบันและนักลงทุนราย
ยอย ทําใหสัดสวนการถือหุน (การลงทุน) ของชินคอรปฯในชินแซทฯ ลดลงเหลือ
41.34% ถาตองการใหชินคอรปฯ ถือหุนในชินแซทฯตามสัดสวนเดิม (51.4%)
ชินคอรปฯตองเปนผูลงทุนซื้อหุนที่ชินแซทฯนําออกขายประมาณ 110 ลานหุน (จาก
ที่นออกจําหนาย 208 ลานหุน) ราคาหุนละ 15.30 บาทรวมเปนเงินที่ตองลงทุน
ประมาณ 1,679 ลานบาท ไมใชเปนการลดภาระการลงทุนตามที่คตส.กลาวหา

กรณีพมากูเงินจากรัฐบาลไทย

ยังไมมีความเสียหายเกิดขึ้นแตอยางใด เมื่อถึงเวลาที่กําหนดไวพมาก็ตองชําระคืน
พมายังไมเคยบอกเลยวา จะเบี้ยวไมใชหนี้ ผลพลอยไดจากการใหเงินกูแกพมาก็คือ
ปตท.ไดสัมปทานบอแกช มูลคาหลายแสนลานบาท นายกทักษิณยังขอใหพมาชวย
จัดการเรื่องแหลงผลิตยาบาในพมาดวย

แกสัญญาใหทีโอทีตองรวมรับผิดชอบคาใชโครงขายรวม

เรื่องนี้ไมไดแกไข แตเปนการเพิ่มเติมสวนแบงรายไดใหกบ
ั TOT ทั้งนี้สืบเนื่องจาก
TOT ไมสามารถติดตั้งขยายระบบสื่อสัญญาณไดทันตอการขยายขยายสถานี เพื่อ
บริการแกประชาชนผูใชบริการของ AIS
AIS จึงไดขออนุญาตลงทุนขยายระบบสื่อสัญญาณในสวนที่ TOT ไมสามารถ
จัดสรางไดทัน และยกใหเปนทรัพยสินของ TOT โดยที่ AIS มีสิทธิใชระบบสื่อ
สัญญาณ จนกวาจะหมดอายุสัมปทาน ตอมาปรากฏวามีสวนที่เหลือใชซึ่ง TOT
และ AIS มีความเห็นตรงกันวา ควรจะใหประชาชน หนวยงานอื่นๆ หรือ
บริษัทเอกชนตางๆ สามารถขอเชาใชได
TOT จึงไดกําหนดสวนแบงรายไดขึ้นมาใหม โดย
กรณีเปน ”ผูใชบริการของ TOT”
TOT ไดรับรอยละ 25 AIS ไดรับรอยละ 75 ตลอดอายุสญ
ั ญา
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 9

กรณีเปน ”ผูใชบริการของ AIS”


TOT ไดรับรอยละ 22 AIS ไดรับรอยละ 78 ตลอดอายุสญ
ั ญา
ซึ่ง AIS มีหนาที่จะตองดูแลบํารุงรักษาและซอมแซมระบบสื่อสัญญาณนั้นตลอดจน
อายุสญ
ั ญา

ชินคอรปฯ ชินแซทฯ และ เอไอเอส เติบโตมากกวาบริษัทอื่นๆ

ทั้ง 3 บริษท
ั เติบโตในระดับทีต
่ ่ํากวาบริษัทที่ประกอบธุรกิจในประเภทอื่นๆ เชน วัสดุ
กอสราง พัฒนาอสังหาริมทรัพย เปนตน จากการวัดอัตราความเติบโต (ดูจากกําไร)
ดวยอัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน (ROE) ของบริษัทตางๆที่เลือกมา
เปรียบเทียบโดยใชชวงเวลาป 2544 - 2549 ROE ของบริษัทตางๆ เปนดังนี้
ปูนซิเมนตไทย 48% , ปตท 36% , อมตะคอรปฯ 30% , ซีเอ็ด 28% ,
เอไอเอส 25% , แลนดแอนดเฮาส 24%, น้ํามันพืชไทย 21% , ชินคอรปฯ 20%
และ ชินแซทฯ 13%
ขอกลาวหาของคตส.จึงเปนเท็จ

ราคาหุนของชินคอรปฯสูงกวามูลตามบัญชีมาก

ปจจัยที่มีผลกระทบตอราคาหุน มีหลายอยาง เชน ภาวะเศรษฐกิจโดยรวม และผล


การดําเนินงานของบริษัทนั้นๆ เปนตน ผลการดําเนินงานของบริษัทนั้น ถือวามีสวน
สําคัญมาก จะออกมาดีมีกําไรมากขนาดไหน ขึ้นอยูค
 วามสามารถของผูบริหารของ
บริษัท ในการกําหนด ทิศทางของบริษัท กลยุทธของบริษัท

นายกทักษิณถูกกลาวหาวา ทําใหหุนของชินคอรปฯราคาหุนสูงขึ้น แลวจึงขายหุน


ราคาหุนคิดเปนกี่เทา?เมื่อเทียบกับมูลคาตามบัญชี ซึ่งเรียกวาคา P/BV
ของชินคอรปฯ อยูในระดับต่ําเมื่อนําไปเปรียบเทียบกับบริษัทอื่นๆที่ไดเลือกมาเปน
ตัวอยาง (ใชขอมูลปลายป 2548 : กอนวันขายหุนประมาณ 1 เดือน) คา P/BV
เปนดังนี:้ ปูนซิเมนตไทย 4.58 เทา , อมตะคอรปฯ 3.65 เทา ,
ซีเอ็ด 3.09 เทา , แลนดแอนดเฮาส 2.98 เทา และ ชินคอรปฯ 2.94 เทา
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 10

หลังจากทีน ่ ายกทักษิณขายหุนจํานวน 1,487,740,000 หุน


ในราคาหุน ละ 49.25 บาท รวมเปนเงินทัง้ สิ้น 73,271,200,910 บาท
มีขอกลาวหาคุณทักษิณมากมาย
บางคนวา คนขายกวยเตี๋ยวยังตองเสียภาษีทุกป
นายกขายหุน  73,000 ลานตองเสียภาษีดวย
เงินไดจากการขายหลักทรัพยในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
เปนเงินไดพึงประเมินที่ไดรับการยกเวนการจัดเก็บภาษี
ซึ่งเปนไปตามกฎกระทรวงการคลัง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509) ขอ 2 (23)

ภาษากฏหมายเขียนวา “…..ไดรบ ั การยกเวนการจัดเก็บภาษี”


พูดภาษาชาวบานก็คือไมตองเสียภาษี
เปนขอยกเวนที่ปฏิบต ั ก
ิ ันเชนนี้มาเปนเวลานานแลว
ไมใชวาเพิง่ จะมาใชเมื่อทานทักษิณมาเปนนายก
บางคนยิ่งหนักไปใหญเลย (พวกควายเหลือง) บอกวา
ทักษิณรับเงินปนผลก็ไมเสียภาษี
ทรัพยของทานนายกทักษิณจํานวน 76,000 ลานบาทที่จะถูกยึด
เปนเงินจากการขายหุน 73,000 ลานบาท สวนอีก 3,000 ลานบาทนัน ้
ผมไมทราบวามาไดอยางไรเพราะขาดการติดตามขาวในบางชวง
ขอกลาวหาของ คตส (ขอ 1)

ภาพดานบนเปนของคุณ Jampoon ที่โพสทไวในหองราชดําเนิน (PANTIP) วันที่ 15 ม.ค. 53


มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 11

ขอแยกเปน 5 ประด็น
1. อัตราคาสัมปทานที่กําหนดขึน ้ ใหม
2. จํานวนผูใ ชบริการโทรศัพทเคลือ่ นที่
3. รายไดจากการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่
4. อัตราการจายเงินปนผล
5. คูแขงขันแทบจะไมมก ี าํ ไร
ขอเท็จจริงและผลการวิเคราะห.
1. อัตราคาสัมปทานทีก
่ ําหนดขึน
้ ใหมในป 2544:
AIS จายรอยละ 20 ของรายได @ DTAC จายรอยละ 18 ของรายได
2. จํานวนผูใ ชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในป 2549 เมื่อเทียบป 2544 :
AIS เพิ่มขึน ้ ประมาณ 5 เทา @@ คายอื่นรวมกันเพิม ่ ขึ้นประมาณ 14 เทา
จะตองมีหนึง่ คายที่มียอดเพิม
่ ขึ้นมากกวา 14 เทา (ดูวิเคราะห 1).
3. รายไดจากการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ @ ขอความในขอกลาวหา
“...บริษัท เอไอเอส นัน
้ ก็พบวามีรายไดจากการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่เพิม

มากขึ้นเรื่อยๆ…”
ผลการวิเคราะห (ดูวิเคราะห 2).
3.1 อัตราการเพิ่มขึน
้ ของรายได (เมื่อเทียบกับปกอน)
AIS อยูในชวงประมาณ 18% – 20% @ DTAC อยูในชวงประมาณ 17% – 18%
อัตราการเพิม
่ ขึ้นของรายได AIS จะต่ํากวา 18% - 20% ถาไดรบ
ั การลดคา
สัมปทานพรอมกับ DTAC (จากการวิเคราะหที่ผานมา)
รายไดของ AIS สูงกวา DTAC ก็ไมใชเรื่องแปลกเพราะมันมีเรื่องของคุณภาพเขา
มาเกี่ยวของดวย
3.2 อัตราการเพิ่มขึน
้ ของรายได (เมื่อเปรียบเทียบรายได ป 2548 กับ ป 2544)
AIS เพิ่มขึ้น 91.18% @ DTAC เพิ่มขึ้น 90.88%
4. อัตราการจายเงินปนผล @ ขอความในขอกลาวหา
“…..และมีอัตราคืนทุนที่งดงามจนประกาศจะจายปนผล 40% ของกําไรสะสมได
ทุกป”(ทีถูกนาจะเปน 40% ของกําไรสุทธิ)
ขอเท็จจริง จะจาย 40% ของกําไรสุทธิไมเห็นจะแปลกตรงไหน เพราะเปนเรื่อง
ของนโยบายดานเงินปนผลที่กําหนดไว เมื่อจายจริงอาจมากกวาหรือนอยกวาก็ได
AIS จาย 40% ในป 2549 บ. ปูนซิเมนตไทย จายเงินปนผลสูงถึง 61% ของกําไร
สุทธิ(ขอมูลนํามาจากรายงานประจําป 2550 ของ บ.ปูนซิเมนตไทย)
5. คูแขงขันแทบจะไมมก
ี ําไร @ ขอความในขอกลาวหา
”..สวนอีกสองบริษัทก็พยายามดิน ้ รนแขงขันจนถึงระดับทีแ
่ ทบจะไมมก
ี ําไร....”
ขอเท็จริง กําไรของ DTAC ป 2544 - 2549 : 1,822 @ 2,082 @ 2,587 @ 4,480
@ 4,938 ลานบาท (ตัวเลขจากงบการเงินที่อยูในเว็บไซตของ ก.ล.ต.)
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 12

6. เมื่อมีการลดคาสัมปทานให AIS เมื่อปลายป 2544 รัฐไดรับประโยชนเพิ่มขึน



ตั้งแตป 2545-2549 รวมเปนเงินประมาณ 52,708 ลานบาท (ดูวิเคราะห 3).
จาก 1- 6 สรุปไดวา ขอเท็จจริงและผลการวิเคราะห
คานกับ ประเด็นที่กลาวหา
ขอกลาวหาของ คตส.จึงเปนเรื่องของการจินตนาการ ขาดเหตุผลรองรับ

การวิเคราะหและขอเท็จจริง.

วิเคราะห 1.
ประเด็นที่ 2 จํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลือ
่ นที่
ขอความในขอกลาวหา “บริษัท เอไอเอส มีผูใชบริการในป 49 ไมนอยกวา 17 ลาน
ราย จากเดิมที่มีผูใชบริการในป 42 เพียง 23,000 ราย”
คําถามก็คือ
1) เอายอดป 42 ไปเทียบกับยอดป 49 ไดอยางไร? เพราะทานทักษิณเปนนายก
เมื่อป 44
2) ทําไมไมเอาผูบริการรายอื่นมาเปรียบเทียบกับ AIS
ขอเท็จจริง
ยอดโทรศัพทเคลื่อนที่ (โดยประมาณ) เฉพาะ AIS คายอืน
่ รวมกัน รวมทุกคาย
ป 2549 (ลานหมายเลข) 19.5 20.5 40.0
ป 2544 (ลานหมายเลข) 3.2 1.4 4.6
ยอดเพิ่มขึน
้ (ลานหมายเลข) 16.3 19.1 35.4
(ยอดป 2549 ขอมูลจาก Annual Report ของ AIS @ ยอดป 2544 ขอมูลจาก
http://shincase.googlepages.com)

เพื่อใหการเปรียบเทียบมีความชัดเจนมากขึน้ ตองคิดยอดเพิ่มขึน
้ เปนเปอรเซ็นต
ยอดโทรศัพทเคลื่อนที่ป 2549 เทียบกับ ป 2544
้ 509% [(16.3 ÷ 3.2) × 100] หรือ ประมาณ 5 เทา
AIS เพิ่มขึน
คายอื่นรวมกันเพิม ้ 1,364% [(19.1 ÷ 1.4) × 100] หรือประมาณ 14 เทา
่ ขึน
คายอืน
่ รวมกันเพิ่มขึ้น 1,364% หรือ 14 เทา วิเคราะหไดวา
ตองมีอยางนอย 1 บริษัทที่มียอดเพิ่มขึน
้ มากกวา 1,364% หรือ 14 เทา
ซึ่งอาจจะเพิ่มขึ้น 1,500% หรือ 2,000% (ไมมีรายละเอียดใหคํานวณ)
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 13

วิเคราะห 2.
ประเด็นที่ 3 รายไดจากการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่
ขอความในขอกลาวหา “บริษัท เอไอเอส นัน ้ ก็พบวามีรายไดจากการใหบริการ
โทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ”
การลดคาสัมปทานมีผลใหทุกคายมือถือไดรบ ั ประโยชนเมือนกันหมด
ดังนั้น ผมจะใชขอมูลรายไดของ AIS และ DTAC มาเปรียบเทียบกัน
เพื่อดูวาระหวาง AIS และ DTAC ใครไดรบั ประโยชนมากกวากัน
รายไดจากการใหบริการ (ลานบาท)
ป 48 ป 47 ป 46 ป 45 ป 44
AIS 74,883 77,709 67,320 54,438 39,170
DTAC 42,048 37,841 30,279 25,157 22,028
ขอมูลนํามาจากงบการเงิน ใน website ของ ก.ล.ต.
จากตัวเลขที่แสดงในตาราง
ถาเปนสนธิตองโวเลยวา พอแมพน ี่ อ
 งครับ
ทักษิณลดคาสัมปทาน รายไดของบริษัทตัวเองมากวาคูแ  ขง
ประมาณเทาตัวทั้ง 5 ปเลย มันเอื้อผลประโยชนใหกิจการของ
นี่แหละครับพอแมพนี่ องครับ คอรัปชั่นเชิงนโยบาย
แลวสาวกก็พยักหนา แลวก็อุทานวา เลวมาก
จะเปรียบเทียบรายไดระหวาง AIS และ DTAC อยางไร??
ขอยกตัวอยางงายๆอยางนี้ก็แลวกัน
นายเต็กซไดรับการขึน้ เงินเดือนจาก 50,000 เปน 51,800
นายลิม
้ ไดรบ
ั การขึ้นเงินเดือนจาก 40,000 เปน 41,600
นายลิม้ เลยโวย ทําไมเงินเดือนจึงขึ้นนอยวานายเต็กซ
นายเต็กซเงินเดือนขึน
้ [(1,800/50,000) x 100] = 3.60%
นายลิม
้ เงินเดือนขึน
้ [(1,600/40,000) x 100] = 4.00%
ตองเปรียบเทียบเงินเดือนปนก
ี้ ับปที่แลว
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 14

จากขอมูลในตารางรายที่ผานมา แสดงการเปรียบเทียบไดดังนี้

รายไดเพิ่มขึ้น (ลดลง) เปนเปอรเซนต เมื่อเทียบกับปกอ


 น
ป 48 vs ป 47 ป 47 vs ป 46 ป 46 vs ป 45 ป 45 vs ป 44
AIS (4) 15 24 39
DTAC 11 25 20 14
จะเห็นไดวา อัตราเปลีย
่ นแปลงในรายได
บางป AIS เพิ่มขึ้นมากกวา DTAC …. บางป AIS เพิ่มขึ้นนอยกวา DTAC
อัตราการเปลี่ยนแปลงป 45 vs ป 44
AIS เพิ่มขึ้น 39% ในขณะที่ DTAC เพิ่มขึน ้ เพียง 14%
ขอมูลแบบนี้แหละ นักวิชาการและคนที่เกลียดทักษิณ
จะนําไปใสรา ยทักษิณวา เอื้อประโยชนใหบริษัทของตนเอง
โดยเอาการเปรียบเทียบ ป 45 vs ป 44 มาใชเปนหลักฐาน
ในการกลาวหานายกทักษิณ
ถามวานักวิชาการหรือคนที่เกลียดทักษิณบิดเบือนขอมูลหรือไม
คําตอบก็คอื เปนขอมูลจริง แตเปนการเปดเผยขอมูลไมครบถวน
ไมเปนไปตามหลักการที่นักบัญชียด ึ ถือเปนหลักในการปฏิบัติ ที่เรียกวา
หลักการเปดเผยขอมูลอยางเพียงพอ (Full Disclosure Principle)
การแกไขสัญญากับ TOT ในการจายสวนแบงรายได :
DTAC ไดรบ ั การแกไขสัญญาในวันที่ 1 เมษายน 2544
AIS ไดรับการแกไขสัญญาในวันที่ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2544
ขอมูลสวนนี้แหละครับที่มีผลทําให
รายได AIS เพิ่มขึน
้ ถึง 39% แต DTAC เพิ่มขึน
้ เพียง 14%
การวิเคราะห สาเหตุทท
ี่ ําให รายได AIS ในป 45 เพิ่มขึน
้ จากป 44 ถึง 39%
ในขณะที่ DTAC เพิ่มขึน้ เพียง 14%
การแกไขสัญญาเรือ ่ งการจายสวนแบงรายไดให TOT
DTAC ไดรบ ั การแกไขสัญญากอน AIS กลาวคือ
วันที่ที่ไดรบ
ั การแกไขสัญญา: DTAC 1 เม.ย. 2544 / AIS 15 พ.ย. 2544
การแกไขสัญญาลดการจายสวนแบงรายไดฯ นําไปสูการลดราคา
และนําไปสูก  ารเพิ่มขึน
้ ของรายได ซึ่งในป 2544 DTAC จะไดรบ
ั ประโยชนสวนนี้
เปนเวลา 9 เดือน ซึ่งจะมีผลใหมีรายไดเพิ่มขึ้นมากเมื่อเทียบกับป 2543
แต AIS ไดรับประโยชนเพียง 1.5 เดือน มีผลใหรายไดเพิ่มขึ้นนอยเมื่อเทียบ
กับป 2543
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 15

ดังนั้น เมื่อนําเอารายไดป 2545 มาเทียบกับป 2544


ทําใหอัตราการเพิ่มขึน ้ ของรายไดเพิ่มขึ้นสูงมาก
เพราะเราใชยอดรายไดของป 2544 เปนตัวหารเพื่อคํานวณเปอรเซนต
ซึ่งเปนเรื่องที่เขาใจยากสําหรับผูท
 ี่ไมสันทัดวิชาคํานวณ
เพื่อใหเขาใจไดงาย ขอสมมติดังนี้ก็แลวกัน
ถา AIS ไดรับการแกไขสัญญาในวันเดียวกันกับ DTAC คือ 1 เม.ย. 2544
รายไดป 2544 ของ AIS จะตองมากกวา 39,170 ลานบาท
สมมติรายไดป 2544 เทากับ 47,000 ลานบาท
รายไดป 2545 เพิ่มขึ้น (เมื่อเทียบกับป 2544) เทากับ 16%
[(54,438 – 47,000) ÷ 47,000 x 100]

ขอมูลจากตารางที่ผานมา : ตั้งแตป 2544 – 2548 รายไดเพิม่ ขึ้น (ลดลง) เปน


เปอรเซนตเมื่อเทียบกับปกอน
AIS : - 4% , 15% , 24% , 39%
DTAC : 14% , 20% , 25% , 11%
ถามองในภาพรวม (ป 2544 – 2548) รายไดแตละบริษท ั เพิ่มขึ้นจากปกอนกี่
เปอรเซนต?
เมื่อใชคาเฉลี่ย (รวม 4 ยอด แลวหารดวย 4)
รายไดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปกอน : AIS 19% , DTAC 18%
เมื่อใชคามัธยฐาน (คาตรงกลาง)
รายไดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปกอน : AIS 19.5% , DTAC 17.0%
เมื่อนําหลักทางวิชาการเงินมาประยุกตใช (ไมขออธิบาย เพราะเปนเรือ
่ งที่ซับซอน)
รายไดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปกอน : AIS 17.59% , DTAC 17.54%
ถาเปรียบเทียบรายได ป 2548 กับ ป 2544
รายไดป 2548 เพิ่มขึ้นจากป 2544 : AIS 91.18% , DTAC 90.88%
ขอสรุปเรื่องรายได
การวิเคราะหตัวเลขที่ผา นมา จะเห็นไดวาอัตราการเพิ่มขึน
้ ของรายไดของ AIS
อยูในระดับใกลเคียงกับ DTAC อยางไรก็ตาม ถาอัตราการเพิ่มขึน ้ ของรายได
ของ AIS สูงกวา DTAC ก็ไมใชเรือ
่ งแปลก
เพราะมันมีเรื่องของคุณภาพเขามาเกี่ยวของดวย
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 16

วิเคราะห 3.
ในป 2544 ไดมีการแกไขสัญญาเพื่อลดอัตราการจายคาสัมปทาน โดยให DTAC
จายในอัตรา 18% และ AIS จายในอัตรา 20% ของรายได (แบบ Prepaid)
นอกจากจะตองจายคาสัมปทานใหแก ทีโอที และ กสท แลว ยังตองจายภาษี
สรรพสามิตใหแกกรมสรรพสามิต และจายภาษีเงินไดใหกรมสรรพากรอีกดวย
สวนที่ AIS จายแสดงตามตาราง
ผลประโยชนที่ AIS จายใหแกหนวยงานของรัฐ (ลานบาท)
ป 44 ป 45 ป 46 ป 47 ป 48 ป 49 รวม
คาสัมปทานและภาษีสรรพสามิต 9,809 15,255 17,726 19,970 19,215 18,754 100,729
ภาษีเงินไดนิติบุคคล 6,238 7,816 7,529 10,601 8,618 7,460 48,262
รวม 16,047 23,071 25,255 30,571 27,833 26,214 148,991
ขอมูลจากงบการเงินที่แสดงใน website ของ ก.ล.ต.
การลดคาสัมปทานนําไปสูการลดราคาคาบริการ ลูกคาใชบริการมากขึ้น รายไดของ
บริษัทเพิ่มขึ้น เปนผลใหรัฐไดรับผลประโยชนเพิ่มขึ้นในรูปของ คาสัมปทาน ภาษี
สรรพสามิต และ ภาษีเงินไดนต ิ ิบค
ุ คล
จะเห็นไดวา แมจะมีการลดอัตราการจายคาสัมปทานในป 44 จาก 25% เหลือ
20% ก็ตาม แตผลประโยชนที่หนวยงานของรัฐไดรบ ั จาก AIS เพิ่มขึ้นทุกป
จากตารางดานบนนํามาคํานวณหาวา ผลประโยชนที่หนวยงานของรัฐไดรบ ั จาก
AIS เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับป 44 (เปนปที่ลดอัตราการจายคาสัมปทาน) โดยนําเอา
ตัวเลขในป 44 ไปหักจากตัวเลขของป 45 , 46 , 47, 48 , 49 จะไดผลตามตาราง
ดานลาง
AIS จายใหหนวยงานของรัฐเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับป 44 (ลานบาท)
ป 45 ป 46 ป 47 ป 48 ป 49 รวม
คาสัมปทานและภาษีสรรพสามิต 5,446 7,917 10,161 9,406 8,945 41,875
ภาษีเงินไดนิติบุคคล 1,578 1,290 4,363 2,380 1,222 10,833
รวมทั้งหมด 7,024 9,207 14,524 11,786 10,167 52,708

ป 44 ไดนายกชื่อทักษิณ
อัศวินดาวเทียมผูเกรียงไกร
ชําระหนี้ไอเอ็มเอ็ฟอยางวองไว
ชาติพนภัยประชาไทยเริ่มฟน  ตัว
ผมมิไดมีสวนเกี่ยวของกับ AIS และ DTAC
ไมไดเชียร AIS (เปนเพียงแคลกู คาคนหนึ่งเทานั้น) และ ไมไดมีอคติตอ DTAC
แตวิเคราะหขอมูลตามขอเท็จจริงในฐานะนักบัญชีผูหนึ่งเทานั้น
เพราะความเห็นสวนใหญที่นําสูส  ังคม มักจะเปนความเห็นของนักกฎหมาย
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 17

กอนป 2544 จําไดไหม??


ราคาโทรศัพทเคลื่อนที่เครื่องละเทาใด??
ถาฐานะไมดีไมมโี อกาสไดใชโทรศัพทเคลือ ่ นที่
ราคาโทรศัพทเคลื่อนที่ไมนาจะต่าํ กวา 50,000 บาท
คาโทร.โทรศัพทเคลือ ่ นที่ตองเสียในอัตราที่แพงมาก
คนจนไมมีสท ิ ธิ์ไดใชหลอกครับ
การติดตั้งโทรศัพทพื้นฐาน (โทรศัพทบาน) หมายเลขโทรศัทพ
มีไมพอตอความตองการ และราคาก็แพงมาก องคการโทรศัพทมน ั ขูดเลือดซิบ
คาโทรศัพททางไกล (โทรศัพทบา น) ถาโทรจากกรุงเทพไปนราธิวาส
ตองจายนาทีละ 18 บาท (ถาจําไมผิด)
ปจจุบน
ั ราคาโทรศัพทเคลื่อนที่ถูกมาก
อัตราคาโทร.ไมวาจะเปนโทรศัพทเคลื่อนทีห
่ รือโทรศัพทบาน
ถูกมาก แขงกันลดราคา แขงการเสนอโปรโมชั่นใหมๆ
คนรากหญา คนยากจน สามารถที่จะซื้อโทรศัพทเคลื่อนที่ใชได
ใครกันเลา?? ที่เปนผูหยิบยื่นโอกาสให คนยากจน คนรากหญา
คําตอบก็คอื เทวดาตัวจริงเปนผูหยิบยื่นโอกาสใหคนยากจน
เทวดาตัวจริงก็คือ ทักษิณ ชินวัตร
คนเขารูกน
ั ไปทั่วแลววา ใครคือเทวดาตัวจริง ใครคือเทวดาตัวปลอม
ตองพูดแบบนี้แหละครับ เทวดาตัวปลอมมันจะไดกระอักเลือดตาย

ขอกลาวหาของคตส. (ขอ 3)

ผมขอแยกออกเปน 2 ประเด็น
1. AIS ยึดครองตลาดธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไดโดยเด็ดขาดแตผูเดียว
2. ผูประกอบการรายใหมกพ
็ บกําแพงภาษีสรรพสามิต 10% มาขวางกั้นทําใหไม
สามารถเขามาแขงกันโดยเต็มที่ได
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 18

กอนที่ผมจะแสดงความเห็นในแตละประเด็น ขอลําดับเหตุการณที่เกีย
่ วของกอน

ป 2544 มีการแกไขสัญญาเพื่อลดคาสัมปทาน โดย DTAC ตองจาย (ใหแก


กสท.) ในอัตรารอยละ 18 ของรายได สวน AIS ตองจาย (ใหแก ทศท.) ในอัตรา
รอยละ 20 ของรายได
ป 2545 องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ทศท) แปลงสภาพเปนบริษัท ทีโอที
จํากัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจหลักในดานโทรคมนาคมทุกประเภท
เมื่อ ทศท แปลงสภาพเปนบริษท ั มหาชนแลว และยังคงไดรบ ั คาสัมปทาน (สวน
แบงรายได) จากผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ตอไป
ผลการดําเนินงานของทีโอทีที่รายงานออกมา จะเปนเสมือนภาพลวงตา (แมวาการ
ดําเนินงานไมมีประสิทธิภาพ แตกย็ งั มีกําไรมาก) โดยทีส ่ วนหนึ่งของกําไรมาจาก
รายไดคาสัมปทานที่ไดรับ เปนรายไดทไ ี่ มมต
ี นทุนเกิดขึน
้ เลย (พูดภาษาชาวบาน
งายๆวา “ไมตองลงทุนลงแรงอะไรเลย นอนอยูเฉยๆก็ไดรับเงิน”)
แลวทีโอทีก็นําเงินคาสัมปทานทีไ ่ ดรับมาเปนเงินทุนในการทําธุรกิจแขงขันกับ
บริษัทอื่นๆที่ทําธุรกิจดานสื่อสารโทรคมนาคมเหมือนกับตน ทีโอทีไมควรเปนผู
กํากับดูแลกิจการโทรคมนาคมอีกตอไป ควรเปนผูประกอบการเพียงอยางเดียว
รัฐบาลของทานนายกทักษิณจึงไดออก พรก แกไขเพิ่มเติม พรบ พิกัดอัตราภาษี
สรรพสามิตโดยใหเก็บภาษีสรรพสามิตจากกิจการโทรศัพทเคลื่อน 10% ของ
รายได และใหนําเอาภาษีสรรพสามิตไปหักจากคาสัมปทานที่คายมือถือตางๆตอง
จายใหกบ
ั ทีโอที หรือ กสท
พูดงายๆก็คอื เดิมคายมือถือตางๆจายคาสัมปทานทั้งหมดใหกับ ทีโอที หรือ กสท
เปลีย
่ นเปน แบงคาสัมปทานออกเปน 2 กอน (ยอดแตละกอนไมตางกันมากนัก)
กอนหนึ่งใหกับ ทีโอที หรือ กสท อีกกอนหนึง่ จายใหกรมสรรพสามิต กอนที่จายให
กรมสรรพสามิตตองจายเปนรายเดือน
ไมวาจะแปลงคาสัมปทานเปนภาษีสรรพสามิตหรือไมกต
็ าม คายมือถือตางๆยังคง
ตองจายคาสัมปทานเทาเดิม
อัตราคาสัมปทานที่ตองจาย : ระบบเติมเงิน หรือ Prepaid 20% ของรายได
ระบบชําระคาบริการหลังการใช หรือ Postpaid 25% ของรายได
เมื่อนําเอาภาษีสรรพสามิตมาใช เมื่อถึงสิน้ เดือนก็จะจาย 10 % ของรายไดใน
เดือนนั้นๆ เปนประจําทุกเดือน และเมื่อถึงตอนสิ้นป ก็จะมาคํานวณวา 20% ของ
รายไดแบบเติมเงินเปนเทาใด แลวนําไปบวกกับ 25% ของรายไดแบบชําระ
คาบริการหลังการใช แลวหักดวยภาษีสรรพสามิตที่จายไปแลวทั้งป ผลลัพธทีไดก็
คือยอดคาสัมปทานทีต ่ อ
 งจายใหทีโอที หรือ กสท ตอนสิ้นป
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 19

หรืออาจจะคิดแบบนี้กไ ็ ด คือ ระบบเติมเงินเสียภาษีสรรพสามิตไปแลว 10% ดังนั้น


ตองเสียเปนคาสัมปทานอีก 10% ในทํานองเดียวกัน ระบบชําระคาบริการหลังการ
ใชตองเสียเปนคาสัมปทานอีก 15% (อันนี้เปนวิธีคด ิ นะครับ เพราะจริงๆแลวภาษี
สรรพสามิตตองจายคือ 10.1% ถาจําไมผด ิ และจําไมไดวาอีก 0.1% นั้นเปนเก็บ
คาอะไร เพราะฉะนั้น เวลาคิดคาสัมปทานทีต ่ อ
 งจายตามวิธีที่กลาวขางตน)
เพื่อใหเขาใจ ขอสมมติแบบนี้ก็แลวกัน รายไดระบบเติมเงินทั้งปเทากับ 4,000 ลาน
บาท และ ระบบชําระคาบริการหลังการใชเทากับ 2,000 ลานบาท
คาสัมปทานที่ตองจายใหแกทีโอทีหรือกสท (ถาไมมีภาษีสรรพสามิต) :
แบบเติมเงิน หรือ Prepaid (4,000 x 20%) 800 ลานบาท
แบบชําระภายหลัง หรือ Postpaid (2,000 x 25%) 500 ลานบาท
รวมคาสัมปทานทีต
่ องจายเมือ
่ สิ้นป 1,300 ลานบาท
เมื่อนําเอาภาษีสรรพสามิตมาใช (เพื่อใหงายตอการเขาใจ ใชอัตรา 10% แทน
10.1% ก็แลวกัน) ตองจายภาษีสรรพสามิตเปนรายเดือน โดยยอดทีจ ่ ายทั้งปจะ
เทากับ 600 ลานบาท [(4,000 + 2,000) x 10%] สิ้นปตอ  งจายคาสัมปทานให
ทีโอที หรือ กสท เทากับ 700 ลานบาท (1,300 – 600)
สรุป จายใหกรมสรรพสามิตเดือนละ 50 ลานบาท (สมมติวารายไดเทากันทุกเดือน)
สิ้นปจายใหทีโอทีหรือกสทอีก 700 ลานบาท รวมจายทั้งหมด 1,300 ลานบาท
ไมวาจะมีการแปลงคาสัมปทานหรือไมก็ตามบริษัทมือถือยังคงจายเทาเดิม
ผูที่เสียประโยชนจากการแปลงคาสัมปทานก็คือ ทีโอที และ กสท ที่เปนปลิงดูด
เลือดคนไทยมานาน ดูดเลือดไดนอ  ยลง
สําหรับความเห็นของผม นาจะแปลงคาสัมปทานเปนภาษีสรรพสามิตทั้งรอย
เปอรเซนต คือไมตองจายใหกับ ทีโอทีและกสท.เลย แตนาํ ไปจายเปนภาษี
สรรพสามิตแทน ซึ่งรัฐบาลสามารถนํารายได (ภาษี) สวนนี้ไปใชจายไดทุกเดือน
เฉพาะของ AIS บริษัทเดียว กรมสรรพสามิตจะไดรับประมาณเดือนละไมต่ํากวา
1,500 ลานบาท
เพราะตัง้ แตป 2546 – 2551 AIS จายผลตอบแทนรายป (คาสัมปทาน) ใหแก ทีโอ
ที และ กสทและภาษีสรรพสามิตรวมเปนเงินทั้งสิ้น กวาหนึ่งแสนลานบาท (ไมรวม
ภาษีเงินไดนิตบ ิ ุคคล)
เปนที่นาเสียดายอยางยิ่งรัฐบาลขิงแกไดยกเลิกภาษีสรรพสามิตสวนนี้ไปแลว ภาษี
ที่กรมสรรพสามิตเคยไดรับจาก AIS ประมาณเดือนละ 700 ลานบาท ไดกลับไปเขา
ที่ ทีโอที และ กสท เชนเดิม รัฐบาลขิงแกชอบเลีย ้ งปลิงดูดเลือด
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 20

รายไดของโอที และ กสท แยกออกไดเปน 2 สวน คือ รายไดคาสัมปทาน


โทรศัพทเคลื่อนที่ และ รายไดที่เกิดขึ้นจากการประกอบธุรกิจดวยตัวเอง
เงินคาสัมปทานที่ทีโอทีและกสท.ไดรับนั้น
ไมไดจายกลับคืนมาใหกระทรวงการคลังทั้งหมด
รายไดคาสัมปทานที่ ทีโอที และ กสท ไดรบ ั คิดเปน 25% – 30% ของรายได
ทั้งหมด ซึ่งเมื่อหักคาใชจายแลว ทีโอทีและกสท.จึงจะจัดสรรกําไรใหกับ
กระทรวงการคลังในรูปของเงินปนผล
ตั้งแตป 2546 – 2551 เฉพาะ AIS บริษัทเดียว จายคาสัมปทานให ทีโอที และ
กสท รวมเปนเงินประมาณ 84,000 ลานบาท และจายภาษีสรรพสามิต 31,463 ลาน
บาท (ป 2546 – 2549)
คําถามก็คือ รายไดคาสัมปทานที่ทโี อที และ กสท ไดรบ
ั 84,000 ลานบาทนี้
ทีโอที และ กสท นําไปจายใหกระทรวงการคลังเทาใด

เรื่องนารูในป 2551 เกี่ยวกับปลิงดูดเลือด


ทีโอทีเรียกรองตออนุญาโตตุลาการให AIS ชําระเงินสวนแบงรายได (คาสัมปทาน)
เพิ่มเติมอีกจํานวน 31,463 ลานบาทพรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 1.25 ตอเดือน
นับตั้งแตวันที่ 10 มกราคม 2550 อันเปนวันผิดนัดจนกวาจะชําระเสร็จสิ้น
กสท เรียกรองให DTAC ชําระเงินสวนแบงรายได (คาสัมปทาน) เพิม ่ เติมอีก
จํานวน 16,887 ลานบาทพรอมทัง้ เบี้ยปรับ รวมเปนเงินทั้งหมดประมาณ 21,982
ลานบาท
โดยอางวา AIS และ DTAC ชําระคาสัมปทานไมครบถวน ซึ่งจํานวนเงินที่เรียกรอง
ให AIS และ DTAC ชําระเพิ่ม (31,463 ลานบาท และ 16,887 ลานบาท) ก็คือ
จํานวนเดียวกันกับภาษีสรรพสามิตที่ไดจายเมื่อป 2546 – 2549
ขอมูลจากหมายเหตุประกอบงบการเงินของ AIS และ DTAC

ดูดเลือดเกงจริงๆ
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 21

กลับมาเขาประเด็นในขอกลาวหาขอ 3 ของคตส.
1. AIS ยึดครองตลาดธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไดโดยเด็ดขาดแตผูเดียว
ขอเท็จจริง (จากรายงานประจําป 2549 ของ AIS)

สวนแบงการตลาดโทรศัพทเคลือ
่ นที่ป 2548 – 2549
คาย 2548 2549
AIS 16.4 ลานคน (54%) 19.5 ลานคน (49%)
DTAC 8.7 ลานคน (29%) 12.2 ลานคน (30.5%)
True Move 4.5 ลานคน (15%) 7.6 ลานคน (19%)
Others 0.7 ลานคน (2%) 0.7 ลานคน (1.5%)
อัตราผูใชบริการตอจํานวนประชากรทั้งประเทศ ป 2548 เทากับ 48% และ ป 2549 เทากับ 62%

ดูสวนแบงการตลาดมือถือ แลวสรุปความเห็นเองแลวกัน เพราะมันชัดเจน


ทานจะดุดา ค.ต.ส. อยางไร เชิญตามสบายครับ
2. ผูประกอบการรายใหมก็พบกําแพงภาษีสรรพสามิต 10% มาขวางกั้นทําใหไม
สามารถเขามาแขงกันโดยเต็มที่ได
ไมมีภาษีสรรพสามิต 10% ผูประกอบการรายใหมก็ตองจาย 20% ของรายได
(แบบเติมเงิน หรือ Prepaid) และ 25% ของรายได (แบบชําระคาบริการหลังการ
ใช หรือ Postpaid)
มีภาษีสรรพสามิต 10% ผูประกอบการรายใหมก็ตองจาย 10% ของรายได (แบบ
เติมเงิน หรือ Prepaid) และ 15% ของรายได (แบบชําระคาบริการหลังการใช หรือ
Postpaid)
ไมเห็นวามันจะตางกันเลย
คตส คิดไดงัยเนี่ย คิดไมเหมือนคนเลย

ผูที่ขวางกั้นหรือกีดกันผูประกอบการรายใหมนาจะเปนปลิง 2 ตัวมากกวา

น.พ.สุรพงษ สืบวงศลี อดีตรัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ


สื่อสาร (ไอซีที) เคยพูดถึงเรื่องนี้ไววา
ตัวทานไดมโี อกาสพบผูประกอบการตางประเทศและคนไทยที่ประสงคประกอบ
กิจการโทรคมนาคมมากมาย ไมมีใครพูดเลยวา การที่มีภาษีสรรพามิตจะทําใหเขา
ลังเลทีจ
่ ะมาประกอบกิจการโทรคมนาคมในไทย ทุกคนบอกวาเมื่อไหรที่ กทช.เปด
โอกาสใหสามารถขอใบอนุญาตได เขาจะดําเนินการทันที
และทําใหมีการบริการที่มีคุณภาพมากขึ้นและราคาถูกลง ซึ่งวันนี้ก็ไดพิสูจนแลววา
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 22

รายใหมที่ใหบริการโทรศัพทระหวางประเทศ เริ่มเห็นแลววาคาบริการลดลงอยาง
มากมาย

เรามาดูกันวา ทีโอทีรับรายไดคาสัมปทานแลวนําไปจายใหกระทรวงการคลังเทาใด ?
ขอมูลจากรายงานประจําปของทีโอที (จํานวนเงิน : ลานบาท)
ป 46 ป 47 ป 48 ป 49 ป 50 ป 51 รวม
รายไดทั้งหมด * 77,068 76,905 76,019 75,765 71,187 72,161 449,104
กําไรกอนภาษี 17,525 17,010 10,821 11,308 8,911 8,231 73,807
รายไดคาสัมปทาน 10,051 10,846 9,286 9,650 17,365 19,463 76,661
จายเงินนําสงคลัง 4,000 - - - - - 4,000
จายปนผล 1,500 4,500 10,166 5,508 1,002 5,511 28,187
จายภาษี (นิติบุคคล) 6,260 5,487 4,130 4,327 2,678 2,628 25,512
รวมจายใหรัฐฯ 11,353 10,188 15,530 9,317 4,676 8,121 59,184
* รวมรายไดคาสัมปทาน
หมายเหตุ ป 50 – 51 รัฐบาลขิงแกไดยกเลิกภาษีสรรพสามิตสําหรับมือถือ
รายไดของโอทีแยกออกไดเปน 2 สวน คือ
1. รายไดคาสัมปทานโทรศัพทเคลื่อนที่ (เก็บคาตง)
2. รายไดที่เกิดขึ้นจากการประกอบธุรกิจดวยตัวเอง
รายไดที่เกิดจากการประกอบธุรกิจดวยตัวเองรวมทั้ง 6 ป 372,443 ลานบาท
(449,104 – 76,661) ถาถามวาเงินที่ทีโอทีจายกลับไปใหรัฐ (กระทรวงการครัง)
จํานวน 59,184 ลานบาท เปนเงินจายจากรายไดที่เกิดขึ้นจากการประกอบธุรกิจดวย
ตัวเองเทาใด? หรือ เปนเงินจายจากรายไดคาสัมปทานเทาใด?
ตองใชวิธีจัดสรรปนสวนตามเกณฑตางๆที่เห็นวาเหมาะสม ฉะนั้นจะใชวิธีแบงตาม
สัดสวนของรายไดก็แลวกัน ก็คือ รายไดที่เกิดขึ้นดวยตัวเอง กับ รายไดคาตง
(372,443 : 76,661 = 83 : 17 โดยประมาณ) หมายความวา จายคืนให
กระทรวงการคลัง 100 บาท เปนเงินที่ทีโอทีหาไดเอง 83 บาท และ นําเอารายไดคา
สัมปทานมาจาย 17 บาท ซึ่งก็คือ 17% ของเงินที่จายใหคลังเปนเงินจากคาสัมปทาน

ดังนั้นยอดที่จายกระทรวงการคลัง 59,184 ลานบาท เปนเงินที่จายจากรายไดคา


สัมปทาน 10,061 ลานบาท (59,184 x 17%) จากรายไดคาสัมปทานที่ทีโอทีไดรับ
ทั้งหมด 76,661 ลานบาท (ขอย้ําวา อันนี้เปนวิธีการคิดนะครับ) การวิเคราะหแบบนี้ถือ
วาเปนมองในแงรายเกินไป (การจัดสรรปนสวนเปนวิธีที่นักบัญชีเขานิยมใชกัน)
จริงๆแลวทีโอทีนําเอารายไดคาสัมปทานที่ไดรับ ไปลงทุนในโครงการตางๆ เมื่อมี
รายไดก็นําสงคลัง
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 23

ถาบริหารงานดีมีประสิทธิภาพก็ไมเปนไร ในอดีตประชาชนเคยเจ็บช้ํากับการขอ
หมายเลขโทรศัพทบาน คาโทรศัพททางไกลที่แสนจะแพงมหาโหด โทรจากกรุงเทพ
ไปเชียงใหมนาทีละ 18 บาท

ทีนี้มามองในแงดีบาง (ตอนนี้เปลี่ยนใจไปสงสารปลิงแลว) รายไดที่เกิดขึ้นจากการ


ประกอบธุรกิจของทีโอทีเอง (เงินที่หามาไดเอง ไมใชคาตง) ไมตองสงคืนคลัง
เก็บเอาไวเลี้ยงตัวเองใหธุรกิจอยูรอดและเติบโต สวนเงินที่ไดรับจากคาสัมปทานจะ
นําไปจายเปนคาภาษีเงินไดนิติบุคคล เงินปนผล คิดแบบนี้ (เอาใจชวยทีโอที) ทีโอที
ก็ยังจายใหคลังนอยกวาที่ไดรับคาสัมปทานมาเปนเงิน 17,477 ลานบาท (76,661 –
59,184) (เปนยอดรวมทั้ง 6 ป)

กําไรกอนภาษีจะเปนเทาใด? ถายกเลิกการจายคาสัมปทานใหแกทีโอที แลวนําไปจาย


ใหกับรัฐบาลโดยตรง
เมื่อรายไดคาสัมปทานหายไปจํานวนเทาใด กําไรกอนภาษีก็จะลงไปจํานวนเทานั้น
ดวย นั่นก็คือ กําไรกอนภาษี (เมื่อไมมีรายไดคาสัมปทาน) เทากับ กําไรกอนภาษี หัก
ดวย รายไดคาสัมปทาน ผลที่ไดก็คือ กําไร (ขาดทุน) กอนหักภาษี

ขอมูลจากรายงานประจําปของทีโอที (จํานวนเงิน : ลานบาท)


ป 46 ป 47 ป 48 ป 49 ป 50 ป 51 รวม
กําไรกอนภาษี 17,525 17,010 10,821 11,308 8,911 8,231 73,807
รายไดคาสัมปทาน 10,051 10,846 9,286 9,650 17,365 19,463 76,661
กําไร (ขาดทุน) ฯ 7,474 6,164 1,535 1,658 (8,454) (11,232) (2,854)
ผลการดําเนินงานรวมทั้ง 6 ป จะแสดงผลขาดทุนฯ 2,854 ลานบาท (ขอมูลในชอง
รวม: กําไรกอนภาษี 73,807 หักดวย รายไดคาสัมปทาน 76,661)

อยาลืมนะครับ คาสัมปทานที่ทีโอที หรือ กสทไดรับ ก็คือ เงินที่ไปจากพวกเราที่


ใชมือถือ พวกเราจะจัดการเรื่องนี้อยางไรดี

ขอสังเกตตั้งแตป 50 – 51 ซึ่งเปนชวงที่ยกเลิกใชภาษีสรรพสามิต 10% ทีโอทีไดรับ


คาสัมปทานเต็มจํานวน ทีโอทีจะขาดทุนกอนภาษีเมื่อหักรายไดคาสัมปทานออกไป
แตในป 46 – 49 ซึ่งเปนชวงที่ใชภาษีสรรพสามิต 10% ทีโอทีไดรับคาสัมปทาน
ประมาณครึ่งเดียว แตจะมีกําไรฯ (เมื่อหักรายไดคาสัมปทานออกไป)

นาแปลกเหลือเกิน???? ไมรูจะใหความเห็นอยางไรดี

ปญหาเรื่องการจายเงินปนผลจะเกิดขึ้นทันที ถามีการกระจายหุนของทีโอทีใหแก
บุคคลภายนอก (ปจจุบันกระทรวงการคลังถือหุนในทีโอที 100%) เพราะคาสัมปทานที่
ไดรับจะตกไปสูบุคคลภายนอกสวนหนึ่ง และกลับเขากระทรวงการคลังอีกสวนหนึ่ง

ผมยังยืนยันความเห็นเดิมที่ใหไว คือ แปลงคาสัมปทานทั้งรอยเปอรเซนตเปนภาษี


สรรพสามิต เงินคาสัปทานแตละปสามารถนําไปซื้อโนตบุคแจกนักเรียนเขาประถมหนึ่ง
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 24

ทุกคน (ทั้งประเทศ) ซึ่งนายกทักษิณเคยกําหนดเปนนโยบายของพรรคไทยรักไทย


เมื่อตอนเลือกตั้งในป 49 (ถาจําไมผิด) ทานบอกวาติดตอ MIT แลว ราคาเครื่องละ
ประมาณ 4,000 บาท เด็กที่จะเขาเรียนประถมหนึ่งมีประมาณ 1 ลานคน ในโนตบุคจะ
บรรจุบทเรียนวิชาตางๆ เด็กนักเรียนจะไดไมตองสะพายกระเปาใบโต ขางในเต็มไป
ดวยหนังสือที่แสนจะหนัก นาสงสารเด็ก ถือเปนการลงทุนในทรัพยกรมนุษยท่ีไมแพง
เลยปละ 4,000 ลานบาท ความใฝฝนที่จะทําใหประเทศไทยเปนองคแหงการเรียนรู
(Learning Organization) เริ่มจะมองเห็นแลว แตนาเสียจริงๆที่โครงการดีเชนนี้ไมมี
โอกาสเกิดขึ้น โดนคนเลวมาปลนประชาธิปไตยเสียกอน

ควรเลิกการจายคาสัมปทานใหแกทีโอที เชน การแปลงคาสัมปทานทั้งรอยเปอรเซนต


เปนภาษีสรรพสามิต หรือจะเรียกวาอะไรก็แลวแต แตไมควรจายใหแกทีโอทีหรือกสท
เด็ดขาด เพราะทีโอทีเปนผูดําเนินการธุรกิจดานสื่อสาร ไมควรนําเอาคาสัมปทานที่ได
รับมาจากผูประกอบการรายอื่น มาใชเปนเงินทุนในการแขงขันกับผูประกอบการสื่อสาร
รายอื่น การนําเอารายไดคาสัมปทานมาเปนรายไดทําให ผลการดําเนินงานที่ออกมา
เปนเสมือนภาพลวงตา ดังที่ทานไดเห็นจากตารางที่ผานมา

****************************

ผมไดเขาไปอานกระทู P8841085 ที่คุณ Jampoon โพสทไวเมื่อวันที่ 3 ก.พ.


และไดตามเขาไปดูบทความของคุณสฤณี อาชวานันทกุล ซึ่งมีขอความบางสวน
ดังนี้
อยางไรก็ตาม ถาหากศาลพิพากษาในกรณีที่ 1 วา การออกพระราชกําหนด 2 ฉบับ
ที่ใหเก็บ “ภาษีสรรพสามิตโทรคมนาคม” นั้นชอบดวยกฏหมาย แตมติคณะรัฐมนตรี
วันที่ 11 ธันวาคม 2546 เรื่องการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตจากกิจการโทรคมนาคม
(ที่ใหคูสญ
ั ญาภาคเอกชนมีสิทธินาํ เงินคาภาษีดังกลาวมาหักออกจากสวนแบง
รายไดทต
ี่ องจายตามสัญญาสัมปทาน) นัน
้ ไมชอบดวยกฎหมาย ในกรณีนั้น
“ประโยชนสว นเกิน” กอนหักภาษีของเอไอเอสก็จะเทากับมูลคาความเสียหายตอ
บมจ. ทีโอที คือ 30,667 ลานบาท

สวนหนึ่งทีผ
่ มสรุปความเห็นสงไปใหคุณ Jampoon นําไปเผยแพร

เรื่องนารูในป 2551 เกี่ยวกับปลิงดูดเลือด


ทีโอทีเรียกรองตออนุญาโตตุลาการให AIS ชําระเงินสวนแบงรายได (คาสัมปทาน)
เพิ่มเติมอีกจํานวน 31,463 ลานบาทพรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 1.25 ตอเดือน
นับตั้งแตวันที่ 10 มกราคม 2550 อันเปนวันผิดนัดจนกวาจะชําระเสร็จสิ้น
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 25

โดยอางวา ชําระคาสัมปทานไมครบถวน ซึ่งจํานวนเงินที่เรียกรอง


ให AIS ชําระเพิ่ม 31,463 ลานบาท ก็คือจํานวนเดียวกันกับภาษีสรรพสามิตทีไ
่ ด
จายเมื่อป 2546 – 2549
(ขอมูลจากหมายเหตุประกอบงบการเงินของ AIS)

ผมอานความเห็นของคุณสฤณี อาชวานันทกุล อยางคราวๆ


เขาใจวาตัวเลขที่ยกขึ้นมาแสดงนั้นสวนใหญนาํ มาจาก คตส.
จํานวน 30,667 ลานบาทในความเห็นของคุณสฤณี และจํานวนที่ทโี อทีเรียกรอง
ให AIS ชําระเพิ่มจํานวน 31,463 ลานบาท สันนิษฐานวานาเปนจํานวนเดียวกัน
แตตัวเลขไมเทากันไมใชประเด็นสําคัญ แตประเด็นที่สําคัญคือประเด็นนี้ครับ
การออกพระราชกําหนด 2 ฉบับทีใ่ หเก็บ “ภาษีสรรพสามิตโทรคมนาคม” นั้นชอบ
ดวยกฏหมาย แตมติคณะรัฐมนตรีวันที่ 11 ธันวาคม 2546 เรื่องการจัดเก็บภาษี
สรรพสามิตจากกิจการโทรคมนาคม (ที่ใหคส
ู ญ
ั ญาภาคเอกชนมีสิทธินําเงินคาภาษี
ดังกลาวมาหักออกจากสวนแบงรายไดทต
ี่ องจายตามสัญญาสัมปทาน) นัน
้ ไมชอบ
ดวยกฎหมาย
เมื่อใหเรียกเก็บภาษีสรรพสามิต 10% แลว ไมมีการออกมติคณะรัฐมนตรี ใหนําเอา
ภาษีสรรพสามิตมาหักออกจากสวนแบงรายได (คาสัมปทานที่ตองจายใหทีโอที) ก็
หมายความวา คายมือถือตางๆตองจายคาสัมปทาน 20% และ 25% และยังตอง
จายภาษีสรรพสามิตอีก 10%
คําถามก็คือ ถาไมออกมติคณะรัฐมนตรีฯ แลวจะใหทําอยางไร?
หรือวาไมตอ
 งทําอะไรเลย
ถาคายมือถือตางๆ ไมสามารถนําเอาภาษีสรรพสามิตไปหักจากคาสัมปทานได
ก็ตองผลักภาระภาษีสรรพสามิตไปสูผูใชบริการ นั่นก็คือ คาโทรจะตองแพงขึน

*******************************
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 26

เรื่องเก็บตกเกี่ยวกับการลดคาสัมปทาน
ผมไดเขาไปอานกระทูห
 นึ่งในหองราชดําเนิน เปนการโตกันระหวาง Pom.com และ
SaVor เห็นวาเปนเรื่องนาสนใจ เลยสงความเห็นไปให สาย สีมา ชวยโพสทให
-------------------------------------------------
คุณ : SaVor
ตอนทีล
่ ด ๕ บาท นะ เขาใหเหตุผลวาจะคืนกําไรใหผูบริโภค

คุณวาคุณไดคน
ื สักกีส
่ ลึง
จากคุณ : Pom.com
-------------------------------------------------
มันหนาทีค
่ ณ
ุ ซิเฮย...
เอื้อผิดปกติ เอื้อยังไง ก็หามา แลวคอยมาถก
ไมใชบอกวา เอื้อใหก็ถอ
ื วาผิด
แบบนัน
้ ก็ตอบคําถามเดิมผมหนอย...
"จะแยกกรณีทักษิณ กับ กรณีนายกลดภาษีนา้ํ มัน ยังไง?"
จากคุณ : SaVor
-------------------------------------------------

มีคําถามเกิดขึ้นวาการลดคาสัมปทานจาก 25% เปน 20%


ใครบางที่ไดรับประโยชนหรือเสียประโยชน และเปนจํานวนเทาใด

ผมไมทราบวาในป 44 อัตราคาโทร.มือถือเปนเทาใด ไมไดใชมือถือในชวงนัน



เพราะเห็นวาการใชมือถือทําใหเรามีธุระโดยไมจําเปน แตคด
ิ วาคงไมนาจะต่ํากวา
นาทีละ 5 บาท เอาที่ราคานี้ก็แลวกัน
ผมจะใชวิธย
ี กตัวอยางแลวกัน เพือ
่ อธิบายผลประโยชนทแ
ี่ ตละฝายไดรับ

สมมติวาในป 44 เต็กซลิ้มจะโทร.เดือนละ 20 นาทีทุกเดือน เพราะวาคาโทร.มัน


แพง ประกอบกับตัวเองเปนบุคคลลมละลาย เลยตองควบคุมคาใชจาย ตอมาคาย
มือถือก็ไดลดอัตราคาโทร.ลง เนื่องจากไดรับการลดคาสัมปทาน แตเต็กซลิ้มก็ยงั
โทรเดือนละ 20 นาทีเหมือนเดิม แมวาคาโทร.จะลดลงอยางตอเนื่อง เหลือนาทีละ
4 บาท , 3 บาท และ 2 บาท ตามลําดับ
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 27

อัตราคาโทร.ตอนาที (โทร.เดือนละ 20 นาที)


5 บาท 4 บาท 3 บาท 2 บาท 1 บาท
คาโทร.ที่เต็กซลิ้มจาย 100 80 60 40 20
คาสัมปทานที่ AIS จายใหรัฐ 25 16 12 8 4
รายไดสุทธิของ AIS 75 64 48 32 16

จะเห็นไดวาเมื่อคาโทรลดลงจากเดิม 1 บาทตอนาที เต็กซลิ้มจะไดประโยชน


เพิ่มขึน
้ 20 บาทตอเดือน ปจจุบันคาโทรโดยเฉลีย
่ แลวนาจะเปน 1 บาทตอนาที
เพราะฉะนัน
้ เต็กซลิ้มจะไดรับประโยชนเพิ่มขึน
้ 80 บาทตอเดือนเมื่อเทียบกับป 44

ถาพฤติกรรมของเต็กซลิ้มเปลี่ยนไป คือ เมื่อคาโทร.ลดลงจาก 5 บาท เหลือ 4


บาทตอนาที เต็กซลม
ิ้ ก็เลยบอกแมวา “หนูขอคาโทร.เดือนละ 100 บาท
เหมือนเดิม” แมก็บอกวาเอาเลยลูกรัก เต็กซลิ้มก็มานัง่ คํานวณวา เดือนหนึ่งเราจะ
โทรไดกน
ี่ าที ปรากฎวาเดือนหนึ่งเต็กซลิ้มจะโทรได 25 นาที (เดิมโทรไดเดือนละ
20 นาที) ดังนั้น อีก 5 นาทีที่เพิ่มขึ้นมา เต็กซลิ้มเอาประโยชนทไ
ี่ ดเพิ่มขึน
้ มานีซ
้ ึ่ง
คิดเปนจํานวนเงินได 20 บาท โทรหากิ๊กคนใหม

เต็กซลิ้มรูส
 ก
ึ ดีใจจริงๆ ที่คาโทรลดลง ทําใหเขาสามารถไดกิ๊กเพิม
่ ขึ้นอีก 1 คน
ตอมาคาโทรลดลงเหลือ 1 บาทตอนาที เต็กซลิ้มก็โทรไดถึง 100 นาที เพิ่มจาก
เดิม 80 นาที เต็กซลม
ิ้ เอาประโยชนที่ไดเพิ่มขึน
้ มานี้ซึ่งคิดเปนจํานวนเงินได 80
บาท โทรคุยกับกิ๊กคนใหมคนละ 5 นาที การลดราคาลงเหลือ 1 บาทตอนาที ทําให
เต็กซลิ้มมีกก
ิ๊ เพิ่มขึน
้ ถึง 16 คน

ในการลดอัตราคาสัมปทานจาก 25% ลงเหลือ 20% มีเงื่อนไขที่ทีโอทีกําหนดไว


คือ AIS จะตองลดคาโทรลง (เมื่อเทียบกับป 44) ดังนี้ ป 44 – ป 48 ลดลงไมนอ
 ย
กวา 5% และจากป 49 – ป 58 ตองลดไมนอ
 ยกวา 10%

AIS ไดรับการแกไขสัญญาในวันที่ วันที่ 15 พ.ย. 2544 ดังนั้น ถากอนวันที่ 15 พ.ย.


2544 คาโทรที่ AIS อยูที่ 5 บาทตอนาที หลังจากวันที่ 15 พ.ย. คาโทรตองไมเกิน
4.75 บาทตอนาที (5 บาท x 95%) และ ตั้งแตป 49 เปนตนไป คาโทรตองไมเกิน
4.50 บาทตอนาที (5 บาท x 90%) ถาราคาเกินจากราคาตามที่ผมคํานวณไว ถือวา
ผิดเงื่อนไขที่ทีโอทีกําหนดไว (อยูบนขอสมมติวาคาโทรในป 44 อยูที่ 5 บาทตอ
นาที แตถาเปนราคาอื่น ทานลองคํานวณหาเองก็แลวกัน) ทานลองตรวจสอบดูเอา
เองนะครับ แตที่แนๆ ตอนนี้คาโทรโดยเฉลี่ยนาจะไมเกิน 1 บาทตอนาที
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 28

มาตอขอกลาวหาของคตส. (ขอ 4)

ภาพดานบนเปนของคุณ Jampoon ที่โพสทไวในหองราชดําเนิน (PANTIP) วันที่ 15 ม.ค. 53


ประเด็นแรกในขอกลาวหา ไมยิงดาวเทียมไทยคม 4
ขอความจาก Annual Report ของ บริษท
ั ชินแซทเทลไลท จํากัด (มหาชน).
บริษัท ชินแซทเทลไลท จํากัด (มหาชน) ไดประสบความสําเร็จในการจัดสง
ดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร) ซึ่งเปนดาวเทียมบรอดแบนดเชิงพาณิชยที่ใหญ
ที่สุดในโลก (และเปนดาวเทียมบรอดแบนดดวงแรกของภูมิภาคเอเชียแปซิฟก)
ขึ้นสูวงโคจรเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2548 บริษัทฯ ไดรับรางวัล “2006 Industry
Innovator for Technology Development and Application” จากสมาคมผู
ประกอบวิชาชีพดาวเทียมนานาชาติ (Society of Satellite Professionals
International หรือ SSPI) ในเดือนกุมภาพันธ 2549 ซึ่งเปน รางวัลนวัตกรรมดีเดน
ของวงการดาวเทียมโลก ประเภทการพัฒนาเทคโนโลยีและระบบงาน
คตส.แหงนมองทองฟา มองไมเห็นดาวเทียมไทยคม 4 อยูตรงไหน ชวยบอกฉันที.
ถามดาวทั่วฟา ดาวบอกไมรู ถามเดือนเจาดู เดือนรูบางหรือเปลา

ประเด็นที่สองในขอกลาวหา ลดภาระการลงทุนฯ เปนจํานวนกวา 20,768 ลานบาท


ป 2548 บริษัท ชินแซทเทลไลท เพิ่มทุนโดยการเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนแกนัก
ลงทุนสถาบันและนักลงทุนรายยอยรวม 208 ลานหุน ในราคาหุนละ 15.30 บาท รวม
เปนเงิน 3,182 ลานบาท ซึ่งทําใหสัดสวน การลงทุนของ บริษัท ชิน คอรปอเรชัน
่ ใน
บริษัท ชินแซทเทลไลท ลดลงเปนรอยละ 41.34
(ขอมูลจาก Annual Report ของ ชินคอรป ป 49)
กอนที่จะวิเคราะห ขออธิบายเรื่องการถือหุน และ เงินลงทุน (อยางยอๆ) กอน เพราะบางคนอาจจะ
ยังไมเขาเรื่องนี้ ในวันถัดไปที่ผมจะเขียน มันจะมีเรื่องพวกนี้เขามาเกี่ยวของดวย ทุกคนจะไดอาน
ความเห็นดวยความเขาใจไมมากก็นอย

ขอยกตัวอยางงายๆแบบนี้ก็แลวกัน บริษัท มูน จํากัด เปนบริษัทที่เปดขึ้นใหม ตองการเงินทุนใน


การดําเนินกิจการ 1,000,000 บาท แบงเปน 1,000,000 หุน ราคาหุนละ 1 บาท (เรียกวามูลคาที่
ตราไว Face Value or Par Value) นําหุนออกเสนอขายในราคาหุนละ 1 บาท (อาจจะขายสูงกวา
1 บาทก็ได สวนที่เกินกวา 1 บาท เรียกวา สวนเกินมูลคาหุน) บริษัทซันซื้อหุน 600,000 หุน
นายเอกซื้อ 10 หุน ที่เหลืออีก 399,990 หุนมีผูซื้อครบ ทั้งบริษัทซันและนายเอกตางก็เปนเจาของ
บริษัทเหมือนกัน บริษัทซันเปนผูถือหุนรายใหญ (ถือหุน 60%) สวนนายเอกเปนผูถือหุนรายยอย
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 29

บริษัทมูนถือเปนบริษัทยอยของบริษัทซัน บริษัทซันเปน Holding Company ถาบริษัทมูนไปซื้อ


หุนของบริษัทสตารจํานวน 70% ของจํานวนหุนที่บริษัทสตารนําออกจําหนายทั้งหมด บริษัทสตาร
ถือเปนบริษัทยอยของบริษัทมูน ถาพูดในความสัมพันธโดยรวมแบบชาวบาน “บริษัทซัน : บริษัท
มูน : บริษัทสตาร @@@ บริษัทแม : บริษัทลูก : บริษัทหลาน” แลวถาถามวาสัดสวนการถือหุน
ของบริษัทซันในบริษัทสตารเปนเทาใด คําตอบก็คือ 42% (70% * 60%) เปนการถือหุนทางออม
ชินคอรปฯเทียบไดกับบริษัทซัน @@ AIS และ ชินแซทฯ เทียบไดกับ บริษัทมูน @@
ดิจิตอลโฟน และ ชินบรอดแบนด อินเตอรเนต เทียบไดกับ บริษัทสตาร

นายกทักษิณไมไดถือหุนโดยตรงใน AIS และ ชินแซทฯ แตทานเปนผูถือหุนรายใหญของชิน


คอรป (50%) และ ชินคอรป ถือหุนใน AIS 43% , ชินแซทฯ 51% และอีกหลายบริษัท (ขอมูล
จากรายงานประจําป 2547)
ถาถามวา ทานนายกทักษิณถือหุนในชินแซทฯกี่เปอรเซนต คําตอบก็คือ 25.5% (51% x 50%)
เปนการถือหุนทางออม

คําวาเงินลงทุน (Investment) ในทางบัญชีจะหมายถึง ทรัพยสิน (นักบัญชีเรียกวา “สินทรัพย”) ที่


บริษัทใชดําเนินงาน เชน เครื่องมือหรืออุปกรณตางๆ ในกรณีชินแซทฯสินทรัพยตัวเอกก็คือ
ดาวเทียม ที่มาของเงินลงทุนจะมาจาก 2 แหลงคือ เจาของ (ผูถือหุน) และ เจาหนี้
และเพื่อใหเขาใจงาย ขอยกตัวอยางแบบนี้ก็แลวกัน

พวกเราตองการเปดบริษัทธุรกิจอยางหนึ่งตองการเงินทุนทั้งหมด 5 ลานบาท ก็ไดชวนใหเพื่อนๆ


มาลงทุนโดยการขายหุนในราคาตามมูลคาทีตราไวไดเงิน 4 ลานบาท และ เงินทุนอีก 1 ลานบาท
ไดจากการกูเงินธนาคาร แลวก็นําเอาเงิน 5 ลานบาท ไปซื้อเครื่องมืออุปกรณตางๆและเหลือเปน
เงินทุนหมุนเวียนสวนหนึ่ง ถาเปนแบบนี้ก็จะสรุปโครงสรางเงินทุนไดวา มาจากเขาของ (ผูถือหุน)
80% และ มาจากการกอหนี้ (เจาหนี้) 20% สมมิตวาพอถึงสิ้นปบริษัทมีกําไรหลังหักภาษี 5 แสน
บาท (สมมติวาปแรกไมมีการคิดดอกเบี้ยจากเงินทีกูมา) หนี้สินมีรายการเดียวและยังคงมียอดเทา
เดิมคือ 1 ลานบาท ดังนั้นสินทรัพยของบริษัทจะมียอดรวมเทากับ 5.5 ลานบาท (5 + 0.5) เปน
สวนของผูถือหุนเทากับ 4.5 ลานบาท (5.5 – 1 หรือ 4 + 0.5) อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน
(ในสินทรัพย) จะเทากับ 10% [(0.5 ÷ 5) * 100] ถาใชเงินลงทุนตอนตนปเปนตัววัดคา และ
อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุนจะเทากับ 12.5% [(0.5 ÷ 4) * 100]

วิเคราะห.
เดิมบริษัท ชิน คอรปอเรชั่น ถือหุน
 ในบริษัท ชินแซทเทลไลท อยู 51.4% เมือ
่ ชิน
แซทฯ ขายหุนเพิ่มทุนอีก 208 ลานหุนแกนักลงทุนสถาบันและนักลงทุนรายยอย ทํา
ใหสัดสวนการถือหุน (การลงทุน) ของชินคอรปฯ ใน ชินแซทฯ ลดลงเหลือ 41.34%

ถาตองการใหชินคอรปฯ ถือหุนในชินแซทฯตามสัดสวนเดิม (51.4%) ชินคอรปฯตอง


เปนผูลงทุนซื้อหุนที่ชินแซทฯนําออกขายประมาณ 110 ลานหุน (จากที่นออก
จําหนาย 208 ลานหุน) ราคาหุนละ 15.30 บาทรวมเปนเงินที่ตองลงทุนประมาณ
1,679 ลานบาท
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 30

คตส.เขียนขอกลาวหาวา ...ลดภาระการลงทุนที่ตองดําเนินตามสัญญาเปนจํานวนกวา
20,768 ลานบาท... ไมรูวาไปเอาตัวเลขมาจากไหน

ผมไมทราบเหตุผลวา ทําไมชินแซทฯจึงเลือกวิธีนําหุนออกจําหนาย แตอยางไรก็


ตามชินคอรปฯยังเปนผูถ  ือหุนรายใหญในชินแซทฯเหมือนเดิม มีสงิ่ หนึ่งที่นักบัญชี
เขายึดเปนหลักก็คือ “เนื้อหายอมสําคัญกวารูปแบบ” พอจะนําเอามาเปรียบเทียบ
กับเรื่องนีไ
้ ด เนื้อหาก็คือ เงินลงทุนที่ตองการใชจํานวน 1,679 ลานบาท รูปแบบก็
คือ ชินคอรปฯเปนผูล  งทุนเอง หรือ ใหผูอื่นรวมลงทุน ทําไมตองไปยึดติดกับ
รูปแบบดวย สมมติวาชินคอรปฯใชวิธีไปกูเงินมา แลวนําเงินกูที่ไดมาไปซื้อหุนจะผิด
อีกมั๊ยเนีย
่ เพราะเคยมีเกิดขึ้นแลวกรณีบริษัทกุหลาบแกวตอนที่เขาไปซื้อหุนของ
ชินคอรปฯ ใชเงินทุนจากผุถือหุนและจากการกูไปซื้อหุน 
อยางไรก็ตามการเปลีย
่ นแปลงสัดสวนผูถ
 ือหุนไมไดกอใหเกิดความเสียหายแต
อยางใด ดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร) ไดถก ู ยิงขึน
้ สูวงโคจรเปนที่เรียบรอยแลว
ในการเขียนความเห็นเรือ ่ งเกี่ยวกับการยึดทรัพย บางครัง้ ก็รูสึกทอ เพราะผมขาด
การติดตามเรื่องพวกนี้เนื่องจากไปปฎิบต ั ิอยูประมาณ 2 – 3 ป เมื่อมาธุระที่บาน
พี่สาวไดอานกระทูของคุณ Jampoon ที่โพสทไวในหองราชดําเนินเมือ ่ วันที่ 15
มกราคม ก็เลยคิดวาเรานาจะใหความรูที่มีอยูอธิบายใหคนที่ไมคอยรูไดเขาใจ และ
เปนการตอบแทนบุญคุณของนายกทักษิณที่ทําประโยชนใหประเทศไทยอยาง
มหาศาล เริม ่ คนหาขอมูล เพราะไมมีขอมูลอยูในมือเลย เขาไปคนหา งบการเงิน
รายงานประจําป ของหลายบริษัท และแยกเปนปๆอีกไมตา่ํ กวา 4 ป ขอมูลบางสวน
นําเอามาเขียนไดเลย บางสวนตองนํามาคํานวณกอน บางครั้งถามตัวเองวา เราทํา
Thesis รอบสองอยูหรืองัย
สาย สีมา โทรมาบอกวา อาจารยมงั กรดําไดเขียนกระทู “Nirvana” >>> กับ
“โกหกคําโตขอมูล” คดีทักษิณ 7 หมื่นลาน ในหองราชดําเนิน ตองขอบคุณ
อาจารยมงั กรดําดวยครับ
คงจะเหลืออีกประมาณ 2 ตอน ตอนสุดทายคงจะเปนเรื่องการเปรียบเทียบ ชิน
คอรป AIS กับ บริษัทในกลุมอืน ่ ๆ เชน พลังงาน พัฒนาอสังหาริมทรัพย ในดาน
ตางๆ เชน อัตราผลตอบแทนตอสวนผูถือหุน ซึ่งผมจะพยายามหาทางอธิบายใหคน
ที่ไมมีพน
ื้ ทางดานนี้ เขาใจไดงายๆ คิดวาจะใหจบในอาทิตยนี้ ซึง่ จะจัดทําเปน PDF
และอาจจะจัดทําในรูปแบบ PowerPoint ดวย แลวผมจะแจงใหทราบอีกที
ขอบคุณทุกคนทีต
่ ิดตามกระทูของผม
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 31

ขอหาของคตส. (ตอ)

ภาพดานบนเปนของคุณ Jampoon ที่โพสทไวในหองราชดําเนิน (PANTIP) วันที่ 15 ม.ค. 53

ผมขอนําความเห็นของชาวราชดําเนินมาแสดงก็แลวกัน
กรณี เงินกูพ
 มา ตกลง ทักษิณ ตองรับผิดชอบไปเต็มๆ ทั้ง 5 พันลานบาท เลยหรือ
ทั้งๆ ที่เรื่องเงินกูพ
 มา ยังไมมค
ี วามเสียหายอะไรเกิดขึ้นเลย พมาก็ไมไดชักดาบ
ซ้ําใหพมากู ไทยไดประโยชนอีกตางหาก ปตท ไดสม
ั ปทานบอกาซ มูลคาหลาย
แสนลานบาท
พมากูเงินไทย ก็เอาเงินมาซื้อสินคาไทย บริษัทหางรานไทยตางๆ ก็ไดประโยชน
ครบกําหนดชําระหนี้ พมาก็เอาดอกเบี้ย พรอมเงินตนมาคืน
ประเทศไทยมีแตไดประโยชนทงั้ ขึน
้ ทั้งรอง แตเรื่องนี้ ทักษิณ ผิดเฉย เอาไปบวก
รวมกับการหาเรื่องยึดทรัพยดวย
จากคุณ : ขาจร...ขอแจม
เขียนเมื่อ : 15 ม.ค. 53
ถูกใจ : compassion, 4tunerAchilles, อินโน, LittleNicky, o[';']o, aisukun, พันธศักดิ, ไอเจิด, osora,
เอี้ยนเฟย07, ชาขม

ความเห็นเพิ่ม: นายกทักษิณใหพมาชวยจัดการเรื่องแหลงผลิตยาบาในพมาดวย
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 32

ขอหาของคตส. (ตอ)

เรื่องนี้ไมไดแกไข แตเปนการเพิ่มเติมสวนแบงรายไดใหกบ
ั TOT ทั้งนี้สืบเนื่องจาก
TOT ไมสามารถติดตั้งขยายระบบสื่อสัญญาณ (Transmission Networks)
ไดทันตอการขยายสถานี (Base Station) เพื่อบริการแกประชาชนผูใชบริการของ
AIS ไดทัน
AIS จึงไดขออนุญาตลงทุนขยายระบบสื่อสัญญาณ (Transmission Networks) ใน
สวนที่ TOT ไมสามารถจัดสรางไดทัน และยกใหเปนทรัพยสินของ TOT ในทันทีที่
เปดใชบริการซึ่งเปนไปตามสัญญารวมงานแบบสราง-โอน-ดําเนินงาน (BTO:
Build-Transfer-Operate) โดยที่ AIS มีสิทธิใชระบบสื่อสัญญาณ (Transmission
Networks) จนกวาจะหมดอายุสัมปทาน ตอมาปรากฏวามีสวนที่เหลือใชซึ่ง TOT
และ AIS มีความเห็นตรงกันวา ควรจะใหประชาชน หนวยงานอื่นๆ หรือ
บริษัทเอกชนตางๆ สามารถขอเชาใชได
TOT จึงไดกําหนดสวนแบงรายไดขึ้นมาใหม โดย
กรณีเปน ”ผูใชบริการของ TOT”
TOT ไดรับรอยละ 25 AIS ไดรับรอยละ 75 ตลอดอายุสญ
ั ญา
กรณีเปน ”ผูใชบริการของ AIS”
TOT ไดรับรอยละ 22 AIS ไดรับรอยละ 78 ตลอดอายุสญ
ั ญา
ซึ่ง AIS มีหนาที่จะตองดูแลบํารุงรักษาและซอมแซมระบบสื่อสัญญาณ
(Transmission Networks) นั้นตลอดจนอายุสัญญา
เรียบเรียงขอมูลจาก
http://shincase.googlepages.com/indictmentinvolvingonais
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 33

ผมไดขอใหผูที่มีความรูเ กี่ยวกับเรื่องนี้ชวยแสดงความเห็นใน newskythailand


konthaiuk thaipeoplevoice และ หองราชดําเนิน แตก็ไมไดรบ
ั การตอบกลับ
จึงไมรจ
ู ะวิเคราะหอยางไร ดานลางคือสิง่ ที่ผมสงสัย

ผมไมคอยมีความรูเรื่องเทคโนโลยีสื่อสาร ไมเขาใจวา ระบบสื่อสัญญาณ


(Transmission Networks) ทํางานรวมกับสถานี (Base Station) อยางไร?
ถาจะใหเดา สถานี (Base Station) ก็คือ สถานีเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่
ซึ่งเปนตัวรับสงสัญญานโทรศัพทมือซึ่งตัง้ อยูต
 ามชุมชนตางๆ เชน หมูบาน ตําบล
หรือ อําเภอ (เปนเสาสูงๆ)

TOT จึงไดกําหนดสวนแบงรายไดขึ้นมาใหม
อีกขอที่สงสัย ก็คือ TOT จึงไดกาํ หนดสวนแบงรายไดขน
ึ้ มาใหม
กรณีเปน ”ผูใชบริการของ TOT” ั รอยละ 25 AIS ไดรบ
TOT ไดรบ ั รอยละ 75
กรณีเปน ”ผูใชบริการของ AIS” TOT ไดรบ
ั รอยละ 22 AIS ไดรบ
ั รอยละ 78
สวนแบงรายไดนี้ เกีย
่ วของอยางไร? กับ คาสัมปทานที่ AIS ตองจายให TOT ใน
อัตรา 20% ของรายได (แบบ Prepaid - เติมเงิน) และ อัตรา 25% ของรายได
(แบบ Postpaid - จายสิ้นเดือน)

TOT จึงไดกําหนดสวนแบงรายไดขึ้นมาใหม แลวสวนแบงแบบเดิมเปนอยางไร?


หรือวาเปนคาเชื่อมโยงโครงขาย (Inter-connection Charge) ระหวางคายมือถือ
หนึ่ง กับ อีกคายหนึ่ง เชน ลูกคาทีใ่ ช AIS โทรหาเพื่อนซึง่ ใชของ DTAC
ซึ่งจะตองมีการคิดคาบริการระหวางกัน
ระบบสื่อสัญญาณ (Transmission Networks) เกี่ยวของกับ คาเชื่อมโยงโครงขาย
อยางไรหรือไม?

AIS ตองจายคาเชื่อมโยงให DTAC หรือวา DTAC ตองจายคาเชื่อมโยงให AIS


เทียบไดกบ
ั เอา ATM ของแบงคกรุงเทพ ไปกดที่ตข
ู องแบงคกสิกรไทย
แลวแบงคกสิกรไทยคิดคาธรรมเนียมกับแบงคกรุงเทพ หรือไม
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 34

ความเห็นจากหองราชดําเนิน ตอขอกลาวหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยของ
ทักษิณ ซึง
่ ตั้งกระทูโดยคุณ Jampoon เมื่อวันที่ 15 มกราคา 2553
---------------------------------------------------
ขอ 1
ไมเอาป2549 เทียกับป2475 ซะเลยละ
แม เลนเอาไปเปรียบ ป2542 ุโนน สมัยเพจเจอรครองเมือง
มือถือ กระติก เครื่องละ ครึ่งแสน ประชาชน วับรุนมันซื้อไดหรือ
ขอ 2
ไมลอง เลนเรื่อง cat หนอยหรือ เสือนอนกิน ตัวจริง
บริษัทของ แมนม รัฐบาล เลนไมพูดถึงเลยนะ
ขอ 3
เอสมัยใครหวา ที่ ตองประมูลสัมปทานคลื่น900 1800
โดย ทักษิณ ไดแค คลื่นเดียว แต บริษัทแมนม รัฐบาลไดสองคลื่น
ยุคนั้นเคาไมเรียกผูกขาดหรือ ตองมาประมูลสัมปทานกับรัฐ
แถม บริษัทแมนม รัฐบาล ซึ่งเปนรัฐมนตรีสมัยนั้น ยังรวมประมูลได
ขอ 4
"โดยเปดโอกาสใหระดมทุนจากตลาดหุน มาลงทุน"
ขอประทานโทษ จะใหกู อยางเดียวหรือไงครับ รูจักคําวา รวมลงทุนไหม
ไมโงแบบ รัฐบาลนีค
้ รับ วิธีหาเงิน มีแตการ กู นะ
ขอ 5
ไมทราบวา รูหรือเปลาเวลา คนเรากู นะ มันตองคืน ครับ
ไมใชความคิดแบบ มารกๆนะครับ กูแลวไไมตอ
 งคืน
สวนเรื่อง ซือ
้ สินคาจากซิน อยูใ น สัญญาเปลา หรือ ทักษิณสั่ง พมาทําตามได
หรือจะดาวา พมาโง ทีโ่ ดยทักษิณ จูงจมูก
ถาเรื่องผลประโยชนทซ
ั อน ฝากเรือ
่ ง หวยออนไลนดวย
ประธาน และ กรรมการ นามสกุล อะไรนะ ล่ําๆ กะ ติๆ
ฝากเชือดดวย
รัฐบาลมารกจะไมตองเสีย คาโง อางวา ผลประโยชนทบ
ั ซอน
ไลรัฐมนตรี เซฟเงินประเทศชาติ เปน พันลาน
หรือวา หนาตารัฐบาล สําคัญ กวาเงินของประชาชนเปน พันๆลาน
จากคุณ : นักพรตทราย (genocide009)
---------------------------------------------------
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 35

กรณี เงินกูพ
 มา ตกลง ทักษิณ ตองรับผิดชอบไปเต็มๆ ทั้ง 5 พันลานบาท เลยหรือ
ทั้งๆ ที่เรื่องเงินกูพ
 มา ยังไมมค
ี วามเสียหายอะไรเกิดขึ้นเลย พมาก็ไมไดชักดาบ
ซ้ําใหพมากู ไทยไดประโยชนอีกตางหาก ปตท ไดสม
ั ปทานบอกาซ มูลคา
หลายแสนลานบาท
พมากูเงินไทย ก็เอาเงินมาซื้อสินคาไทย บริษัทหางรานไทยตางๆ ก็ไดประโยชน
ครบกําหนดชําระหนี้ พมาก็เอาดอกเบี้ย พรอมเงินตนมาคืน
ประเทศไทยมีแตไดประโยชนทงั้ ขึน
้ ทั้งรอง แตเรื่องนี้ ทักษิณ ผิดเฉย
เอาไปบวกรวมกับการหาเรื่องยึดทรัพยดวย
จากคุณ : ขาจร...ขอแจม
---------------------------------------------------
เวรกรรม
1. ป 42 มีผูใช AIS 23000 ราย ป49 มีผูใช 17 ลานราย แถม จายปนผล กย. 49
คิดไดไงเนีย
่ ป42 โทรศัพทพรอมเบอรเครื่องละเกือบสี่หมื่น ป 49 เครื่องละพันกวา
บาท คนก็ใชมากขึ้นเปนธรรมดา แถมทักษิณขาย AIS ใหเทมาเส็กไปตั้งกะตนป
49 แลว หุนมันจะจายปนผลกันเทาไรปลายป 49 มานไปเกี่ยวอารายกะทักษิณ

ั้ คาโทรศัพทจะลดถูกลงแบบทุกวันนี้
2. ประเทศไหนๆเคาก็โรมมิ่งกันทัง้ นั้นละ ไมงน
เหรอ เงินทีเ่ ขา กสท ทศท. ก็เงินของพวกคุณที่ใชโทรศัพทกันทั้งนัน
้ ละ

3. มีสรรพสามิตก็หาวาไดเปรียบ ถายกเลิกก็หาวารัฐขาดรายได จะเอาไงแนฟะ

4. อธิบายเพิ่มเติมหนอย วามันเสียหายตรงไหน

5. ตอนนีพ
้ มามันชักดาบไมคืนเงินแลวหรือไง แลวดอกเบีย
้ ที่กําหนดไวผันแปรตาม
ธนาคารโลก นี่มันนอยไปหรือไง

6.เอาแตกอปเคามา หัดตัง้ เองซะบาง

จากคุณ : ajibjoy
---------------------------------------------------
อานแลว นาสงสารทานนายกทักษิณฯ นะคะ
ทรัพยของทาน ทํามาหากินกอรางสรางตัวดวยตัวของทานเองแทๆ
ไปยึดทรัพยสินของทานทําไมกัน
จากคุณ : saipin
---------------------------------------------------
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 36

แลวใครเปนคนปรับ ลดราคาโทรศัพท ทางไกล ในประเทศครับ


จะไดใหตามไปยึดทรัพย เพราะแตกอนโทรไปเชียงใหม นาทีละ 18 บาท
ตอนนี้ไมกบ
ี่ าท ถาคิดเปน รัฐรายได ลดลง คงเปน แสนลาน??
ถาคิดแบบนี้ แลวใครรับผิดชอบ??
(ผมวาที่ทักษินทําก็เพือ
่ ประชาชน จะไดใช คาโทรถูกลง)
่ งดีของสวนรวมอยูแลว หรือ จะกลับไปจายคารายเดือน
มันก็เปนเรือ
เดือนละ 500 เหมือนเดิม และคาโทร นาทีละ 3 บาท กันดีครับ
คุณ คนรักชาติทั้งหลาย??
จากคุณ : yu (5150THAI)
---------------------------------------------------
อานแลว จะรูวา ที่เราไดใชโทรศัพท ราคาถูกทุกวันนี้ เพราะทักษิณนี่เอง
มันเปนคุณประโยชนตอ
 ประชาชน ยิ่งอานยิง่ รักทักษิณมากขึ้น
ถาทักษิณไมทําแบบนัน
้ วันนี้เราคงเสียคาโทรศัพทนาทีละ 10 บาท
เหมือนทุกวันนี้ ที่ระบบ 3G ยังไมเกิดเพื่อเปนทางเลือกแกประชาชน
จากคุณ : มีดบิน

---------------------------------------------------
เมื่อป 43 ผมเสียคาโทรศัพทเดือนละ เปน 1500-2000 บาท ให AIS
เดี๋ยวนี้ผมโทรนอยลงแตเสียเดือนละแค 214 บาท .. เมือ
่ กอนไมโทรเลย
ก็ยังตองเสีย 535 บาท ...
ผมวาฝายตรงขามทักษิณ เสียประโยชน แตชาติ และประชาชน ไดประโยชน
อํามาตย ปชป. และเสือ
้ เหลือง คงรับไมได
จากคุณ : เ ห็ ด ห อ ม
---------------------------------------------------
รายไดทล
ี่ ดลงไปของรัฐ จากขอกลาวหา 1-3 มันก็กลับคืนไปสูประชาชนในแง
ของคาบริการที่ถูกลง พอถูกลงคนสวนมากโดยเฉพาะคนรายไดนอยก็สามารถ
ใชประโยชนจากโทรคมนาคมไดมากขึ้น
เปนขอกลาวหาที่เหลวไหลมาก
ขอ 4-5 เลิกพูดเถอะครับ เหมือนกับน้ําจิม
้ ยัดเขามาใหดูเหมือนปริมาณมาก
จากคุณ : kriengchai
---------------------------------------------------
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 37

ขอตอบเฉพาะขอ 3 ขอเดียว
ที่เคาแปลงคาสัมปทานเปนภาษีสรรพสามิตรนะ ก็เนื่องจากมันจะมีกทช.
(ที่แบบเปนตัวเปนตนจริง ๆ ไมใชหลักลอยแบบทุกวันนี)้ ซึ่งเมื่อมีกทช.
พวกคลื่นความถี่ทั้งหลาย ไมวาวิทยุ โทรทัศน มือถืออะไรนี้ มันถือเปน
สมบัติสวนรวมไมใชรฐ
ั จะมาเหมาเอาไปคนเดียว แลวเมื่อถึงเวลานั้น
ที่กทช. เกิดขึ้นจริงคาสัมปทานตรงนี้จะหายไปเลยเปนหมื่น ๆ ลาน
(เพราะสัมปทานสวนหนึ่งก็กําลังจะหมดอายุ) เคาจึงใหมาเก็บภาษีสรรพสามิตร
(ซึ่งมันไดเงินมาไมนอยกวาคาสัมปทาน) และอีกอยาง เมื่อมีกทช.
พวกบริษัทมือถือมันก็จะถายโอนลูกคาจากบริษัทเดิมไปบริษัทใหม
ที่มีภาษีนอยแทน ...ลองไปหาอานหนาพวก Telecom ดูบางนะ
อยาเรียกวาดาเลยเคาเรียกวาโ...แลวอวดฉลาดมากกวานะ...อานแลวคิด ๆ ดวยนะ
อีกเรื่องหนึง่ ...สําหรับตอนนี้สรุปไดวา ทศท. นอนพุงปลิน
้ รับทํา 3G เฮไปแลว
แตรูไหมวามีเครือขายกระจายสัญญาณนิดเดียว แถม Internation link
ก็นอยกวาเจาอื่น ๆ อีกดวย สงสารประเทศไทย ที่มค
ี นอคติอยูมากมาย
เจาอื่นรอทาแตทําไมไดเพราะติดกทช. ไมรูจะเอาอยางไรกันแน
บางคนบอกใหวาทําแค 2G พอ โถพี่ทําไมพี่ไมใชเครื่องพิมพดด

ทํางานแทนเลยละ...ปดโถ...
จากคุณ : reuse
---------------------------------------------------

จากการวิเคราะหและขอเท็จจริง ที่ไดนําเสนอผานมาแลว ชี้ใหเห็นวา


นายกทักษิณไมไดเอื้อประโยชนใหแกธุรกิจของทาน

ขอกลาวหาของคตส.ในภาพรวม “นายกทักษิณเอื้อประโยชนใหธุรกิจของทาน
ทําใหธุรกิจของทานเติบโตมาก สงผลใหราคาหุนสูงขึน
้ ”
คําถามก็คือ ธุรกิจของตระกลูชน
ิ วัตรเทานัน
้ หรือ ที่เติบโตมาก??
ธุรกิจของคนในตระกูลไมเติบโตเลยหรือ??
ราคาหุนของธุรกิจในตระกูลชินวัตร สูงขึน
้ กวาของตระกูลอื่น จริงหรือ??
สิ่งที่จะตอบคําถามเหลานี้ได ก็คือ ตองเปรียบเทียบอัตราสวนทางการเงิน
ของกิจการที่เปนของตระกูลชินวัตร กับ ของตระกูลอื่นๆ
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 38

เปรียบเทียบความสามารถในการทํากําไรของบริษท

ถาทานมีความเขาใจเรือ
่ งสวนของผูถือหุนแลว ใหขามหัวขอนี้ไปอานหัวขอถัดไป
บริษัทที่นายกทักษิณเคยถือหุน มักจะถูกกลาววาเติบโตมากกวาบริษัทอื่นๆ มีกาํ ไร
มากกวาบริษัทอื่นๆ
การที่จะเปรียบเทียบโดยการจับตัวเลขกําไรของแตละบริษท
ั มาเปรียบเทียบกัน
โดยตรงไมได เชน บริษัท A กําไร 10,000 ลานบาท บริษัท B กําไร 13,000
ลานบาท ถาดูตามตัวเลข บริษัท B กําไรมากกวา บริษัท A 3,000 ลานบาท
แลวก็สรุปวา บริษัท B มีความสามารถทํากําไรมากกวาบริษัท A ไมไดครับ
การสรุปแบบนี้มน
ั ก็ไมตางกับ เรื่องของนายเต็กซกับนายลิ้ม ทีผมไดเคยเขียนไปลว
ที่นายลิม
้ โวย ทําไมเงินเดือนของตนจึงขึ้นนอยวานายเต็กซ คงจําไดนะครับวา เรา
ใชเปอรเซนตการเพิม
่ ขึน
้ ของเงินเดือน เปนตัวเปรียบเทียบกัน

ดังนั้นในการเปรียบเทียบความสามารถในการทํากําไรระหวางกิจการหนึ่งกับกิจการ
อีกกิจการหนึ่ง ตองเอากําไรไปเทียบกับอะไรสักอยางหนึง่ เชน สินทรัพยของ
กิจการ หรือ สวนของผูถ
 ือหุน เปนตน คราวทีแ
่ ลวผมไดชแ
ี้ จงไปแลวเรื่อง อัตรา
ผลตอบแทนจากการลงทุน (ในสินทรัพย) และ อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือ
หุน นั่นก็คือ เอาสินทรัพยหรือสวนของผูถือหุน
 ไปหารกําไร

ขอพูดถึงสวนของผูถือหุนอีกที ถาพูดใหเขาใจงายๆแบบชาวบาน ก็คือ เงินลงทุน


สวนที่เปนของเจาของบริษัท (สินทรัพยสุทธิ) เชน เราไปซื้อหุนของบริษัทที่เปด
ใหม 1 หุนราคาหุนละ 100 บาท สิ้นปที่หนึง่ มีกําไรหลังภาษี หุนละ 7 บาท บริษัท
ยังไมมีการจายเงินปนผล มูลคาหุน
 ตามบัญชีตอหุนก็คือ 107 บาท สิ้นปที่สองได
อีก 13 บาท มูลคาหุนตามบัญชีตอ
 หุนก็คือ 120 บาท พูดงายมีกําไรแลวเอาไป
ลงทุนตอ ไอ 120 บาทนั่นแหละเรียกวาสวนของผูถือหุน (เฉพาะของเราคนเดียว)
สมมติสิ้นปที่สามมีกําไรหลังภาษีหุนละ 18 บาท อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือ
หุนจะเทากับ (18 ÷ 120) × 100 ซึ่งเทากับ 15% อันนี้เปนวิธีการคิดที่นาจะทําให
ผูที่ไมคอยมีความรูทางบัญชีเขาใจไดงาย (ในทางปฏิบต
ั ิจริงเขาใชกําไรสุทธิ หาร
ดวย สวนของผูถือหุนเฉลีย
่ ) มูลคาหุนตามบัญชีตอหุน ณ สิ้นปที่สามก็คือ 138
บาท (120 + 18) ถาในปถด
ั ไปบริษัทจายเงินปนผล (จายกําไร) ใหหุนละ 10 บาท
มูลคาหุน
 ตามบัญชีตอหุน
 ก็จะเหลือ 128 บาท (138 – 10)
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 39

อธิบายความหมายสวนของผูถือหุน
 อีกแงมุมหนึ่งก็แลวกัน โดยใช “ฐานะการเงิน
สวนบุคคล” เปนพื้นความรูเพื่อนําไปสูสวนของผูถือหุน

สมมิตวาบานทานมีเงินสดและเงินฝากธนาคาร 1 ลานบาท มีทรัพยสน


ิ อื่นๆ เชน
บาน ทีด
่ ิน รถยนต เครื่องใชในบาน ตีราคารวมกันได 4 ลานบาท ก็คือ มีทรัพยสิน
ทั้งหมด 5 ลานบาท และมีหนี้สน
ิ เชน เปนหนี้ธนาคาร 2 ลานบาท ดังนั้น ทานมี
ทรัพยสน
ิ สุทธิเทากับ 3 ลานบาท เรียกวา “สวนของตัวเอง” ก็แลวกัน
บริษัทตางๆ ก็มีสินทรัพย (ทรัพยสน
ิ ) และหนีส
้ ินเหมือนกับบุคลธรรมดาแหละ
 ือหุน” ก็เปรียบไดกับ ““สวนของตัวเอง” นั่นก็คือ
“สวนของผูถ
ยอดรวมสินทรัพย (เหมือนกับทรัพยสน
ิ ) ทัง้ หมด หักดวย ยอดรวมหนี้สินทั้งหมด
จริงๆแลวในงบการเงิน เราไมตองคํานวณหายอดสวนของผูถือหุน
เพราะวาในงบการเงินมียอดแสดงไวอยูแลว อันนีต
้ องการอธิบายใหไดเขาใจ เพือ

จะไดอานความเห็นไดเขาใจไมมากก็นอย

ผูสนใจเรื่องเกี่ยวกับฐานะทางการเงินของสวนบุคคล
เขาไปดาวนโหลดสื่อการสอน PowerPoint ของการบัญชีขั้นตน ไดที่เว็บไซต
ThailandAccount.com (ฐานะทางการเงินสวนบุคคลอยูใน slide 30 – 35) เมื่อ
เปดไฟล ไมตองใสรหัสผาน ให Click ที่ “อานอยางเดียว Read Only” ฟรีครับ
บวก ลบ คูณ หาร เปน ก็เรียนรูไ
 ดแลว ผมเปนผูจด ่ การสอนเอง บัญชีไมยาก
ั ทําสือ
อยางทีค
่ ิด ถาทานดู PowerPoint จนจบบทที่ 2 ทานจะเขาใจ เรื่องของงบการเงิน
ไดพอสมควร ลองดูครับ ไมยากอยางที่คด

มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 40

อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถ
 ือหุน
อัตราสวนทางการเงินทีน
่ ิยมใชวัดความสามารถในการทํากําไร มี 3 แบบ คือ อัตรา
ผลตอบแทนตอสินทรัพย อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน และ กําไรตอหุน

ผมเลือกใชอัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุนเปนตัวเปรียบเทียบ ตอนแรก
ตั้งใจวาจะเอาเฉพาะ ปูนซิเมนตไทย ปตท แลนดแอนดเฮาส และ ธนาคารตางๆ มา
่ วของกับนายกทักษิณ
เปรียบเทียบกับ กิจการที่เคยเกีย
ผมไดนึกถึงคุณวิกรม เสนทางชีวต
ิ ของเขานาสนใจ ทําใหนึกถึงอมตะคอรปอเรชัน
นึกถึงโรงงานน้ํามันพืชซึ่งผมเคยทํางานอยู มีผลพลอยไดจากการผลิตมาก และ
นึกซีเอ็ด คิดคาจัดจําหนาย 40% ของราคาหนังสือ ก็เลยนําเอามาเปรียบเทียบดวย

อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน (เปอรเซนต)
รายชื่อกิจการ ป 49 ป 48 ป 47 ป 46 ป 45 ป 44
ปูนซิเมนตไทย 42 53 79 85 22 14
ปตท 30 37 40 35 15 43
อมตะคอรปฯ 21 31 31 29 37 17
ซีเอ็ด 33 33 22 29 20 28
เอไอเอส 21 24 29 33 25 11
แลนดแอนดเฮาส 14 23 27 31 25 13
น้ํามันพืชไทย 18 21 17 29 23 22
ชินคอรปฯ 8 21 22 28 19 13
ธ.กสิกรไทย 16 19 26 32 19 4
ธ.ไทยพาณิชย 13 21 23 19 -22 1
ธ.กรุงเทพ 12 16 16 14 13 17
ชินแซทฯ 0 12 9 14 22 27
ขอมูลสวนใหญนําจากรายงานประจําปของแตละกิจการ มีบางรายการคํานวณเองจากงบการเงิน
อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน (ROE) = (กําไรสุทธิ ÷ สวนของผูถือหุน) × 100

สูงเปนอันดับหนึ่ง สูงเปนอันดับสอง (สูงถือวาดี)


เอไอเอสติดอันสองแตปเดียว สวนชินแซทฯนาสงสารจัง ชิงบวย

ผมไมใชนักเลนหุน ไมไดสนใจเรื่องนี้ จึงไมรูวา มีบริษัทใดบางที่มีอต


ั รา
ผลตอบแทนสูงๆ แตเชือ
่ มีอีกเยอะครับ ทั้งบริษัทขนาดใหญขนาดเล็ก
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 41

การเปรียบเทียบอัตรา ตองเปรียบเปนรายปไป บางปกิจการนี้มากกวากิจการโนน


บางปกจ
ิ การนี้นอยกวากิจการโนน ยากตอการจัดอันดับ ดังนั้นเพื่อใหงายตอการ
พิจารณา ขอสรุปเปนภาพรวมโดยใชคามัธยฐาน แลวจัดอันดับตามคามัธยฐาน

คามัธยฐาน (คาตรงกลาง: นําเอาอัตราทั้ง 6 ปของแตละกิจการมาเรียงอันดับจาก


นอยไปหามาก แลวใชคาของลําดับสาม บวก คาของลําดับสี่ แลวหารดวย 2) ของ
อัตราผลตอบแทน 6 ปของแตละกิจการ

ตารางแสดงการอันดับบริษัทตางๆดวยคา ROE
อันดับ ชื่อกิจการ ROE (%)
1 ปูนซิเมนตไทย 48
2 ปตท 36
3 อมตะคอรปฯ 30
4 ซีเอ็ด 28
5 เอไอเอส 25
6 แลนดแอนดเฮาส 24
7 น้ํามันพืชไทย 21
8 ชินคอรปฯ 20
9 ธ.กสิกรไทย 19
10 ธ.ไทยพาณิชย 16
11 ธ.กรุงเทพ 15
12 ชินแซทฯ 13
ถาใชคาเฉลี่ยธรรมดา (รวมทั้ง 6 ป แลวหารดวย 6) อันดับไมแตกตางวิธค
ี ามัธย
ฐานมากนัก ซินแซทฯจะอยูรองบวย คาเฉลีย
่ ธรรมดา ไมเหมาะที่จะนํามาใช เพราะ
มีความผิดปกติเกิดขึ้นกับ ไทยพาณิชย ป 45 (- 22 )
ตามหลักแลวไมควรใชทั้ง 2 วิธีนี้ ตองใชเอากําไรทั้ง 6 ปรวมกัน ได
เทาไร แลวหารดวย ยอดสวนของผูถือหุนทั้ง 6 ป แตเราจําเปนตองจัด
อันดับ เพราะเราอยากจะรู

ใครที่ยังขอใจวา ชินคอรปฯ เอไอเอส และ ชินแซทฯ เทานั้น


ที่เติบโตมาก เห็นตัวเลขนี้แลวคงจะหายของใจ
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 42

รายชื่อผูถือหุนใหญ 10 อันดับแรก

***************************************************************************************************
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 43

ราคาหุนและมูลคาตามบัญชีตอหุน
ถาทานมีความเขาใจ ราคาหุนตามมูลคาทีต
่ ราไว (Face Value or Par Value)
มูลคาตามบัญชีตอหุน (Book Value per Share) และ ราคาตลาดของหุน (Market
Price) แลว ใหไปอานหัว “ขออัตราสวนราคาหุนตอมูลคาตามบัญชี” เลย

ราคาหุนตามมูลคาที่ตราไว (Face Value or Par Value) มูลคาตามบัญชีตอหุน


(Book Value per Share) ไดเคยอธิบายไปครั้งหนึง่ แลว อยางไรก็ตามจะอธิบาย
ใหฟงอีกครัง้ ราคาหุน
 ตามมูลคาที่ตราไว หมายถึง ราคาทีเ่ ขียนไวในใบหุน เชน
หุนละ 10 บาท สมมติวาเราตองการลงทุนในบริษัทที่เปดขึ้นใหม เราจึงไปซื้อหุนที่
บริษัทนําออกจําหนายในราคาตามมูลคาที่ตราไวคือหุนละ 10 บาท เราซื้อจํานวน
100 หุน เราก็จะไดรบ
ั ใบหุนมา 1 ใบ ในใบหุน
 จะระบุชื่อเรา และ จํานวนหุนที่ถือ
100 หุน ราคาหุนละ 10 บาท เลขที่หุน เชน 00801 – 00900
บริษัทอาจจําหนายหุนในราคาสูงกวาราคาตามมูลคา เชน 15 บาทก็ได แมวาเราจะ
จายซื้อในราคา 15 บาทก็ตาม ในใบหุนก็ยังระบุไวที่ 10 บาท

มูลคาตามบัญชีตอหุนไดอธิบายไปแลวเชนกัน อธิบายตรงนี้อก
ี ทีก็แลวกันจะไดมี
ความตอเนือ
่ งกัน สมมติวาเราซื้อหุน 100 หุนในราคาตามมูลคาหุนละ 10 บาท สิ้น
ปที่ 1, 2, 3 บริษัทมีกําไรตอหุน (หลังภาษี) 2 บาท, 3 บาท, 3 บาท ยังไมมีการ
จายเงินปนผลเลย (เอากําไรไปลงทุนตอ) มูลคาตามบัญชีตอหุนเมื่อสิ้นปที่ 1, 2, 3
คือ 12 บาท, 15 บาท, 18 บาท

 ตามบัญชีเมื่อสิ้นปที่ 3 ซึง่ มีมีมูลคา 18 บาทนั้น เปนมูลคาที่บริษัท


มูลคาหุน
สามารถจายคืนใหกับผูถือหุนไดในกรณีเลิกกิจการเมื่อสิน
้ ปที่ 3 เปนการประเมิน
จากสินทรัพยสุทธิ (Net Asset Value) ณ วันสิน
้ ปที่ 3 อันนี้เปนแนวความคิดในการ
อธิบายความนะครับ ซึง่ ถาเลิกกิจการจริงๆ เงินที่ผูถือหุนไดรับคืนอาจจะแตกตางไป
จาก 18 บาทตอหุน ตัวอยางเชน

บริษัทที่เราถือหุนอยูน
 น
ั้ เมื่อไดรบ
ั เงินที่ไดจากการขายหุน
 ตอนเริ่มตัง้ บริษัท
(พูดงายๆแบบชาวบาน ก็คือ เงินทีเ่ ราและผูที่ซื้อหุนคนอืน
่ ๆ รวมกันลงทุนเพื่อเปน
เจาของบริษัทรวมกัน ซึ่งเรียกวา ผูถือหุน) ก็จะนําไปซื้อที่ดิน อาคาร อุปกรณ และ
อื่นๆ เพื่อใชเปนเครื่องมือในการทําธุรกิจ พอถึงสิ้นปที่ 3 บริษัทมีเงินสดคงเหลือ 2
ลาน สินทรัพยประเภทอื่นอีก 15 ลาน และ มีหนี้สิน 1 ลาน
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 44

ดังนั้น สวนของผูถือหุน
 (สินทรัพยสุทธิ) จะเทากับ 16 ลาน (2 + 15 - 1)
สินทรัพยประเภทอื่น 15 ลานนัน
้ เขาเรียกวาเปนราคาตามบัญชี ถาขายไดในราคา
15 ลาน เราก็จะไดรบ
ั เงินทุนคืนหุนละ 18 บาท ในโลกแหงความเปนจริงสินทรัพย
ี วั ตน เชน สิทธิในสัปทาน คาความ
ของบริษัทจะมีทั้งสิง่ ที่มีตัวตน และสิ่งที่ไมมต
นิยม ซึง่ มีแตตัวเลขในบัญชี แตเปนสิ่งที่ไมมต
ี ัวตน

กลับไปที่มล
ู คาตามบัญชี 18 บาทตอหุนเมือ
่ สิ้นปที่ 3 ถาเราขายหุน
 นี้ใหกบ
ั เพือ
่ น
เราในราคาหุนละ 20 บาท อันนี้ไมเกี่ยวกับบริษัทนะครับ เปนเรื่องระหวางเรากับ
้ บริษัทมีหนาที่อยางเดียว คือ เปลี่ยนรายชื่อผูถือหุนจากเราเปนเพือ
เพื่อนเทานัน ่ น
เราเทานั้น ไมมีผลตอมูลคาตามบัญชี ก็คือ ยังเปน 18 บาทเทาเดิม ไมไดมี
ผลกระทบกับฐานะการเงินของบริษท
ั แตอยางใด คุณซื้อหุน
 ไวแลว คุณจะขายตอ
ใหใครก็เปนเรื่องของคุณ ไอที่เราเห็นมีการซื้อขายหุนในตลาดหลักทรัพย วันละ
่ ๆลาน มันเปนเงินจากกระเปาผูซื้อ วิ่งไปเขากระเปาผูขาย ไมไดวิ่งไปเขาที่
เปนหมืน
บริษัท สวนใหญจะถือหุนไวไมนาน รอวาราคาสูงขึ้นก็จะขายออกไป ซึ่งเปนเรื่อง
ของการเก็งกําไร แตถาซื้อแลวถือไวยาวนานเลย อันนี้ถือเปนการลงทุนในบริษัท

ราคาตลาดของหุน

ผมสมมติตอ
 แลวกันวา หุนที่เราลงทุนซื้อไวในราคาตามมูลคาหุนละ 10 บาทนั้น
ั ที่เราถือหุนอยูนี้ เขาสู
(มีมูลคาตามบัญชี 18 บาทตอหุนเมื่อสิ้นปที่ 3) และบริษท
ตลาดหลักทรัพยเมื่อปที่ 7 เราถือหุนมาเรื่อยๆจนถึงปที่ 10 มีมูลคาตามบัญชี 30
บาทตอหุน

ในปที่ 10 ราคาซื้อขายหุนในตลาดหลักทรัพยของหุนบริษัทที่เราถืออยูนี้มีราคา
ต่ําสุด 40 บาทตอหุน และสูงสุด 70 บาทตอหุน

ทีนี้ถาบริษท
ั ตองการเงินทุนเพิ่ม ก็อาจจะใชวิธีกู หรือนําหุนออกขายเพิ่มเติม เชน
นําหุนออกขายอีก 2 ลานหุน ซึ่งมักจะขายในราคาตลาด เชน 60 บาท นายเอกซึ่ง
เปนผูถือหุน
 รายใหญ (กอนที่จะนําหุนออกขายเพิ่ม ถือหุน
 50%) ตองเปนผูซื้อหุน
ที่ออกใหมนี้จํานวน 1 ลานหุน จึงจะรักษาสัดสวนการถือหุนในอัตราเดิมไวได คือ
50% ถาซื้อต่ํากวา 1 ลานหุนสัดสวนการถือหุนจะลดลงต่ํากวา 50% สมมติวามีผู
่ ริษัทไดรับจํานวน 120 ลาน จะแยกบันทึกเปน 2 รายการคือ
ซื้อครบ เงินลงทุนทีบ
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 45

หุนสามัญ 20 ลานบาท และ สวนเกินมูลคาหุน 100 ลานบาท อยาลืมนะครับวา


เราซื้อ 1 หุนจาย 60 บาท ในใบหุน
 เขียนมูลคาหุนละ 10 บาทเหมือนเดิม

ปจจัยอะไรที่สงผลกระทบตอการขึน
้ ลงของราคาหุน?? ถาจะตอบแบบงายๆก็คอ

เมื่อจํานวนหุนที่ผูซื้อตองการซื้อ มีมากกวา จํานวนหุนผูขายตองการขาย ราคาหุนก็
้ พูดงายๆก็คือ ซื้ออนาคต เพราะคาดหวังในอนาคตวา จะไดรับเงินปนผล
จะสูงขึน
ในอัตราทีส
่ งู เมื่อเทียบกับการเอาเงินจํานวนนัน
้ ไปลงทุนอยางอื่นๆ หรืออาจจะคาด
วาในวันตอๆไป ราคาหุนจะสูงขึ้นกวาราคาที่ซื้อมา เมื่อขายออกไปจะมีกําไร

ปจจัยอะไรที่มีผลกระทบตอราคาหุน มีหลายอยาง เชน ภาวะเศรษฐกิจโดยรวม


และผลการดําเนินงานของบริษัทนั้นๆ เปนตน ผลการดําเนินงานของบริษัทนัน
้ ถือ
วามีสวนสําคัญมาก จะออกมาดีมีกาํ ไรมากขนาดไหน ขึ้นอยูความสามารถของ
ผูบริหารของบริษัทในการกําหนด ทิศทางของบริษัท กลยุทธของบริษัท

อัตราสวนราคาหุน
 (ราคาตลาด) ตอมูลคาตามบัญชี
ก็คือเอาราคาตลาดของหุนมาเทียบกับมูลคาตามบัญชีตอ
 หุน เพื่อดูวาราคาตลาด
เปนกี่เทาของมูลคาตามบัญชี ขอยกตัวอยางเดิม หุน
 ที่ทานถือไวเมือ
่ สิ้นปที่ 10 มี
มูลคาตามบัญชี 30 บาทตอหุน และ ราคาหุน
 (ราคาตลาด) เมื่อตอนสิ้นป 60 บาท

ดังนั้น ราคาหุนเปน 2 เทาของมูลคาตามบัญชี (60 ÷ 30) เหตุที่นก  ้อ


ั ลงทุน (ผูซ ื
หุน) ยอมจายเปน 2 เทาเพราะ เขามองวา บริษัทที่เราถือหุนอยูนน
ั้ มีศักยภาพที่จะ
เติบโตสูงในอนาคต

การคํานวณหาอัตราสวนราคาหุนตอมูลคาตามบัญชี ผมจะคํานวณหาเฉพาะของชิน
คอรปฯ ไมคํานวณของ AIS และ ชินแซทฯ เพราะวา AIS และ ชินแซทฯ เปน
บริษัทยอยของชินคอรปฯ และหุนที่ตระกูลชินวัตร ถือและขายใหเทมาเสกคือหุน
ชินคอรปฯ
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 46

ครอบครัวนายทักษิณขายหุนชินคอรปฯไปเมือ
่ เดือนมกราคมป 2549 ผมจึงใชราคา
หุนและมูลคาตามบัญชี ณ วันสิ้นป 2548 มาคํานวณหาอัตราสวนราคาหุนตอมูลคา
ตามบัญชี (P/BV) เพื่อแสดงใหเห็นวาราคาหุน
 ชินคอรปฯไมไดเพิ่มขึน
้ อยางผิดปกติ
(สถิติราคาหุนในอดีตที่สามารถคนหาได มีเฉพาะ ราคาเปด-ปด ราคาสูงสุด-ต่ําสุด)

ชื่อกิจการ ราคาหุน (บาท) มูลคาตามบัญชี (บาท) P/BV (เทา)


ปูนซิเมนตไทย 244.00 53.30 4.58
อมตะคอรปฯ 14.40 3.94 3.65
ซีเอ็ด 5.90 1.91 3.09
แลนดแอนดเฮาส 8.35 2.80 2.98
ชินคอรปฯ 42.25 14.39 2.94
ปตท * 226.00 83.02 2.72
น้ํามันพืชไทย 11.30 5.17 2.19
ธ.กสิกรไทย * 70.00 32.91 2.13
ธ.ไทยพาณิชย * 52.50 28.97 1.81
ธ.กรุงเทพ * 105.00 73.24 1.43
* ราคาหุนตามมูลคาที่ตราไว (Par Value) 10 บาทตอหุน นอกนั้น 1 บาทตอหุน
ผมไดบอกไวแลววา ผลการดําเนินงานของบริษัทถือเปนปจจัยหนึง่ ที่มผ
ี ลตอราคา
หุน ซึ่งถาทานลองยอนไปดู ผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุนที่แสดงอยูในตาราง
ที่ผานมา (ตารางแสดงการอันดับบริษัทตางๆดวยคา ROE) จะเห็นไดวามันเปนไป
ในทางเดียวกันกับอันดับในตารางนีค
้ รับ

ใครที่ยังของใจวาราคาหุนของชินคอรปฯขึ้นสูงอยูบริษัทเดียว
เห็นตัวเลขนี้แลวคงจะหายของใจ
เมื่อครอบครัวชินวัตรและดามาพงศขายหุน
 เมือ
่ เดือนมกราคมป 2549 ในราคาหุน
ละ 49.25 บาท ผมไมรูวากอนการขาย ราคาหุนชินคอรปฯในตลาดหลักทรัพยเปน
เทาใด แตราคาสูงสุดในป 2548 เทากับ 47.75 บาท (ปูนซิเมนต 272 บาท)
คําถามก็คือ ทําไมผูซื้อหุนจึงยอมจายถึง 49.25 บาท คําตอบก็คือ สิ่งที่ผมไดเขียน
ไปแลว “เพราะเขามองวา บริษัทชินคอรปฯ มีศักยภาพทีจ
่ ะเติบโตสูงในอนาคต”
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร นับวาจะเขามามีบทบาทตอชีวิตประจําวัน
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 47

ของคนทุกระดับชัน
้ ธุรกิจดานนีจ
้ ึงมีอนาคตอีกยาวไกล นีค
่ ือเหตุผลที่เขายอมจาย
ซื้อในราคาสูง ไมใชนายกทักษิณที่ทําใหราคาหุนขึ้นสูง มันไมเกีย
่ วกัน

ผมคํานวณคา P/BV ใหทานเห็นเพื่อใหทราบวา คา P/BV ของชินคอรปไมไดสงู ปด


อยูบริษัทเดียว ดังที่ผูบด
ิ เบือนทั้งหลายตั้งขอกลาวหา บางครั้งเราไดยน
ิ พวกเกลียด
ทักษิณพูดเรื่องนี้ เราก็ไมรูจะโตตอบอยางไร ผมจึงพยายามหาทางอธิบายใหทาน
เขาใจไดงายๆ เพื่อจะไดนําไปอธิบายใหคนที่ยงั ของใจอยู เพราะบางคนยัง
คลางแคลงใจในเรื่องพวกนี้อยู ขอกลาวเรื่องหุน
 เรื่องภาษี มันเปนเรื่องที่งายตอ
การกลาวหา แตอยากในการอธิบายใหเขาใจ ชวยกันครับ พูดสั้นๆก็ได “ชินคอรปฯ
แค 3 เทา แตปูนซิเมนตไทยสูงถึง 4 เทาครึ่ง” ผมไมใชนักเลนหุน เลยไมรวู ามี
หุนของบริษัทใดที่มีคา นี้สูงๆอีก เชื่อวามีอีกเยอะ ในป 2546 หุนของปูนซิเมนตไทย
มูลคาตามบัญชี ณ วันสิน
้ ป 29.3 บาทตอหุน ราคาหุน ณ วันสิ้นป 254 บาทตอหุน

ดังนั้นคา P/BV ประมาณเกลือบ 9 เทา (254 ÷ 29.3) โอโฮ นาอิจฉาจัง
คุณนพดล ปทมะ ไดพด
ู ไววา “เมื่อป 2537 ดัชนีตลาดหลักทรัพย อยูที่ 1532 ทาน
ทักษิณมีหุนมูลคาประมาณ 118,000 ลานบาท แตในป 2544 หลังวิกฤตตมยํากุง
ดัชนีอยูที่ 324 หุนของทานกอนเปนนายกมีมูลคาประมาณ 31,000 ลานบาท
ในป 2549 ดัชนีอยูที่ 750 มูลคาหุน
 ที่ขายอยูท
 ี่ประมาณ 73,000 ลานบาท จึง
สอดคลองกับราคาหุนตางๆในตลาดหลักทรัพย”

ดัชนีตลาดหลักทรัพยในป 2537 อยูที่ 1532 และ ป 2549 อยูที่ 324 ดัชนีตลาด


หลักทรัพยเปนตัวเลขทีแ
่ สดงถึงภาพรวมของราคาหุนทุกตัว พูดงายๆก็คือถาดัชนีมี
คามากแสดงวา ราคาหุน
 ของบริษัทตางๆ (ในภาพรวม) มีราคาสูง ราคาหุนของ
บริษัทตางๆ (ภาพรวม) ในป 2549 สูงเปน 5 เทาของป 2537 (1532 ÷ 324 =
ประมาณ 5) ตามตัวเลขของคุณนพดลในป 2537 ราคาหุนของชินคอรปฯนาจะ
ประมาณ 79 บาทตอหุน
 คนละเรื่องกับตอนทีข
่ ายเลย 49.25 บาทตอหุน

เมื่อพูดถึงเรือ
่ งการขายหุนแลว ก็อดจะพูดถึงศาสดาเต็กซลิ้มไมได เรือ
่ งที่มันกลาว
นายกทักษิณตอนขายหุน

ศาสดาเต็กซลิ้มมันบอกวา “ทักษิณมันแกกฎหมายได 2 วัน มันก็ขายหุน”


แลวสาวกทั้งโขลงก็พรอมใจกันอุทานวา “เลวมาก”
่ งจริงแตไมใชทั้งหมด และเปดเผยขอมูลไมครบ
สิ่งที่ศาสดาเต็กซลิ้มพูด มันเปนเรือ
ทําใหผูไดรบ
ั ขอมูลเขาใจผิด ตองยอมรับวาเต็กซลิ้มมันเกงในเรื่องแบบนี้จริงๆ
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 48

การแกไขกฎหมายประกอบกิจการโทรคมนาคม เริ่มตนเมือ
่ ปลายป 2544 โดย
บริษัทโทเท็ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น หรือ TAC (DTAC ในปจจุบน
ั ) บริษัทซีพีออ
เรนจ และ ทีทีแอนดที รองขอใหบริษัทตางชาติถือหุนในบริษัทที่ประกอบกิจการ
โทรคมนาคมไดมากกวา 25% โดยใชเวลานานถึง 4 ป จึงประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาเมือ
่ วันที่ 21 มกราคม 2549 และในวันที่ 23 มกราคม 2549 ตระกูลชินวัตร
และดามาพงศไดขายหุน
 ของชินคอรปฯออกไปใหแกเทมาเส็ก

เห็นมั๊ยครับวาเต็กซลิ้มมันเขาใจยิบประเด็นมาโจมตี

แกไขกฎหมายครัง้ นัน
้ ชินคอรปฯไมไดเปนผูรอ
 งขอ และสมาชิกพรรคประชาธิปต
 ย
ไมไดอภิปรายคัดคาน และ ก็ไมไดลงมติคด
ั คานการแกไขกฎหมายฉบับนีด
้ วย

ตระกูลเบญจรงคกุลก็ขายหุน DTAC ใหกับตางชาติ 38% เมื่อเดือนตุลาคม 2548


กอนการแกไขกฎหมายเสียดวยซ้ํา

เหลานีค
้ ือขอเท็จจริงในอดีตทีค
่ วายเหลืองฝูงใหญยังไมรู มันยังคงกินหญาอยู
เหมือนเดิม หัดฟงเพลงของ “คนบางสนาน” เขาบาง

นองนางของพี่ คนดีถูกหลอกไดไง
ไปเชื่อบักใส หัวหมู เคราแพะ ทีไ
่ หนไมรู
กลัวเจาถลํา พาชาติชอกช้ํา เพราะโดนเปาหู

อีกเรื่องหนึง่ ที่อยากพูดถึงคือ เรื่องการขายหุน


 ของครอบครัวชินวัตร ซึ่งคอลัมนิสต
คนหนึง่ ในหนังสือพิมพยักษใหญ เขียนวา “ราคาหุน 1 บาท ขายในราคาหุนละ 49
บาท ถือวามีกําไรหุนละ 48 บาท จํานวน 1,500 ลานหุน ตองเสียภาษีประมาณ
27,000 ลานบาท (48 × 1,500 ลาน × 37%)”

ผมนึกตําหนิในใจวา “ไมรูจริง ยังเสือกแสดงความเห็นอีก โงแลวยังแสดงความสะ


เลออีก”

นอกจากนีย
้ งั ไดเคยอานความเห็นของคนหนึ่งในเว็บบอรด (ที่ใดจําไมได) เขาบอก
วา “เขาขายกวยเตี๋ยว ยังเสียภาษีมากกวาทักษิณเลย”
บางคนบอกวา “ทักษิณรับเงินปนผลก็ไมเสียภาษี”

เจากระบือเหลืองเอย กินแตหญา หัดกินอาหารของคนบาง จะไดเลิกโงเสียที


มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 49

เรื่องของแอมเพิลริช
นายกทักษิณจัดตั้งบริษัท ชินวัตรคอมพิวเตอร จํากัดขึ้นเมื่อป 2526 ตอมาได
เปลีย
่ นชื่อเปนบริษัท ชินคอรปอเรชั่น จํากัด กอนป 2542 ตระกูลชินวัตรถือหุนใน
ชินคอรปฯ ประมาณ 1,400 ลานหุน ราคาตามมูลคาทีต
่ ราไว (Par Value) หุนละ 1
่ ราไว หุนละ 10 บาท แลว
บาท (แตเดิมประมาณ 140 ลานหุน ราคาตามมูลคาทีต
มาแตก 1 หุนเปน 10 หุน) คิดเปน 49% (โดยประมาณ) ของจํานวนหุนที่บริษท

ชินคอรปฯ ที่ไดนําออกจําหนายแลว

กลางป 2542 ไดโอนหุนประมาณ 300 กวาลานหุนไปอยูในบริษท


ั แอมเพิลริช (เปน
บริษัทที่นายกทักษิณตัง้ ขึ้นบนเกาะบริติเวอรจน
ิ้ ไอสแลนด และถือหุน
 100%) เพื่อ
เตรียมจะไปจดทะเบียนในตลาดหุน
 แนสแดกของสหรัฐฯ จุดประสงคเพื่อจัดหา
เงินทุนจากตลาดหุนแนสแดก เพือ
่ นํามาขยายการลงทุนดานโทรคมนาคมใน
ประเทศไทย (พูดงายๆก็คือ หุนจํานวน 300 กวาลานหุนนี้ สามารถซื้อขายกันไดที่ตลาด
หุนแนสแดก ถาไดมีการจดทะเบียนเรียบรอยแลว) และเรื่องนี้ก็ไดมีการทําหนังสือ
ชี้แจงไปที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

ตระกูลชินวัตรถือหุนชินคอรปฯโดยตรงประมาณ 1,100 ลานหุน และถือผานแอม


เพิลริช 300 ลานหุน สรุปนายกและคุณหญิงยังถือหุนในสัดสวนเดิมคือ 49%

ตอมาปลายป 43 นายกทักษิณและคุณหญิงพจมาน โอนหุนชินคอรปฯทั้งหมด


(1,100 ลานหุน บวก 300 ลานหุน) ใหพานทองแท ซึ่งตอนนั้นพานทองแทบรรลุ
นิตภ
ิ าวะแลว เหตุผลในการโอนเพราะเตรียมตัวเขาสูการเมือง เพื่อจะไดไมผด
ิ ตาม
ขอกําหนดตามรัฐธรรมนูญ

ตนป 2544 ชินคอรปฯตัดสินใจเลื่อนแผนการจดทะเบียนในตลาดแนสแดค เพราะ


ตลาดแนสแดคไดเขาสูชวงขาลง จนกระทั่งถึงตนป 2549 ก็ไมไดมีการจดทะเบียน
พูดแบบชาวบานก็คือ ไปนอนหลับอยูเฉยในแอมเพิลริชเปนเวลา 7 ป

ตนป 2549 เลิกและชําระบัญชีบริษัทแอมเพิลริช (Liquidation) โอคและเอมขาย


หุนทั้งหมดเกลือบ 1,500 ลานหุน (เดิมประมาณ 1,100 ลานหุน บวก 300 ลานหุน
มีการเปลีย
่ นแปลงจํานวนหุนบางเล็กนอย และชวงป 2544 ถึง 2549 มีการโอนหุน
จากโอคใหเอม ก็คือ โอคแบงสมบัติใหนองสาวนั่นเอง) ในราคาหุน
 ละ 49.25 บาท
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 50

คตส.ฟองวา หุนจํานวน 300 กวาลานหุนนั้น ตองเสียภาษีเพราะวา โอคและเอมซื้อ


หุนกลับคืนมาจากแอมเพิลริชในราคาตามมูลคาที่ตราไว (Par Value) 1 บาท
มีกําไรเกิดขึ้นหุนละ 48.25 บาท (49.25 – 1.00) ตองเสียภาษี

ตลกมั๊ย? 1,100 ลานหุนไมตองเสียภาษี สวนอีก 300 ลานหุน


 ตองเสียภาษี

การที่นายกทักษิณโอนหุนใหโอคซึ่งเปนลูกชาย โอคตองเสียภาษีหรือไม?
คําตอบก็คอ
ื ไมตองเสียภาษี เปนขอยกเวนตามกฏหมาย
กรณีเชนนี้เคยเกิดขึน
้ มาแลว กลาวคือ นายกรณ จาติกวณิชย ไดรบ
ั โอนหุนบริษัท
หลักทรัพย เจเอฟธนาคม จํากัด จากพอ ซึง่ นายกรณ จาติกวณิชย ก็ไมตองเสีย
ภาษี และ นายอภิสิทธิ์ไดรับเงินจากการขายทีด
่ ินที่หัวหินของพอ นายอภิสิทธิ์กไ
็ ม
ตองเสียภาษี

มีการกลาวหาวา นายกทักษิณตั้งบริษัทแอมเพิลริชขึ้นเพื่อลบเลี่ยงภาษี

แอมเพิลริชทําหนาที่เปนเพียงผูถือหุนชินคอรปฯแทนตระกูลชินวัตรเทานั้น
นอนหลับกอดหุนชินคอรปฯ 300 ลานหุนอยูในเกาะบริติเวอรจิ้นไอสแลนด
ถาไมนําไปใหแอมเพิลริชถือไว ตระกูลชินวัตรก็สามารถขายหุนจํานวนนี้
ในตลาดหลักทรัพย โดยไมตองเสียภาษีอยูแลว

ผมขอยอนกลับไปตอนที่นายกทักษิณจัดตั้งบริษัทแอมเพิลริช
แลวโอนหุนประมาณ 300 ลานหุนไปอยูใ นแอมเพิลริช
มีนักการเมืองคนหนึ่งในพรรคแมลงสาปพูด ในทํานองวา ถาแอมเพิลริชยังไมได
จายเงินใหนายกทักษิณประมาณ 300 ลานบาท (300 ลานหุน x 1 บาทตอหุน)
นายกทักษิณตองแสดงในบัญชีทรัพยสน
ิ และหนี้สินวา
มีลูกหนี้ชื่อแอมเพิลริชประมาณ 300 ลาน
และนายประเสริฐ นาสกุล อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญไดเขียนคําพิพากษา
เกี่ยวกับ การซื้อขายหุนของนายกฯทักษิณกับบริษัทขามชาติวา (ตอนพิจารณาคดี
ที่นายกทักษิณแสดงบัญชทรัพยสน
ิ และหนี้สน
ิ ไมครบ ทีเ่ รียกวา ซุกหน แตบริษัท
ขามชาติที่วา นี้ไมใชแอมเพิลริช แตเปน วินมารคซึ่งตั้งขึน
้ บนเกาะบริติเวอรจน
ิ้
ไอสแลนด เหมือนกัน)
“ทําใหเกิดปญหาสงสัยตอไปวา บริษัทผูซื้อใชเงินสกุลใด มาจากที่ใด
ชอบดวยกฎหมายหรือไม ”
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 51

“นาเสียดายจัง ที่ผูถูกรองไมไดอธิบายดวย” (ผูถูกรองคือนายกทักษิณ)


ผมขอตอบแทนนายกทักษิณเองแลวกันวา อธิบายใหฟง ก็ไมรูเรื่อง
โอย เขารกเขาพงกันไปใหญเลย นาสมเพชโวย
ผมเคยใหความเห็นเรื่องการแสดงบัญชีทรัพยสินและหนีส
้ ินของนักการเมืองไววา
"การตัดสินคดีความตางๆที่มีความเกี่ยวของกับศาสตรดานอื่นๆ มีความผิดเพี้ยน
บกพรองเกิดขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งศาสตรทางดานบัญชีและการเงิน"
(ยกมาเพียงบางสวน)

กรรมาธิการตางประเทศของวุฒส
ิ ภาก็ไดสอบถามเกี่ยวกับเรื่องนีเ้ หมือนกัน
(หลังจากทีต
่ ระกูลชินวัตรไดมีการขายหุนใหเทมาเสกไปแลว)
ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล ผูวาการธนาคารแหงประเทศไทย (ธปท.) กลาว
ในที่ประชุมกรรมาธิการตางประเทศวุฒิสภาถึงกรณีที่บริษัทแอมเพิลริชวา
"จากการตรวจสอบยอนหลังไปเมื่อป 2542 ไมพบวามีการนําเงินออกไป
จํานวนมากเพื่อไปจดทะเบียนตัง้ บริษัทแอมเพิลริช เนือ
่ งจากการจดทะเบียน
โดยทั่วไปใชเงินแค 1-2 หมื่นดอลลารสหรัฐ หรืออาจจะ 1 แสนดอลลารสหรัฐ
ซึ่งไมตองขออนุญาตแบงกชาติ
สวนการชําระคาหุนกันในชวงนั้น คาดวานาจะเปนการชําระเงินโดยวิธี บุคคีปปง

ที่เปนเรื่องทางบัญชีประเภทหนึ่ง และเปนลักษณะบริษัทในเครือเจาของเดียวกัน"
บุคคีปปง
 (Bookkeeping) ที่หมอมอุยกลาวถึงนั้นก็คือ การบันทึกบัญชี

การที่นายกทักษิณโอนหุนไปไวทแ
ี่ อมเพิลริช
คนทั่วไปทีไ
่ มไดมีความรูทางดานบัญชี มักจะมองวา นายกทักษิณขายหุน
ใหกับแอมเพิลริช แอมเพิลริชจะตองจายเงินใหกับนายกทักษิณ 300 ลานบาท
ถาแอมเพิลริชยังไมไดจายเงิน นายกทักษิณตองรายงานในบัญชีทรัพยสินและ
หนี้สินวา มีลูกหนีค
้ ือแอมเพิลริช 300 ลานบาท
นั่นแหละเปนความคิดของไอพวกพรรคแมลงสาปหนาโง อุตสาหไปเรียนจบถึง
เมืองนอกเมืองนา แมรงแกลงโงหรือโงจริงๆวะ
พวกมึงดูอยางหมอมอุย ซีวะ ทานไมไดจบมาทางดานบัญชี ทานยังรูเลยวา
เขาจายเงินกันโดยวิธี บุคคีปปง
 (Bookkeeping)
ไอแมลงสาปหนาโง แมรงโงคนเดียวยังไมพอ ยังแพรระบาดโรคโง
ไปยังคอลัมนิสตอก
ี ปกติกรูไมอยากจะวิจารณพวกมรึงเลย เพราะกรูรูดีวา
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 52

สติปญญาของพวกมรึงมีจํากัด มีโอกาสไดฟงธรรมก็ไมอาจเขาใจความหมายได
เปรียบเหมือนดอกบัวที่จมอยูใตโคลนตม ไมมีโอกาสโผลขึ้นเหนือน้าํ
แลวเตาปลาก็มาแดกมรึง
มาอานความโงของคอลัมนิสตตัวนี้ มันชอบดานายกทักษิณ
"ประเด็นตายตอไป ก็คอ

ตัวเองขายหุนตัวเองใหบริษัทที่ตงั้ ใหมบนเกาะบริติชเวอรจิ้น อันเปนของตัวเองแลว
ปรากฏวา เมื่อเขารับตําแหนงนายกรัฐมนตรี ในป พ.ศ.2544
ในบัญชีแสดงทรัพยสน
ิ ที่ยื่นตอ ป.ป.ช.ไมปรากฏวา มีชอ
ื่ บริษัท Ample Rich
อยูในบัญชีแสดงทรัพยสินของนายกฯทักษิณ แตอยางใด!?"
ขอใหพวกมรึงจงรักษามาตรฐานของความโงตอไป อยาใหความโงลดลงแมแตนอย
เดี๋ยวจะเสียชื่อสถาบันโง
้ บนเกาะบริติเวอรจิ้นไอสแลนด
เนื่องจากแอมเพิลริชเปนบริษัทที่ตั้งขึน
ผมไมทราบวามีกฏหมายบังคับเกี่ยวกับการจัดทําบัญชีอยางไร
มาตรฐานการบัญชีทใี่ ชปฏิบัติเปนอยางไร
เพราะกรณีของแอมเพิลริชนัน
้ ไมไดมีกิจกรรมทางการคาเกิดขึ้นเลย
ตองมีการจัดสงงบการเงินหรือไม
ขอยกตัวอยางการจัดตัง้ บริษัทใหเขาใจกอน ซึ่งก็เคยไดกลาวมาแลว
ั คาขายสินคาตองการเงินลงทุน
นายแดงกับเพื่อนอีก 6 คน รวมกันจัดตั้งบริษท
จํานวน 10 ลานบาท เพื่อนําไปซือ
้ ที่ดิน อาคาร อุปรณ
และกันไวเปนเงินทุนหมุนเวียนอีกสวนหนึ่ง
เงินลงทุนทีต
่ องการจะไดมาจากการนําหุนออกขาย 1 ลานหุน ราคาหุนตามมูลคา
ที่ตราไว (Par Value) หุนละ 10 บาท
(1) นายแดงมีที่ดน
ิ และอาคารราคา 8 ลานบาท ซึ่งจะใชเปนที่ทําการบริษัท
 มา 1 ใบ ในใบหุนจะระบุชื่อนายแดง จํานวนหุนที่ถือ
นายแดงจะไดรับใบหุน
8 แสนหุน ราคาหุนละ 10 บาท เลขที่หุน เชน 0000001 – 0800000
(2) เพื่อนอีก 6 คนนําเงินสด 2 ลานบาทมาซือ
้ หุน ซึ่งก็จะไดรับใบหุน
 เหมือนกัน
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 53

บันทึกบัญชีอยางงายสําหรับบริษท
ั ของนายแดงและเพื่อนตอนเปดบริษัท

บัญชีเงินสด
(2) 2,000,000

บัญชีทด
ี่ ินและอาคาร
(1) 8,000,000

บัญชีหน
ุ สามัญ
(1) 8,000,000
(2) 2,000,000
10,000,000

งบดุล (ฐานะทางการเงิน) ของบริษัทก็จะบอกวา ณ วันที่นี้นะ บริษัทมีเงินสด 2


ลานบาท ที่ดินและอาคาร 8 ลานบาท สวนของผูถือหุน (หุนสามัญ) 10 ลานบาท
แอมเพิลริชก็จะมีแค 2 บัญชีคือ หลักทรัพยฯ-หุนชินฯ และ หุนสามัญ
มาดูการบันทึกบัญชีของแอมเพิลริช
กลางป 2542 นายกทักษิณไดโอนหุนประมาณ 30 กวาลานหุน (32.92 ลานหุน
 )
ราคาตามมูลคาทีตราไว (Par Value) หุนละ 10 บาทไปอยูในบริษท
ั แอมเพิลริช
ตอมาแตก 1 หุนเปน 10 หุน เพราะฉะนั้น จํานวนหุนจะกลายเปน 329.2 ลานหุน

Par Value จากหุนละ 10 บาท ก็จะกลายเปน หุนละ 1 บาท
ที่แอมเพิลริชที่ถืออยูเดิม 32.92 ลานหุน กลายเปน 329.2 ลานหุน
ผมจะใชจํานวน 329 ลานหุน ราคาหุน 1 บาทแสดงการลงบัญชี

ิ้ ไอสแลนด ซึง่ เปนที่


ผมขอกลาวอีกครั้งวา ผมไมทราบวาที่เกาะบริติเวอรจน
จัดตั้งบริษท
ั แอมเพิลริช มีกฏหมายบังคับเกี่ยวกับการจัดทําบัญชีอยางไร
มาตรฐานการบัญชีทใี่ ชปฏิบัติเปนอยางไร
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 54

ทีนี้ถาจะแสดงการบันทึกบัญชีตอนที่นายกทักษิณโอนหุนใหแอมเพิลริช
มันก็มีปญ
 หาวาควรจะบันทึกดวยราคา Par Value หุนละ 1 บาท
หรือ จะใชมล
ู คาตามบัญชี (Book Value) หรือ จะใชราคาตลาด ณ วันโอน
ขออธิบายเรื่องมูลคาตามบัญชี ซึ่งไดเคยอธิบายไปแลว เอาอีกครั้งก็แลว
้ ใหม ตองการเงินลงทุน 1 ลานบาท
บริษัท เอกชัย จํากัด เปดบริษัทขึน
นําหุนออกขาย 1 ลานหุนราคาตามมูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท
เราอยากจะเปนเจาของบริษัท ก็เลยซื้อไว 1 หุน
 (จายเงิน 1 บาท)
บริษัทอาจจะขายในราคาสูงกวา 1 บาทก็ได เชน 1.05 บาท
ถาขายในราคา 1.05 บาท เราก็ตองจายเงิน 1.05 บาท
ในใบหุน
 ก็จะเขียนไววา หุนละ 1 บาท ถาถามวาเมื่อบริษท
ั ขายหุนไดหมดแลว
มูลคาตามบัญชีจะเปนเทาใด คําตอบก็คือ 1.05 บาท
เอาเปนวาขายในราคา 1 บาทก็แลวกัน สิ้นปที่ 1, 2, 3 บริษัทมีกําไรหลังภาษี
หุนละ 0.30 บาท , 0.50 บาท , 0.40 บาท ยังไมมีการจายเงินปนผลเลย
ดังนั้น มูลคาตามบัญชีตอหุนเมื่อสิน
้ ปที่ 1, 2, 3 จะเทากับ
1.30 บาท , 1.80 บาท , 2.20 บาท ตอมาตนปที่ 4 บริษัทจายเงินปนผล
(เอากําไรมาจายนัน
่ เอง) หุนละ 0.60 บาท เพราะฉะนั้น มูลคาตามบัญชีตอหุน
ณ ตนปที่ 4 จะเทากับ 1.60 บาท (2.20 - 0.60)

ผมไมมีขอมูลมูลคาตามบัญชีตอหุน
 ของหุนชินคอรปฯในป 2542
แตเมื่อสิน
้ ป 2543 มูลคาตามบัญชีตอหุนเทากับ 6.85 บาท
ผมใชวิธีประมาณเอาแลวกันวา หุน
 ละ 5.00 บาท สวนราคาซื้อขายหุน
ชินคอรปฯในตลาดหลักทรัพยเปนเทาใด เอาเปนวา 6.00 บาทก็แลวกัน
ควรใชราคาเทาใดบันทึกบัญชี 1 บาท หรือ 5 บาท หรือ 6 บาท
ตามหลักควรจะใชราคา 6 บาท บันทึกการโอนหุน
ผมใชราคาหุนละ 1 บาทบันทึกบัญชีก็แลวกัน เพื่อจะไดงายตอการอธิบาย
และคิดวาถาแอมเพิลริชบันทึกบัญชีคงใชราคา 1 บาท
 ทั้งหมด 329 ลานหุน หุนละ 1 บาท รวมเปนเงิน 329 ลานบาท)
(จํานวนหุน

กลางป 2542 นายกทักษิณโอนหุน


 329 ลานบาท ไปใหแอมเพิลริช
ดังนั้น หุน
 ชินคอรปฯ ก็จะกลายเปนสินทรัพย (ทรัพยสน
ิ ) ของแอมเพิ่ลริชที่เรียกวา
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 55

หลักทรัพยในความตองการของตลาด (Marketable Securities)


เปรียบไดดงั กรณีนายแดงกับเพื่อนๆที่จัดตั้งบริษัทเพื่อขายสินคา
โดยนายแดงนําเอาที่ดน
ิ และอาคารมาแลกกับหุน (ตัวอยางที่ผานมา)
การบันทึกบัญชีของแอมเพิลริช ก็เปนเชนเดียวกันกับบริษัทของนายแดง

บัญชีหลักทรัพยในความตองการของตลาด
329

บัญชีหน
ุ สามัญ
329

ปลายป 2543 นายกทักษิณโอนหุน


 ในแอมเพิลริชใหกับลูกชาย
ไมมีผลกระทบตองบดุลแตอยางใด ทีนม
ี้ าดูตอนที่จะขายหุนใหเทมาเสก

ตนป 2549 เลิกและชําระบัญชีบริษัทแอมเพิลริช (Liquidation)


ก็คือ จายเงินลงทุนคืนใหผูถือหุนบริษัท ดวยหุน
 ชินคอรปฯนั่นเอง (โอนหุนคืน
ใหกับโอคและเอม) ก็จะบันทึกบัญชีตรงขามกับตอนจัดตัง้ บริษัท

บัญชีหลักทรัพยในความตองการของตลาด
329 329

บัญชีหน
ุ สามัญ
329 329

ยอดทัง้ 2 บัญชีกจ
็ ะหมดไป (ยอดเปนศูนย)
ตามที่มีการพูดวาซื้อหุน
 คืนในราคา 1 บาท ถามวาทําไมตองซื้อคืนดวย?
ในเมื่อตองเลิกบริษัทแอมเพิลริชอยูแลว แอมเพิลริชตองจายคืนทุนใหผูถือหุน
ดวยสินทรัพย (ทรัพยสิน) ของบริษัท ซึ่งก็คอ
ื หุนชินคอรปฯที่บน
ั ทึกไวใน
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 56

บัญชีหลักทรัพยในความตองการของตลาด
ถาซื้อหุนคืนก็จะมีลําดับดังนี้
(1) แอมเพิลริชรับเงินสดจากโอค-เอม 329 ลานบาท แลวโอค-เอมรับหุน
เมื่อบันทึกบัญชีตาม (1) แลว จะเหลือ 2 บัญชีคือ เงินสด และ หุนสามัญ
(2) แอมเพิลริชจายเงินสดเพื่อคืนเงินลงทุนใหโอค-เอม 329 ลานบาท

บัญชีเงินสด
(1) 329 (2) 329

บัญชีหลักทรัพยในความตองการของตลาด
329 (1) 329

บัญชีหน
ุ สามัญ
(2) 329 329

(2) ก็คือเงินลงทุนที่นายกทักษิณนําเอาไปลงในแอมเพิลริชตอนจัดตั้งบริษัท
ยอดทัง้ 3 บัญชีกจ
็ ะหมดไป (ยอดเปนศูนย) นึกวาเรียนวิชาบัญชีก็แลวกัน

Eหญิงเปต มรึงนะโจรในคราบนักบัญชีเกียรตินิยม
มรึงปลนแบบโหดรายฉิบห...เลยวะ เลนเอาราคา 1 บาท
ไปเทียบกับ 49.25 บาท บอกวากําไรหุนละ 48.25 บาท
ถาพวกมรึงอยากปลนจริงๆ ก็ปลนใหมันนาเกลียดนอยๆหนอยไดมย
ั๊
ปลนแบบมีเมตตานะ เอามูลคาตามบัญชีหน
ุ ละ 14.39 บาท ณ ปลายป 2548
เทียบกับราคาขาย 49.25 บาทซิโวย กรูก็จะยกยองพวกมรึงวาเปนโจรที่มีเมตตา
ตอนที่มหาวิทยาลัยรังซวยหัวควิต ใหปริญญาบัญชีดุษฎีบน
ั ฑิตกิตติมศักดิ์
ิ ขาว กรูอวกแตกไปหลายวันเลยวะ กรูโทรไปหาเพื่อน
แกมรึงนะ พอกรูไดยน
ที่เปนนักบัญชี พอมันรับสายกรู มันบอกวาไมคอยสบาย
ก็เลยถามวา เปนอะไรวะ มันบอกวาอวกแตกมาหลายวันแลว วันละหลายกระโถน
มาดูเชื้อโงที่ผมไดเคยไดกลาวไปแลว มันระบาดรุนแรงมากชวงหลังการขายหุน
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 57

บอกแลววาพวกที่ตด
ิ เชือ
้ โงนี้ สติปญ
 ญามันมีจาํ กัด เปนพวกปทปรมะ
ไอแมลงสาปหนาโงนาจะเปนตัวแพรเชื้อ แพรความโงไดทั่วถึงจริงๆ
สภาการหนังสือพิมพแหงชาติและสภาทนายความถึงขั้นออกสมุดปกขาว
บอกวา "สวนตางของราคาตลาดกับราคาที่แอมเพิลริชขายใหโอค-เอม
เปนรายไดพึงประเมิน" ตองเสียภาษี

ตอนนี้พวกมรึงยังรักษาความโงแบบ Constant อยูหรือเปลาวะ หรือวาพัฒนา


ความโงไปถึงขั้น Infinity แลว ถาถึงขัน
้ Infinity กรูก็ขอแสดงความเสียใจดวย
พวกมรึงจะตองเกิดเปนคนปญญาออนทุกชาติไป ถามรึงไปเกิดในนรก
และถากรูมโี อกาสสําเร็จธรรม กรูจะไปโปรดพวกมรึง

วันนี้ขอดานักวิชาการดานเศรษเดน อีกสักตัว รศ.ดร. __ชอบนําเสนองานวิจย



".........เมื่อเทียบผลกําไรที่บริษัท ชินคอรป ไดรับระหวางป 2541 - 2547
บริษัท ชินคอรป เอไอเอส และชินแซท มีกําไรสุทธิรวม 111,877 ลานบาท
โดยกอนทีพ
่ .ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ผูกอตัง้ ชินคอรปจะเปนนายกฯ 3 บริษัทดังกลาว
มีกําไรสุทธิเพียง 26,221 ลานบาท แตเมื่อเปนนายกฯแลว ตั้งแตป 2544 - 2547
ทั้ง 3 บริษัทกลับมีกําไรสุทธิ 85,656 ลานบาท สูงกวาชวงที่ไมไดเปนนายกฯ
ถึง 59,435 ลานบาท หรือ คิดเปนกําไรสูงขึน
้ 226.7% ....."
(จากกระทู I4067379 ในหองสินธร โพสทโดย อานขาด เมื่อ 31 ม.ค. 49)

มรึงเปรียบเทียบกําไรประสาบิดามรึงหรือวะ เอายอดรวมกําไรป 2541-2543


(3 ป) เปรียบเทียบกับ ยอดรวมกําไรป 2544-2547 (4 ป)
ไอ รศ.ดร. ขี้เรื้อน มรึงนะมันของปลอม แบบมรึงยังมีอีกหลายตัว
กรูเห็นตัวเลข 85,656 ลานบาท กรูมั่นใจเลยวามรึงยิบตัวเลขในงบการเงิน
มาใชเลย มรึงรูหรือเปลาวะ เวลานักบัญชีเขาคํานวณกําไรของชินคอรปฯ
ั รูกาํ ไรจากบริษัทยอย (เอไอเอส และ ชินแซท) ไปแลว ตามสัดสวน
เขาไดรบ
ที่ชินคอรปฯถือหุนอยู โดยใชวิธีสว นไดเสีย (Equity Method)
โคตร Yellow Buffalo เลย กรูบอกตรงเลยวะ สงสารนักศึกษาที่เรียนกับมรึง
กําไรสูงขึน
้ 226.7% นะมันกระจอกโวย กรูเอาตัวเลขของปูนซิเมนตไทย
มาใหมรึงดูก็ได ป 2544-2547 กําไรรวม 78,675 ลานบาท
ป 2541-2543 กําไรรวม 14,557 ลานบาท ดังนั้นกําไรเพิ่มขึ้น 440%
ทีนี้ปูนฯมันขาดทุนในป 2542 เกลือบ 5 พันลาน เพราะฉะนั้นกรูตองให
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 58

ความเปนธรรมกับปูนฯมันหนอย เปลีย
่ นตัวเลขจากขาดทุนเปนกําไร 100 ลาน
ปูนฯมันก็ยังมีกําไรเพิ่มขึ้นถึง 305% เตะกลุมชินฯตกคลองไปเลย

ผลการศึกษาของมรึงนะ มีที่ผิดพลาดอีกหลายจุด กรูขี้เกียจสาธยาย


ถามรึงไดมโี อกาสอานที่กรูเขียน มรึงถามพวกนักบัญชีคนไหนดูก็ไดวา
ที่กรูบอกวามรึงยิบตัวเลขกําไรมาผิดนัน
้ จริงมัย
๊ กรูละโคตรเซ็งหมอดูอยางพวกมรึง
จริงๆ ไอหมอดูคนอางทองอีกตัว และก็ไอแขกหัวหนาฝูงหมอดูอีกตัว พวกมรึงเสีย
ผูเสียคนเพราะทักษิณ ขนาดเขาไมไดเรียนวิชาหมอดูอยางพวกมรึง ยังทํานายได
แมนกวามรึงเลย พวกมรึงจําไดมั๊ย ตอนที่ทักษิณพูดเรื่องการปรุงอาหารนะ มันยิ่ง
ทําใหพวกมรึงเลยเกลียดทักษิณนักเขาไปใหญ ไอคนที่เรียนจบวิชาหมอดูที่เกงๆมี
เยอะ แตไปทํางานภาคเอกชนกันหมด นักวิชาการในเมืองไทยมันดีแตพด
ู รูแต
ทฤษฏี บางคนก็รูแบบผิดๆ รูไมจริง ทําไมเปน ไมเคยมีนายกคนไหนกลาวิจารณ
นักวิชาการ ทักษิณเขารูวาในเมืองไทยเต็มไปดวยนักวิชาการจอมปลอม เขาจึง
วิจารณพวกมรึงตรงๆ พวกมรึงก็รับไมได ถุย กรูสมน้ําหนาพวกมรึงจริงๆ

วันนี้เปาคาถามากไปหนอย ขออภัยดวย
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 59

นายกทักษิณเสียภาษีปล
 ะประมาณเทาใด?
จดหมายเปดผนึกจากทักษิณ ถึง สมาชิกพรรคไทยรักไทย เมื่อตนป 2549

“…..นับตัง้ แตกอตัง้ บริษัทชินวัตรขึ้นมา ผมและครอบครัวชําระภาษีรายไดเต็ม


จํานวนเปนประจําทุกป ไมเคยขาดแมแตบาทเดียว นับถึงวันนี้ คิดเปนเงินที่ผมและ
ครอบครัวชําระภาษี รวม 3,000 ลานบาท...........”

3,000 ลานบาทเปนภาษีบุคคลธรรมดา ตีเสียวาเปนของชวงประมาณ 10 ป (จริงๆ


แลวนาจะประมาณ 20 ป) เฉลี่ยแลวประมาณปละ 300 ลานบาท

จากรายงานประจําปของชินคอรปฯ ป 47 ประกาศจายปนผลหุนละ 2 บาท และ


ป 48 หุนละ 2.60 บาท เอาเปนวาใชตัวเลข 2 บาทก็แลวกัน เพื่อจะนํามา
คํานวณหาวาจริงๆแลวครอบครัวทานเสียภาษีปละเทาใด

เงินปนผลทีจ
่ ะไดรบ
ั 3,000 ลานบาท (2 บาท x 1,500 ลานหุน)
ถูกหัก 10% เปนเงิน 300 ลานบาท (เรียกวาภาษีเงินได หัก ณ ที่จาย)
เงินปนผลรับสุทธิ 2,700 ลานบาท (3,000 – 300)
เครดิตภาษีเงินปนผลประมาณ 1,300 ลานบาท (3,000 x 3/7)
ภาษีเงินไดทั้งหมดที่จา
 ย 1,600 ลานบาทตอป (300 + 1,300)
ตัวเลขที่ชแ
ี้ จงตอสังคม 300 ลานบาทตอป
ทักษิณดํารงตําแหนงนายกเปนเวลา 6 ป
ชี้แจงภาษีเงินได 6 ปต่ํากวาความเปนจริงประมาณ 7,800 ลานบาท

โกหกแบบนี้ถอ
ื วาผิดมัย
๊ เนี่ย
นาจะเพิม
่ อีกหนึ่งขอหา “ปกปดเรื่องการจายภาษีเงินได”
ลืมไปหรือเปลา? หญิงเปต
-------------------------------

เรื่องของเครดิตภาษีเงินปนผล เปนผลประโยชนที่หลายคนมองขาม โดยเฉพาะคน


ที่มีเงินไดสท
ุ ธิในแตละปไมเกิน 4 ลานบาท เชน เต็กซลม
ิ้ เปนคนโสด ไมไดทํางาน
อะไร แตไดรับปนผลจากบริษัทที่ตวั เองถือหุนปละ 270,000 บาท (หลังหัก 10%)
ไมนําเงินปนผลนัน
้ มารวมคํานวณเพื่อเสียภาษีเงินไดตอนสิ้นป อดไดรับเงินภาษีคืน
ประมาณแสนกวาบาท ไมนาเลย เต็กซลิ้ม มัวแตมั่วอยูกบ
ั กิ๊ก
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 60

ความรูเกี่ยวกับ “เครดิตภาษีเงินปนผล”
บริษัทเมื่อมีกําไรจะเสียภาษีเงินไดนิตบ
ิ ุคคลในอัตรา 30% ของกําไรสุทธิ และ
บริษัทก็จะนําเอากําไรที่เกิดขึ้นไปจายเงินปนผลใหผูถือหุน เงินปนผลถือเปนเงินได
ของผูถือหุน
 ทีนี้ไอเจาเงินปนผลนี้ มันมาจากกําไรของบริษัทหลังหักภาษีไปแลว
30% ดังนั้น ถือวาผูถือหุนที่ไดรบ
ั เงินปนผลไดจายภาษีไปแลวสวนหนึง่ ก็คือ จาย
ผานบริษัทในรูปของภาษีเงินไดนต
ิ บ
ิ ุคคล

ทําไมตองหักภาษี ณ ทีจ
่ ายในอัตรา 10%
ผมสันนิษฐานวา กรมสรรพกรใชสมมติฐานวา คนทีไ
่ ดรบ
ั เงินปนผลสวนใหญเปน
เศรษฐีที่มีเงินไดสุทธิเกินกวาปละ 4 ลานบาท เพราะวาคนกลุมนี้ตองเสียภาษีเงิน
ไดบค
ุ คลธรรมดาในอัตรา 37% ของเงินไดสท
ุ ธิ ดังนั้น เมื่อผูถือหุนไดจายภาษีผาน
ทางบริษัทไปแลวในรูปของภาษีเงินไดนต
ิ ิบค
ุ คล 30% จึงยังขาดอยูอ
 ีก 7%
มาถึงตรงนีห
้ ลายคนเริม
่ งงแลว อาวเมื่อจายไปแลว 30% ทําไมตองมาหักอีกตั้ง
10% ซึ่งมันเกิน 7% นี่หนา

อยาลืมนะครับวาไดเจาเงินปนผลมันมาจากกําไรหลังหักภาษี 30% เพราะฉะนัน



เงินปนผลมันจะมียอดเทากับ 70% ของกําไรกอนหักภาษี ดังนั้น 10% ของ 70%
ก็คือ 7% รวมกับที่หักไปแลว 30% รวมเปน 37% พูดงายๆก็คือ ถาสรรพากร
กําหนดหัก ณ ที่จายในอัตราต่ํากวา 10% สรรพากรตองตามเรียกเก็บเพิ่มอีกทีหลัง

คนที่ไมชอบคํานวณคงยังงงอยู ขอสมมติแบบนี้ก็แลวกัน

นายเอกซื้อหุนสามัญของบริษัทที่เพิ่งเริ่มเปดดําเนินงาน
จํานวน 1 หุน ในราคาหุน
 ละ 100 บาท ซึ่งเปนราคาเดียวกันกับ
ราคาตามมูลคาทีต
่ ราไวในใบหุน
 (Par Value)
 ตองจายภาษีเงินไดในอัตรา 30%
สิ้นปบริษัทมีกําไรกอนหักภาษี 100 บาทตอหุน
ดังนั้นภาษีเงินไดตอหุน
 จะเทากับ 30 บาท (เรียกวาภาษีเงินไดนต
ิ ิบค
ุ คล)
กําไรสุทธิหลังภาษีจะเทากับ 70 ตอหุน
ตอมาบริษท
ั ไดประกาศและจายเงินปนผลหุนละ 70 บาท
(ในความเปนจริง ไมสามารถจะจายปนผลไดเต็ม 70 บาท
จําเปนตองกันสวนหนึง่ ไวเปนสํารองตางๆ แตสมมติวา
จายปนผล 70 บาท ทั้งนี้เพือ
่ ใหงา ยตอการทําความเขาใจ)
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 61

คําถามก็คือ
เงินปนผลทีน
่ ายเอกไดรับจํานวน 70 บาท จะตองเสียภาษีอยางไร?
(ในความเปนจริงบริษัทจะหักไว 10% คือ 7 บาท เปนภาษีหัก ณ ที่จาย
ซึ่งจะกลาวในภายหลัง เอาเปนวาไดรับเต็ม 70 บาทก็แลวกัน)

คําตอบเปนไปได 3 ทางคือ
1. ไมตองจายภาษี 2. ตองจายภาษี 3. ไดรับคาภาษีคน
ื จากรัฐฯ

เงินไดที่จะนํามาใชคํานวณหาภาษีเงินไดบค
ุ คลธรรมดาจะเทากับ
เงินปนผลทีไ
่ ดรับ 70 บาท บวก ภาษีเงินไดที่บริษัทจาย 30 บาท
ดังนั้น รายไดจากเงินปนผลกอนหักภาษีจะเทากับ 100 บาท (70 + 30)
(ภาษีเงินได 30 บาทที่บริษัทจายใหรัฐฯนั้น ถือเปน เครดิตภาษีของ
บุคคลธรรมดา)

ถาเงินไดสท
ุ ธิของนายเอกตกอยูใ นชวงทีต
่ องเสียภาษีในอัตรา 20%
(เงินไดสุทธิมากกวา 500,000 แตไมเกิน 1,000,000)
ภาษีที่นายเอกจะตองจายใหรัฐฯ = 100 บาท x 20% = 20 บาท
แตมีเครดิตภาษี 30 บาท (ถือวาเปนภาษีที่นายเอกไดจายใหรัฐฯ
ผานทางบริษัท) ดังนั้น นายเอกไมตองจายภาษี แถมยังไดรับเงินคืน
จากรัฐฯอีก 10 บาท (30 – 20)

ถาเงินไดสท
ุ ธิของนายเอกตกอยูใ นชวงทีต
่ องเสียภาษีในอัตรา 30%
(เงินไดสุทธิมากกวา 1,000,000 แตไมเกิน 4,000,000)
ภาษีที่นายเอกจะตองจายใหรัฐฯ = 100 บาท x 30% = 30 บาท
แตมีเครดิตภาษี 30 บาท ดังนั้น นายเอกไมมภ
ี าระเกี่ยวกับภาษีเกิดขึน
้ อีก พูดงายๆ
ก็คือ รับเงินปนผลแลวไมตองจายภาษี

ถาเงินไดสท
ุ ธิของนายเอกตกอยูใ นชวงทีต
่ องเสียภาษีในอัตรา 37%
(เงินไดสุทธิมากกวา 4,000,000 บาทขึ้นไป)
ภาษีที่นายเอกจะตองจายใหรัฐฯ = 100 บาท x 37% = 37 บาท
แตมีเครดิตภาษี 30 บาท นายเอกตองเสียภาษีอีก 7 บาท (37 – 30)
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 62

ในการจายเงินปนผล บริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย
จะตองหักภาษี ณ ที่จายเงิน 10% ของเงินปนผลที่ประกาศจาย
ตามตัวอยางขางตน นายเอกจะถูกหักภาษี ณ ที่จาย 7 บาท (70 บาท x 10%)
7 บาทนี้เรียกวา ภาษีเงินไดหัก ณ ที่จาย ดังนัน
้ นายเอกจะไดรับเงินปนผล
เพียง 63 บาท (70 บาท – 7 บาท)
พอจะกลาวไดอยางงายๆวา
“ถาไดรบ
ั เงินปนผล 63 บาท แสดงวาไดมีการเสียภาษีเงินไดไป 37 บาท”

กรณีของนายกทักษิณ เงินปนผลทีท
่ านจะไดรบ
ั (กอนหัก ณ ที่จาย) เปนเงิน
ประมาณปละ 3,000 ลานบาท ตอนจายเงินปนผล บริษัทจะหัก 10%
เปนเงิน 300 ลานบาท ทานจะไดรบ
ั เงินปนผล 2,700 ลานบาท
สวนที่เปนเครดิตภาษีจะคํานวณไดดังนี้
เงินได (เงินปนผล) กอนหักภาษีนต
ิ ิบค
ุ คลโดยประมาณ 4,000 กวาลานบาท
(3,000 ลาน ÷70%)
เครดิตภาษีประมาณ 1,300 ลาน (4,000 กวาลานบาท x 30%)
รวมเปนภาษีเงินไดบค
ุ คลธรรมดาที่นายกทักษิณเสียประมาณ 1,600 ลานบาท
(300 + 1,300) หรือ อาจจะคิดจากเงินปนผลที่ไดรบ
ั 2,700 ลานบาทก็ได ดังนี้
2,700 ลานบาท หารดวย 63 แลวคูณดวย 37 จะไดประมาณ 1,600 ลานบาท
-----------------------------
เมื่อคืน (9 กุมภาพันธ 2553) ไดนงั่ ดูนายกทักษิณเลาเรื่องเกี่ยวกับความเปนมาใน
การทําธุรกิจของทานทาง People Channel เยี่ยมยอดจริงๆ ทานพูดถึงนักบัญชีถึง
2 ครั้ง นักบัญชีเปนคนแนะนําทานในเรื่องของการจัดทําขอมูล

ผมเคยคุยกับเพื่อนที่เปนนักบัญชีดว ยกันในชวงที่ทานเปนนายกชวงแรกๆวา เยี่ยม


ู คําวา “สินทรัพย” ซึ่งโดยปกติแลว คนที่ไมไดเรียนมาทางดาน
จริงๆนายกคนนี้พด
บัญชีหรือการเงิน จะใชคาวา “ทรัพยสน
ิ ” และทานเคยพูดเรื่องของหนังสือเลมหนึ่ง
วานาซื้อมาอาน เปนหนังสือภาษาอังกฤษ ผมจําไมไดวาชื่ออะไร แตเปนเรื่อง
เกี่ยวกับการควบรวมกิจการ คนที่เรียนบัญชีตอ
 งเรียนเรื่องนี้ ซึ่งเปนเรื่องที่ยากมาก
ผมก็เลยพูดกับเพื่อนวา สุดยอดจริงๆนายกคนนี้
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 63

ผมดูรายการถายทอดทางโทรทัศน ตอนที่ทานประชุมผูวาทั่วประเทศ (ถาจําไมผด


ิ )
ทานพูดเรื่องการบริหารงาน วิสย
ั ทัศนทานสุดยอดจริงๆ ผมวาคนทีจ
่ บปริญญาเอก
ทางดาน Management ตองชิดซาย เพราะผมรูจักคนที่เรียนจบดานนี้หลายคน
------------------------------------------------------------------------
ขอถกเถียงในหองราชดําเนินเกี่ยวกับเครดิตภาษีเงินปนผล
ผมไดนําเอาเรื่องการเสียภาษีไปตั้งเปนกระทูที่หองราชดําเนิน ขาใหญประจํา
หองราชดําเนิน thyrocyte พยายามโตวา เครดิตภาษีเปนสวนลดที่
กรมสรรพากรลดใหผูเสียภาษี ไมใชภาษีที่ไดมีการจายจริงไปแลว ซึ่งผม
ไดอธิบายถึงแนวความคิดเรือ
่ งเครดิตภาษี และอีกหลายเรื่องเพื่อยืนยันวา
เปนภาษีที่ไดมีการจายไปใหรัฐแลว แต thyrocyte ก็ไมยอมรับ ขอใหทาน
อานดูเองเองก็แลวกัน วาใครถูก ใครผิด ใครเปนคนแถ
---------------------
ความเห็นของคุณ thyrocyte
นาย ก และนาย ข ตางก็ไดปนผล 3,000 ลานบาทเทากัน ตางก็ถูกหักภาษี ณ ที่
จาย 300 ลานบาทเหมือนๆ กัน แต
ตางกัน แตนาย ก ไมนาํ มารวมยื่นเสียภาษี สวนนาย ข มานํารวมยืน
่ เสียภาษี
---------------------
ความเห็นทีผ
่ ม (Nirvana) ไดชี้แจงตอคุณ thyrocyte

ถาคุณสรุปแบบนัน
้ ก็หมายความวา
นาย ข. เสียภาษีตามอัตรากาวหนาที่ 37%
นาย ก. เสียภาษีตามอัตรากาวหนาที่ 7% (เทียบมาจาก หัก ณ ที่จา ย 10%)
(7% เทียบมาจากหัก ณ ที่จาย 10% : ความรูเกี่ยวกับ “เครดิตภาษีเงินปนผล”)
เม็ดเงินที่เสียภาษีเทากัน แตเทียบเปนอัตรากาวหนาไมเทากัน
มันไมเปนวิทยาศาสตรเลย กรุณาอยาตีความตามตัวอักษรเลย พยายามคิดอะไรให
มันเปนวิทยาศาสตรบาง นักกฏมายในเมืองไทย (บางคน) ควรจะคิดอะไรที่มันเปน
วิทยาศาสตรบาง ควรรอบรูศาสตรอื่นบาง
ผมก็ไมรูหลอกวาทักษิณทานนํามารวมยื่นเสียภาษีหรือไม
ทักษิณไมวาจะเลือกหรือไมเลือกก็มีคาเทากัน เพราะจํานวนภาษีครบ 37% แลว
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 64

ถานํามารวมยื่น มีสิทธิ์ “บอกวาเสียภาษี 1,600 ลาน”


ถาไมนํามารวมยื่น ไมมีสิทธิ “บอกวาเสียภาษี 1,600 ลาน” ตองบอกวาเสีย
ภาษี 300 ลาน ขอพูดอีกครั้งหนึ่งวา มันไมเปนวิทยาศาสตรเลย
ถาคุณ thyrocyte เปนนักกฏหมาย ผมวานาปรับความคิดใหมนะครับ ไมงั้นประเทศ
เราคงไมไปถึงไหน เหมือนกับคดีหนึ่งเพื่อนผมพูดใหฟง วา เอาสายไฟฟาไปตอกับ
เสาไฟฟาเมื่อลักใชไฟฟาฟรี มีคําตัดสินออกมาวา ลักทรัพย เพราะสายไฟฟาเปน
ทรัพย ผมขํากลิ้งเลย สายไฟฟาก็ของคนลัก และที่สําคัญไฟฟามันเปนพลังงาน
มันไมไดเปนสิ่งที่มต
ี ัวตน นีก
่ ็ไมเปนวิทยาศาสตรเลย กลุมใจกับนัก
กฏหมายไทยบางคนจริงๆ อยากจะลาออกจากความเปนคนไทยวอย
---------------------
ผมมองเห็นแลววา สิ่งที่คุณ thyrocyte ไมเขาใจก็คือ ความหมายของคําวา
“เครดิตภาษี” ในภาษาอังกฤษใชคําวา “tax credit”

From Wikipedia
The term tax credit describes two different concepts:
• A recognition of partial payment already made towards taxes due.
• A state benefit paid to workers through the tax system, which has
the effect of increasing (rather than reducing) net income

ภาษีเงินได ณ ที่จาย ที่กิจการตางหักไวเมื่อมีการจายเงินใหผูรับและเขาขายตอง


หัก ณ ที่จาย แลวนําเงินนั้นสงใหแกรัฐบาล ก็เรียกวา tax credit และที่ทุกคนรูจก

ดีก็คือ เงินเดือนที่ถูกหักเปนคาภาษีทุกๆสิ้นเดือน นัน
่ ก็คือ tax credit เหมือนกัน
และเมื่อถึงสิ้นปเราก็จะตองกรอกแบบแสดงรายการใน ภ.ง.ด. 91 เพือ
่ คํานวณวา
จะตองจายภาษีเพิ่มหรือไดรบ
ั ภาษีคืน สําหรับบุคคลทีม
่ ีรายไดจากเงินเดือนเพียง
อยางเดียว ไมมีเงินคาลวงเวลา หรือเงินไดอยางอื่นๆ สิน
้ ปมีมักจะ ภาษีที่คํานวณได
ตอนสิน
้ ป จะเทากับ ภาษีเงินไดหัก ณ ที่จายพอดี

ภาษีเงินไดนิตบ
ิ ุคคลที่จายตอนครึง่ รอบระยะเวลาบัญชี ก็คือ tax credit

ในเรื่องของภาษีมูลคาเพิ่ม (Value Added Tax) ภาษีซื้อ (Input Tax) ก็คือ tax


credit อีกเหมือนกัน
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 65

In each month, if input tax exceeds output tax, taxpayer can claim for
the refund, either in form of cash or tax credit to be used in the
following months. Therefore, in case of zero-rated, taxpayer will always
be entitled to VAT refund. As for unused input tax, it may be creditable
against output tax within the next 6 months. However, the refund can
only be claimed within 3 years from the last day of filing date.
(จากเว็บไซตของสรรพากร)
-----------------------------------
กอนที่ผมจะพูดเกีย
่ วกับเรื่องภาษีของทักษิณ ผมขอใหความรูเกี่ยวกับเรื่อง
ภาษีมูลคาเพิ่มกอนก็แลวกัน เพื่อจะไดเขาใจวาเรื่องของ tax credit

สินคาและบริการตางๆที่เราซื้อจะมีภาษีรวมอยูดวย 7% ยกตัวอยาง เชน รานสีชัง


ซื้อสินคามาชิ้นหนึ่ง ราคาสินคา 100 บาท ภาษีมูลคาเพิ่ม (ภาษีซื้อ) 7 บาท รวม
เปนเงินที่รานสีชังจาย 107 บาท รานสีชังซื้อสินคามาเพื่อขายตอใหกบ
ั ลูกคา แตยัง
ขายไมไดในเดือนนี้ ภาษีจํานวน 7 บาทนี้แหละ รานสีชังสามารถขอคืนจากสรรพกร
ได ถาไมขอคืนก็สามารถนําไปเปนเครดิตภาษีในเดือนถัดไปได รานสีชังไมขอคืน
ในเดือนถัดไปก็ขายสินคาชิ้นนี้ไปในราคา 321 บาท [ราคาสินคา 300 บาท และ
ภาษีมูลคาเพิ่ม (ภาษีขาย Output Tax) 21 บาท] สรุปรานสีชังตองจายภาษี
จํานวน 21 บาทที่เก็บจากลูกคา สงใหสรรพากร แตเนื่องจากรานสีชงั ไดจายภาษี
ซื้อ (Input Tax) ไปแลว 7 บาท จึงนําเอามาเปนเครดิตภาษี (พูดภาษาชาวบานก็
่ คือ รานสีชงั นําสงภาษีเทากับ 14 บาท (21 – 7) ซึ่งเรียกวา
คือนํามาหักนั่นเอง) นัน
ภาษีมูลคาเพิ่ม (Value Added Tax) ในอัตรา 7 % นัน
่ เอง เปนการเก็บภาษีจากมูล
คาที่เพิ่มขึ้น ซื้อมาราคา 100 บาท ขายไปในราคา 300 บาท ดังนั้นมูลคาเพิ่มขึน

เทากับ 200 บาท ภาษีมูลคาเพิ่มจึงเทากับ 200 บาท คูณ 7% ซึ่งเทากับ 14 บาท

tax credit หรือ เครดิตภาษี ก็คือภาษีที่ไดจายไปแลวนั่นเอง


The term tax credit describes two different concepts:
• A recognition of partial payment already made towards taxes due.
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 66

ภาษีเงินไดที่ทักษิณเสีย อยูใ นรูปของ tax credit คือ ภาษีหัก ณ ที่จาย 300 ลาน
บาท (ตอนรับเงินปนผล 10%) และ เครดิตภาษีเงินปนผล 1,300 ลานบาท
สําหรับเครดิตภาษีเงินปนผลนั้นคือภาษีที่ไดจายไปแลวในรูปของภาษีนิติบค
ุ คล
(ตัวผูถือหุไมไดเปนคนจาย แตบริษัทเปนผูจาย คือ 30% ของกําไร)
ขอสมมติอก
ี ทีทานกับเพี่อนรวม 7 คนลงทุนคนละ 100 บาท เพื่อซื้อพืชผลจาก
เกษตรแลวนําไปขายในตลาด โดยตกลงกันวา เงินทุนจํานวน 700 บาทนั้นทุกคน
จะไมถอนออก ถอนไดเฉพาะสวนที่เปนกําไร วันแรกขายไดกําไร 700 บาท
(เทากับวาตอนนี้มีเงินรวม 1400 บาท) เราก็จะไดรบ
ั กําไร (เงินปนผล) คนละ 100
บาท และแตละคนก็ยังมีทุนอยูในกองกลางอีก 100 บาท

สมมติวา การทํามาคาขายของคุณและเพื่อนนั้นทําในรูปของบริษัท ซึ่งตองเสียภาษี


จากกําไร 30% เรียกวา ภาษีเงินไดนต
ิ ิบค
ุ คล เพราะฉะนัน
้ แทนที่คุณจะไดรับกําไร
(เงินปนผล) คนละ 100 บาท คุณจะไดรับกําไรเพียงคนละ 70 บาท สวนกําไรอีก
คนละ 30 บาทนั้น (รวมทั้งเจ็ดคนเปนเงิน 210 บาท) บริษัทเก็บไวเพือ
่ เอาไปจาย
้ หละที่เขาเรียกวา เครดิตภาษีเงินปนผล ทีนี้เมื่อคุณมีรายได
ภาษีใหรัฐฯ 30 บาทนีแ
(ก็คือกําไรของบริษัทนั่นเอง) 70 บาทก็ตองเสียภาษี ซึง่ จะถูกหัก 10% เปนเงิน 7
บาท และ 7 บาทนี้ก็เปนเครดิตภาษี รวมแลวทานจะมีเครดิตภาษีรวม 37 บาท
ตอนยื่นรายการเพื่อเสียภาษี รายการที่แสดงเปนรายไดกค
็ ือ กําไรทีค
่ ุณไดรับ (เงิน
ปนผล) 70 บาท (รับเงินแค 63 บาท) และ เครดิตภาษีเงินปนผล 30 บาท รวมเปน
รายไดกอ
 นหักภาษี 100 บาท (70 + 30) แลวนําไปคํานวณภาษีที่จะตองเสียในรัฐ
ฯซึ่งเรียกวาภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา คํานวณไดเทาใด ก็นําเอาเครดิตภาษีมาหัก
ซึ่งก็คือ 37 บาทที่ไดกลาวมาแลว
ทีนี้ผมขอขยายตัวเลขของคุณเปนหลักลานแลวกัน คุณมีรายไดเกินกวา 4 ลานตอ
ป เขาก็จะนําเอารายไดของคุณ 100 ลานมาคํานวณภาษี สวนที่เกิน 4 ลานบาท
(76 ลานบาท) คุณจะตองเสียภาษีในอัตรา 37% เอาเปนวาคุณรักชาติก็เลยบอก
สรรพากรวาหัก 37% จากรอยลานเลย
มาดูวา 37% นี้มาจากอะไร มันก็มาจาก 30 บาทที่หักจากกําไรของคุณแตละคน
และ 7 บาทที่ถูกหักตอนรับเงินปนผล ก็รวมเปน 37 บาท
คุณเปนเศรษฐี ก็เลยบอกวา
อั๊วถูกหักไปครบแลวโวย อั๊วไมยื่นแบบแมรงหรอก เสียเวลาทํามาหากิน
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 67

ภาพที่คณ
ุ thyrocyte นํามาแสดงในความเห็นที่ 30 (แบบแสดงรายการเพือ
่ คํานวณภาษี)
โดยทั่วไปผูมีเงินไดตองนําเงินไดพึงประเมินทุกประเภทของตน ตลอดปภาษี (ไมรวมเงินไดที่
กฎหมายยกเวนภาษี หรือที่ไมตองเสียภาษี) ไปคํานวณภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาสิ้นป เพื่อยื่นแบบ
แสดงรายการและชําระภาษีภายในเดือนมีนาคมของปถัดจากปที่มีเงินได การคํานวณภาษีให
เงินไดพึงประเมินทุกประเภทรวมกันตลอดปภาษี xxxx (1)
หัก คาใชจายตามที่กฎหมายกําหนด xxxx (2)
(1)-(2) เหลือเงินไดหลังจากหักคาใชจาย xxxx (3)
หัก คาลดหยอนตาง ๆ (ไมรวมคาลดหยอนเงินบริจาค) ตามที่กฎหมายกําหนด xxxx (4)
(3)-(4) เหลือเงินไดหลังจากหักคาลดหยอนตาง ๆ xxxx (5)
หัก คาลดหยอนเงินบริจาค ไมเกินจํานวนที่กฎหมายกําหนด xxxx (6)
(5-6) เหลือเงินไดสุทธิ xxxx (7)
นําเงินไดสุทธิตาม (7) ไปคํานวณภาษีตามอัตราภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา
จํานวนภาษีตามการคํานวณภาษี xxxx (8)
ขั้นที่สอง ไมเขาขายเพราะเงินปนผลเปนรอยลาน
ขั้นที่สาม สรุปจํานวนภาษีที่ตองเสียภาษี
การคํานวณภาษี
จํานวนภาษีเงินไดสิ้นปที่ตองเสีย เทียบ (8) และ (10) จํานวนที่สูงกวา xxxx (11)
หัก ภาษีที่ถูกหัก ณ ที่จายแลว xx
ภาษีเงินไดครึง่ ปที่ชําระไวแลว xx
ภาษีเงินไดชําระลวงหนา xx
เครดิตภาษีเงินปนผล xx xx (12)
(11-12) เหลือ ภาษีเงินไดที่ตองเสีย (หรือที่เสียไวเกินขอคืนได) xx

ดูเฉพาะที่ผม Highlight ดวยสีแดงเทานั้น (11) ไมตอ


 งดูเพราะไมเกีย
่ ว
เหลือ (8) กับ (12)
ทีนี้ผมขอเปลีย
่ นชื่อคนรับเงินปนผลเปนนายแดง เพื่อใหบางคนไมตองแสลงใจกับ
ชื่อทักษิณ และนายแดงเปนคนโสดมีรายไดอยางเดียวคือเงินปนผล
นายแดงมีสท
ิ ธิไดรับเงินปนผล 70 ลานบาท หักภาษี ณ ที่จาย 7 ลานบาท
จึงรับปนผลสุทธิ 63 ลานบาท นายแดงนําเอาเงินปนผลมาแสดงในแบบแสดง
รายการเพื่อเสียภาษี (ดูการคํานวณภาษีในหนาถัดไป ผมจะจําลองรูปแบบให
เหมือนกับของคุณ thyrocyte ดานบน)
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 68

ลานบาท
รายไดเงินปนผล 70
เครดิตภาษีเงินปนผล (70 * 3/7) 30
เงินไดพงึ ประเมินทุกประเภทรวมกันตลอดปภาษี 100 (1)

สมมติวาไมมีการหักลดหยอนใดๆ (เพื่อใหเขาใจงาย)
เงินไดสุทธิ 100 (7)

จํานวนภาษีตามการคํานวณภาษี (37%) 37 (8)

หัก ภาษีที่ถูกหัก ณ ที่จายแลว 7


เครดิตภาษีเงินปนผล 30 37 (12)

ไมมีภาระภาษี (จายไปแลวครบตามจํานวน) -0-

ปกติการงายเงินปนผลมักจะจายในไตรมาส 1 หรือ 2 ของปถด


ั ไป หมายความวา
ผลกําไรของป 51 ก็จะมาจายในป 52 บางบริษัทจายปละ 2 ครั้ง สมมติวานายแดง
รับเงินปนผลในเดือนพฤษภาคมป 52 นายแดงตองยื่นแบบแสดงรายการไมเกิน
วันที่ 31 มีนาคม 2553 ซึ่งนายแดงเพียงแตกรอกรายการเทานั้น ไมมีภาระภาษี
เกิดขึ้น (จายครบแลว) ถาถามวานายแดงเสียภาษีเทาไร?
ื ตัวเลข 37 ลาน (8) และถานายแดงไมยื่นแบบแสดงรายการละ ถามวา
คําตอบก็คอ
นายแดงเสียภาษีเทาใด อันนี้ใหคณ
ุ thyrocyte ตอบใหเพื่อนๆฟงเองก็แลวกัน

ตามความจริงแลวนายแดงจะตองไดรับภาษีคน
ื เพราะถูกหักมากไป เพราะนายแดง
มีสิทธิหักลดหยอนสวนตัว 30,000 บาท และ 4 ลานแรกเสียในอัตราที่นอยกวา
37% กลาวคือ 150,000 บาทแรกไมตองเสียภาษี @ อีก 350,000 บาทถัดไปเสีย
10% @ อีก 500,000 บาทถัดขึ้นไปอีกเสีย 20% @ อีก 3 ลานบาทถัดขึน
้ ไปอีก
อีกเสีย 30% และสวนที่เกิน 4 ลานขึ้นไปเสีย 37% (ซึ่งก็คือยอด 96 ลานบาท
นั่นเอง)
ถาคิดตามความเปนจริงแลว นายแดงจะตองเสียภาษีเทากับ 36,543,900 บาท
{4 ลานแรกเสีย 1,035,000 บาท บวก 35,508,900 บาท (95,970,000 * 37%)}
เพราะฉะนัน
้ นายแดงจะไดเงินคืน 456,100 บาท (37 ลาน – 36.5 ลาน) ถา
นายแดงไมยื่นแบบฯจะไมไดรบ
ั เงินคืน 456,100 บาท ถาผมถามทานทั้งหลายวา
456,100 บาทนี้ถือวามากมั๊ย? เชื่อไดเกลือบทุกคนตองบอกวามาก ผมจะถามตอวา
เอาไปเทียบกับอะไรละ? ถึงไดบอกวามาก นักบัญชีถือหลักการอยางหนึ่งที่เรียกวา
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 69

“หลักสาระสําคัญ (Materiality Principle” ก็คอ


ื ไมใชดูทจ
ี่ ํานวนเงินแลวก็บอกวา
มาก เขาตองเอาไปเทียบกับอะไรสักอยาง เชน ยอดสินทรัพย (ทรัพยสิน) ทั้งหมด
แลวคิดออกมาเปนเปนเปอรเซนต เชน ถาต่ํากวา 1% ถือวารายการนัน
้ ไมมี
สาระสําคัญ
อยางกรณีของนายแดงเงินจํานวน 4 แสนกวาบาทนั้นคิดเปน 0.72% ของเงินปน
ผลที่ไดรบ
ั หรือถาพูดใหชาวบานเขาใจก็คือ “รับเงิน 100 บาท หลนหายไป 72
สตางค” นี่เทียบกับเงินปนผลที่รับนะครับ ถาเอาไปเทียบกับทรัพยสน
ิ ของนายแดง
ทั้งหมด อาจจะตองพูดวา มีทรัพยสินทั้งหมด 100 บาท หายไป 3 สตางค
ถาเปนกรณีของนายกทักษิณ เงินจํานวน 4 แสนกวาบาทนี้ คิดเปน 0.02% ของเงิน
ปนผลที่ไดรับ หรือเปรียบไดดังนี้ รับเงิน 100 บาท หลนหายไป 2 สตางค

ใครก็ตามมีสิทธิไดรบ
ั เงินปนผลตั้งแต 2,822,000 บาท (กอนหัก 10%) ยืน
่ แบบ
แสดงรายการฯจะไดรับภาษีคืนจากสรรพากรอยางนอยสุด 456,100 บาท
คนที่เปนเศรษฐีอาจจะถือวาเงินจํานวนนีไ
้ มไดมีสาระสําคัญอะไรกับเขาเลย อยาวา
ิ เงินทองใหใครก็ไดทพ
แต 4 แสนบาทเลย เขาอาจจะยกทรัพยสน ี่ อใจ แมวาจะเปน
คนใชในบานก็ตาม เชนยกใหคนใช 300 ลานบาท จากทรัพยสน
ิ ที่มท
ี ั้งหมด 1 แสน
ลานบาท ก็มันเรื่องของ KU ใครจะทําไม ก็ KU พอใจจะให ซึ่งถาเทียบเปน
เปอรเซนตแลวแค 0.3% เปรียบเทียบไดกับ มีทรัพยสิน 100 บาทยกใหคนใช 30
สตางค มันมากมั๊ยละ

จริงแลวคนที่ไดรับเงินปนผลไมวามากหรือนอยควรยื่นแบบฯ เพราะทานจะไดรับ
เงินคืนทุกคนไมมากก็นอ
 ย เพราะไดกลาวมาแลววา ไดมีการหักภาษีไปแลว 37%

ใครลองเขาไปที่ facebook หนอย แลวถามนายกทักษิณวาทานยื่นแบบฯหรือไม

คุณ thyrocyte ผมคงไมตอบคําถามคุณอีกแลว ถาคุณคิดวาผมแสดงความเห็นผิด


ก็เอาความเห็นของผมไปใหใครดูก็ได ถาเปนนักกฎหมายดูแลวบอกวาผมผิด ผม
คงยอมรับไมได ขอเอาเปนวาเปนนักบัญชีก็แลวกัน แตคณ
ุ สมบัติการศึกษาตอง
ตองใกลเคียงกับผม แตผมคงไมแจงวุฒิการศึกษาบนบอรดแหงนี้ คุณหลังไมคไป
ถามคุณสาย สีมา เอาแลวกัน คุณ thyrocyte โตกบ
ั ผมเรือ
่ งนี้ สูผ
 มไมไดหรอกครับ
เพราะวาผมเรียนมาทางดานบัญชี มันไมใชเรือ
่ งแปลกที่ คนที่ไมไดเรียนดานบัญชี
่ งบัญชี ยอมสูนก
แลวมาโตเรือ ั บัญชีไมไดเปนธรรมดา แตถา เปนนักกฎหมายโตเรือ
่ ง
นี้กับนักบัญชี เชื่อวาคงสูนักบัญชีไมได (ผมไมไดยกยองอาชีพของตัวเอง แตพูด
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 70

ตามความจริง) ตองขออภัยนักกฎหมายดวยครับ เทาที่ทราบมาระดับปริญญาโท


ดานกฎหมาย เมื่อเรียนวิชาเกี่ยวกับภาษีอาการ เขาจะใชอาจารยที่จบดานบัญชีและ
ทํางานที่กรมสรรพากรเปนผูสอนวิชานี้ ถาใหผมโตกบ
ั คุณ thyrocyte เรื่องเกี่ยวกับ
เครื่องเอกซเรย ผมก็คงสูคุณไมได เพราะวาผมไมไดเรียนเทคนิคการแพทย

ขอบคุณ คุณขนมสาคู ที่ชวยคนมาใหไดเห็นกัน

คุณขนมสาคูไดนําเอาความเห็นของคุณวิคทีแ
่ สดงความเห็นไวในพันทิพ (นาจะเปน
หองสินธร) โดยคุณวิค ไดแสดงความเห็นเกี่ยวกับเรื่องเครดิตภาษีเงินปนผลเมื่อป
2547 โดยมีความเห็นบางสวนของคุณวิคมีดงั นี้ “...มีเงินปนผล จาก ชินคอรปฯ เขา
จายมา 7500 หักภาษี ณ ที่จายไว 750 สิ้นปผมนําไปรวมคํานวณยืน
่ ภงด.90 เขา
เครดิตภาษีคืนให 3141.33 บ. กับ 750 รวมแลวเครดิตให 3891.33 แลวผมไมมี
รายไดอน
ื่ เลย จึงไดรบ
ั เงินคืนจากกรมฯ 3891.33 บาท...”

----------------------------------

ก็อยากถามคุณ thyrocyte วา ถาไมถือวา เครดิตภาษีเงินปนผลเปนภาษีที่ได


จายไปใหกับกรมฯแลว กรมฯจะคืนเงินใหคุณวิคไดอยางไร?
ั เจนทีเดียว เพราะเปนเรื่องจริงที่เกิดขึน
ตรงนี้นาก็เปนสิง่ ยืนยันไดชด ้ กับคุณวิคในป
2546 และไดนํามาเลาใหฟงในป 2547

ผมก็บอกไปตัง้ แตเมื่อวานนี้แลววาคําวา “เครดิตภาษี tax credit” หมายถึง


ภาษีที่ไดจา
 ยไปแลว

From Wikipedia
The term tax credit describes two different concepts:
• A recognition of partial payment already made towards taxes due.
• A state .............

คุณ thyrocyte ยอมรับวาตัวเองผิดเถอะครับ ก็ผมบอกแลววา โตสผ


ู มไมได ไมใช
เรื่องเสียหายแตอยางใด เพราะผมเรียนจบทางดานบัญชี
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 71

คําพูดของนายกทักษิณที่ผมถือวาสุดยอดจริงๆ
แสดงถึงวิสย
ั ทัศนกวางไกลหาคนอื่นเทียบไมไดจริงๆ
“ประเทศไทยตองเปนองคกรที่มีเรียนรูต
 ลอดชีวิต เปน Learning Organization
ตองมีการสงเสริมใหระบบการเรียนรูเขมแข็งขึน
้ ใหได ระบบอินเตอรเน็ตซึ่ง
กลายเปนมหาวิทยาลัยโลก เราตองสงเสริมกระบวนการทัง้ หลายที่เคยทําใหคน
ไทยรูนอย รูไมเทาคนอื่นๆ เราตองกําจัดใหหมด เพื่อใหคนไทยไดรเู หมือนที่คนใน
้ ัน active กวาสมัยกอน ไมอยูนงิ่ เพราะถาอยูนิ่งก็ไมทันเขา”
โลกเขารู โลกวันนีม

“อนาคตขางหนาผมอยากบอกวา คนหนุม
 อยางพวกทานที่เลนอินเตอรเน็ตอยาง
เกงอยางเชีย
่ วชาญ การแขงขันที่แทจริงไมไดอยูที่ใครมีขอ
 มูลมากกวากันนะครับ
มันเลยขึ้นไปอีกขั้นหนึง่ คือใครจะสามารถเลือกและวิเคราะหขอมูลไดดีกวากัน ใคร
ที่บอกวา information is power บอกแคนั้นจบไมใชแลวนะครับ Alvin Toffler
เขียนหนังสือเลมนี้ไวนานมากแลว วันนี้มน
ั ไปอีกขั้นหนึ่งคือเรื่องของ speed ซึ่ง
ตองเริม
่ ดวยการเลือกและวิเคราะหขอมูล เพือ
่ นํามาใชเปน Analytical power เปนจุด
ที่สําคัญมากที่จะทําใหคนเกงกวากัน หรือเหนือกวากัน หรือชวงชิงอะไรไดกอ
 นกัน”

ทานพูดไวนานแลวครับ ชวงที่ทานเปนนายกใหม จําไมไดวาพูดที่ไหน ผมจําไดจน


ขึ้นใจแลว ถือเปนคาถาที่ศักดิ์เลย
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 72

การตรวจสอบทรัพยสินและหนีส
้ ินของนักการเมือง

ความเห็นเกี่ยวกับเรื่องเกี่ยวกับทรัพยสินของนายกทักษิณไวในหองราชดําเนิน โดยมีการ
โตตอบกับ thyrocyte ขาใหญแหงหองราชดําเนิน หลายคนใหฉายาวา “จอมขอมูลตัด
แปะ” เริ่มแสดงความเห็นเมื่อ 10 ม.ค. 52 จบเมื่อ 19 ม.ค. 52 มีการแสดงความเห็น
ทั้งหมด 177 ความเห็น ผมเปนผูตั้งกระทู ซึ่งเขาไปแสดงความเห็นประมาณ 4-5 ครั้ง
นํามาปรับปรุงและสรุปใหอานกันอีกที

จุดประสงคที่ใหนักการเมืองแสดงทรัพยสน
ิ และหนี้สิน
ก็เพื่อตรวจสอบวานักการเมืองร่ํารวยผิดปกติหรือไม
โดยดูจากการเปลีย
่ นแปลงในทรัพยสินสุทธิ
(ทรัพยสน
ิ สุทธิ = ยอดรวมของทรัพยสน
ิ หัก ยอดรวมของหนี้สิน)
ทรัพยสน
ิ เชน เงินสดและเงินฝากธนาคาร บานและที่ดน
ิ รถยนต และ เครื่องใช
ภายในบาน เปนตน
ถาทรัพยสินสุทธิเพิ่มขึน
้ ทุกๆปแสดงวารวยขึน
้ ถาลดลงแสดงวาจนลง
(การที่จะดูวา ฐานะทางการเงิน ร่ํารวยขึ้นหรือยากจนลง
จะดูจากทรัพยสน
ิ เพียงอยางเดียวไมได ตองดูที่หนี้สินดวย)
ถาทรัพยสินสุทธิ เพิ่มขึน
้ มากกวา รายไดสุทธิ (รายได หัก คาใชจาย)
แสดงวาร่ํารวยผิดปกติ

รายได เชน เงินเดือน เงินปนผล เปนตน รายการที่ไมจด


ั เปนรายได เชน เงินที่
ไดรับชําระจากลูกหนี้ (เปนรายรับ แตไมใช รายได)
รายการที่ไมจัดเปนคาใชจาย เชน จายเงินซื้อทองคํา (เปนรายจาย แตไมใช
คาใชจาย)

ผมขอยกตัวอยางเปนตัวเลขก็แลวกัน และ ขออธิบายแบบเยิ่นเยอสักหนอย เพื่อคน


่ งของตัวเลขหรือการคํานวณ จะไดทําความเขาใจไดงายขึ้น
ที่ไมชอบเรือ
นาย ก.มีสน
ิ ทรัพยสุทธิเมื่อสิ้นปที่หนึ่ง 100 ลาน และ สิน
้ ปทีสอง 120 ลาน
ในระหวางปที่สอง นาย ก.มีรายได (ไมใชรายรับ) 30 ลาน
มีคาใชจาย (ไมใชรายจาย) 10 ลาน
รายไดสุทธิของนาย ก.เทากับ 20 ลาน (30 – 10)
แสดงวานาย ก.ร่ํารวยตามปกติ
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 73

เพราะทรัพยสินสุทธิที่เพิ่มขึ้น 20 ลาน (120 – 100)


มาจากรายไดสุทธิ 20 ลาน
ถาทรัพยสินสุทธิเพิ่มขึน
้ มากวา 20 ลาน
แสดงวาสวนที่เกินวา 20 ลานเปนสวนที่ร่ํารวยผิดปกติ เชน
มีทรัพยสินสุทธิเพิ่มขึน
้ จากปที่ 1 เปนเงิน 25 ลาน
แสดงวา 5 ลานเปนจํานวนเงินที่รา่ํ รวยผิดปกติ

โดยความเปนจริงแลว นักการเมืองที่ไดรบ
ั เงินหรือทรัพยสิน
ที่มิชอบตามกฎหมาย จะไมนําเอาเงินหรือทรัพยสน
ิ นัน

ไปแสดงไวในบัญชีแสดงรายการทรัพยสน
ิ ของตน
แตจะนําเอาไปไวกบ
ั คนใกลชด

การแสดงบัญชีทรัพยสน
ิ เปนเท็จของคุณทักษิณในสมัยทีเ่ ปนนายกรัฐมนตรีครั้งแรก
ป.ป.ช. ไดชี้มูลความผิดวาคุณทักษิณแสดงบัญชีทรัพยสน
ิ เปนเท็จ
กลาวคือโอนหุนใหคนใกลชิดมีมูลคากวา 600 ลานบาท
หมายความวาแสดงทรัพยสน
ิ ต่ํากวาความเปนจริงกวา 600 ลานบาท
คนที่ไมชอบคุณทักษิณไดเรียกกรณีนี้วา “ซุกหุน”
การใชคําวา ซุกหุน มีวต
ั ถุประสงคเพื่อ Discredit คุณทักษิณ
ทําใหคนทีไ่ มมีคอยมีความรูเรื่องของการเงินมองวาเปนการทุจริต
ทั้งๆที่หุนจํานวน 600 กวาลานเปนทรัพยสินของคุณทักษิณ ที่มีอยูก
 อนแลวทีจ
่ ะ
เขาสูวงการเมือง ไมไดมีเพิ่มขึน
้ ในขณะดํารงตําแหนงทางการเมือง
เพียงแตไมไดแสดงในบัญชีทรัพยสิน ถาจะมองแบบชาวบานๆ ก็ทรัพยสน
ิ ของเขา
เขาจะโอนใหใครก็เปนเรื่องของเขา

คําถามก็คือ
การแสดงทรัพยสน
ิ ในครั้งแรกต่ํากวาความเปนจริง
หรือการแสดงทรัพยสน
ิ สูงกวาความเปนจริง
กรณีใดจะเปนประโยชนในอนาคตตอการทุจริต เชน รับเงินสินบน หรืออื่นๆ
คําตอบก็คอ
ื กรณีแสดงทรัพยสินสูงกวาความเปนจริง
เชน มีทรัพยสินสุทธิจริง 300 ลานบาท แตแสดง 350 ลานบาท
เพราะคาดวาในอนาคตจะไดรบ
ั เงินจากผูประมูลงานจํานวน 50 ลานบาท
ตอมาไดรับเงิน 50 ลานบาทจริง (อันนีพ
้ ูดตามหลักการ)
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 74

ผมมองไมเห็นประโยชนอะไรเลยที่คุณทักษิณ
จะมีเจตนาแสดงทรัพยสินใหต่ํากวาความเปนจริง
(ในการเขาดํารงตําแหนงทางการเมืองในครั้งแรก)
แตถาเปนการแสดงทรัพยสน
ิ ในครัง้ ถัดๆไป
แสดงดวยจํานวนต่ํากวาความเปนจริง อันนีต
้ ั้งเปนขอสันนิษฐานไวกอนวา
นาจะเปนทรัพยสน
ิ (สวนที่มิไดแสดง) ที่ไดมาโดยมิชอบ
อันนี้แหละที่ควรจะเรียกวา “ซุกซอนทรัพยสน
ิ ”

การที่ไมไดแสดงทรัพยสินทีต
่ นมีอยูกอนทีจ
่ ะเขาสูวงการเมือง
แลวกลาวหาวานักการเมืองผูนน
ั้ วามีเจตนาทุจริต
คนที่กลาวหานั้นคงมีสมองที่ไมใชของมนุษย

กรณี ป.ป.ช. ไดชี้มล


ู ความผิดวาคุณทักษิณแสดงบัญชีทรัพยสน
ิ เปนเท็จ
ความจริง ป.ป.ช. นาจะดูถึงเจตนารมณของการให
นักการเมืองแสดงทรัพยสินและหนี้สินวา มีเจตนารมณ
เพื่อตรวจสอบหาความร่ํารวยผิดปกติของนักการเมือง

การที่คุณทักษิณแสดงสินทรัพยตา่ํ กวาความเปนจริง แมวาจะเปนสิ่งที่ผิดตอ


ระเบียบหรือขอบังคับ หรือกฎหมายของ ป.ป.ช. ก็ตาม แตความผิดตรงนี้
มันไมไดเปนชองทางหรือเปนประโยชนตอการทุจริตในอนาคตเลย
(ผมไดกลาวเหตุผลมาขางตนแลว)

ศาลรัฐธรรมนูญจํานวน 15 ทาน
มีความเห็นวาคุณทักษิณผิด 7 ทาน และ ไมผด
ิ 8 ทาน
7 ทานที่เห็นวาผิด คงจะพิจารณาในขอกฎหมายเทานั้น
สวนอีก 8 ทานที่เห็นวาไมผิด ผมจําไมไดวา ทานใหเหตุผลเชนใด
แตผมคิดวาคงไมใชเหตุผล เดียวกันกับที่ผมไดแสดงเหตุผลไว

ผมวานักกฎหมาย มักจะมองแตขอกฎหมายเพียงอยางเดียว นาจะมองอะไรใหมน



กวางขวางขึ้น ปจจุบันประเทศไทยไดถูกครอบงําโดยนักกฎหมาย (ผูพิพากษา)
ผมมีความเห็นโดยสุจริตวา นักกฎหมายของไทย
มีความรูศ
 าสตรดานอืน
่ ๆ (นอกเหนือจากกฎหมาย) คอนขางนอย
เมื่อเทียบกับนักกฎหมายแถบอเมริการหรือยุโรป
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 75

ทําใหการตัดสินคดีความตางๆที่มค
ี วามเกี่ยวของกับศาสตรดานอืน
่ ๆ
มีความผิดเพี้ยน บกพรองเกิดขึน
้ โดยเฉพาะอยางยิง่
ศาสตรทางดานบัญชีและการเงิน ซึ่งเปนเรื่องที่ทําความเขาใจไดยาก
แตงายตอการกลาวหา อันนี้เปนความรูสึกจริงๆของนักบัญชีคนหนึ่ง มิไดมีเจตนา
อยางอื่นแอบแฝงเลย เปนความรูสก
ึ ของคนทีไ
่ มคอยมีความรูดานกฎหมาย และ
ตองขออภัยนักกฎหมายดวย ถาความเห็นของผม ทําใหทานไมสบายใจ

ประเทศของเราเจริญกาวหนาไปอยางเชื่องชาเพราะ คนขีอ
้ ิจฉามีจํานวนมาก
อิจฉาคนนั้นเพราะ คนคนนั้นมีผูคนรักมากตนเอง
อีกไมนานหลอก พวกขีอ
้ ิจฉาทั้งหลายจะตองรับเวรกรรม
เทวดาบางองคเมื่อหมดบุญยังตองไปลงนรกเลย
สาธุ ขอใหพวกขี้อิจฉาทั้งลาย จงมีอันเปนไปในเร็วไว

ขอจบแคนก
ี้ อน เครื่องคอมฯมันเริม
่ ประทวงผมแลว พรุง นี้ตด
ิ ตามตอ

แสดงบัญชีทรัพยสินและหนี้สินหลังพนตําแหนงทางการเมือง

นักการเมืองที่ชอบหาผลประโชนจากการดํารงตําแหนงทางการเมือง เมื่อไดเปน
นักการเมืองแลว และไดรับผลประโยชนจากการใชตําแหนงหนาที่ จะแสดง
ทรัพยสน
ิ สุทธิต่ํากวาความเปนจริง ซึ่งทําได 2 กรณีคือ แสดงทรัพยสินต่ํากวาความ
เปนจริง หรือ แสดงหนีส
้ ินสูงกวาความเปนจริง

แสดงทรัพยสินต่ํากวาความเปนจริง

เชน นายเหลืองรับเงินสินบนมาแลว 200 ลาน แลวเอาไปเขาบัญชีที่เปดขึน


้ ใหม
ตอนรายงานบัญชีทรัพยสินและหนี้สิน แจงทุกรายการวามีทรัพยสินกี่รายการ หนี้สิน
กี่รายการ แตละรายการมีจํานวนเงินเทาใด แตไมแจงรายการเงินฝากจํานวน 200
ลานบ ถาเปนแบบนี้ตรวจสอบปุบก็เจอเลยครับ เพราะการตรวจสอบบัญชีเงินฝาก
ธนาคารวามีอยูที่ใดบางไมใชเรื่องยากเย็นอะไร ถาจะเปรียบเปนคนขับรถ ก็ตอง
เรียกวามือใหมหัดขับ ถาจะไมใหตรวจสอบพบ ตองเอาเงินจํานวน 200 ลานบาท
นั้นไปใหคนที่ไวใจไดทไ
ี่ มใชญาติพี่นองเปนคนเก็บเงินจํานวนนัน
้ ไว ซึ่งคนๆนั้นก็
อาจจะนําไปเขาบัญชีตัวเองไว และถานายเหลืองไมไวใจคนที่ถือเงินไวเต็มรอย ก็
อาจจะทําสัญญาเงินกูไ
 ว ถาไมมีการหักหลังกันก็จะรอดพนการตรวจสอบไปได
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 76

สมมติตอไปวา ถาไปตรวจสอบพบสัญญาเงินกู ก็จะโดนขอหาแจงทรัพยสน


ิ เปน
เท็จ เพราะแจงทรัพยสน
ิ ต่ํากวาความเปนจริง กลาวคือไมแจงในบัญชีทรัพยและ
หนี้สินวามีลก
ู หนี้ 200 ลานบาท ก็จะถูกจับไดวาร่ํารวยผิดปกติ

แสดงหนีส
้ น
ิ สูงกวาความเปนจริง

นายเหลืองเปนนักการเมือง มีเงินฝากธนาคารหลายสิบลานบาท ตอมารับเงินคาหัว


คิวประมูลสรางทางหลวง 10 ลานบาท แลวนําเอาเขาบัญชีเงินฝากหลายบัญชี ถา
ทําแคนี้ก็จะชี้แจงไมไดวา 10 ลานบาทมาจากไหน ดังนัน
้ ก็ตองอุปโลกนหนี้สน

ขึ้นมา 10 ลานบาท แสดงในบัญชีทรัพยสน
ิ และหนี้สิน ก็จะชี้แจงไดวาเงินฝาก
ธนาคารที่เพิ่มขึ้นมาจํานวน 10 ลานบาทนัน
้ ไดมาจากการกูยืม

ถาไมมีหลักฐานการกูยม
ื ก็จะถูกจับไดอีก และถาทําหลักฐานการกูยืมละจะตรวจ
เจอมั๊ย ก็ตรวจเจอไดอก
ี แหละวา ผูใหกูมีการโอนเงินเขาของนายเหลืองจริงหรือ
เปลา เพราะฉะนั้นก็ตองมีการโอนเงินเขาบัญชีของนายเหลืองจริงๆ แลวเมื่อนาย
เหลืองไดรบ
ั เงินคาหัวคิวมา 10 ลาน ก็เอามาจายชําระผูใหกู มาถึงตอนนี้ก็แสดงวา
นายเหลืองกับผูใหกูไมมีหนี้สินตอกันแลว แตเพื่อไมใหถก
ู จับทุจริตได หลังจากพน
ตําแหนงทางการเมืองแลว ก็ยงั ตองแสดงเปนหนี้อยู 10 ลานบาทเชนเดิม เห็นมั๊ย
ครับวา นักการเมืองคนนี้แสดงทรัพยสน
ิ สุทธิต่ํากวาความเปนจริง (แสดงหนีส
้ น
ิ สูง
เกินจริง)

กรณีของเสธ.นั่น แสดงทรัพยสน
ิ สุทธิต่ํากวาความเปนจริง โดยแสดงรายการหนีส
้ ิน
ที่ไมมอ
ี ยูจ
 ริงในบัญชีทรัพยสน
ิ และหนี้สินที่แจงไว (แจงหนี้สินสูงกวาความเปนจริง)
ถาจําไมผด
ิ ก็คือ แจงวาเปนหนีบ
้ ริษัทเอเอเซอรวิสประมาณ 400 ลาน ผมติดตามฟง
การอภิปรายในสภาในกรณีนี้เหมือนกัน และไดทราบวามีนักบัญชีคนหนึ่งไดไป
กระซิบรองโฆษกพรรคความหวังใหมของพอใหญจิ๋ว ใหไปบอกคนอภิปรายวา เอา
งบดุลของบริษัทเอเอเซอรวิสไปแสดงในสภาทุกอยางก็จบแลว ไมตอ
 งอภิปรายให
เสียเวลา ถาเสธ.นัน
่ เปนหนี้จริง ในงบดุลของบริษัทเอเอเซอรวิสตองมีลูกหนี้ชื่อ
เสธ.นัน
่ 400 ลานบาทเชนกัน แลวเสธ.นัน
่ ก็ถก
ู น็อคดวยงบดุล ผมจําไมไดวาเรื่อง
ของ 400 ลานบาทนัน
้ จบลงอยางไร

ที่พูดมาไมไดเปนการชี้ชองทางเพื่อทุจริตแตอยางใด ก็เพื่อจะสื่อวา ถาเขาจะทุจริต


เขาทํากันอยางไร ไมวา เปนนักการเมืองหรือขาราชการ แตวิธีที่นักการเมืองมักจะ
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 77

ใชกัน คือ ไปเลนบอนการพนันในตางประเทศ เพื่อจะใชเปนขออางวาเงินที่เพิม


่ ขึ้น
มานนั้นไดมาจากการพนัน

นักการเมืองบางคนมารวยตอนเลนการเมืองนี่แหละ กอนเลนการเมืองก็ไมเห็นมี
อะไรเลย โดยเฉพาะพลพรรคแมลงสาป สรางภาพวาตนเปนคนสมถะ เปน
นักการเมืองมาหลายสิบป มีทรัพยสินเงินทองอยูเพียงนิดเดียว จนผิดปกติโวย นา
สงสาร ชอบแสดงละครเรื่อง “น้ําตาลูกแมคา
 ” เอาเงิน 40 ลานบาทไปฝากไวกับ
คนอืน
่ เห็นหรือยังวา ถาเขาเปนนักการเมืองแลวตองแสดงทรัพยสินต่ํากวาความ
เปนจริง ถาแสดงในบัญชีทรัพยสน
ิ และหนี้สน
ิ วามีเงิน 40 ลาน ก็จะแจงที่มาไมได

แสดงบัญชีทรัพยสินและหนี้สินกอนตําแหนงทางการเมือง

ถาเปนคนทีต
่ ั้งใจจะหาประโยชนจากการเปนนักการเมือง ทําอยางไรจึงรอดพนการ
ตรวจสอบวาทุจริตได ก็ทําตามที่ไดกลาวมาแลว คือ แสดงทรัพยสน
ิ สุทธิใหสูงเกิน
ความจริง แยกเปน 2 กรณี คือ แสดงทรัพยสน
ิ สูงเกินความจริง หรือ แสดงหนี้สน
ิ ต่ํา
กวาความเปนจริง

แสดงทรัพยสินสูงกวาความเปนจริง

เชน ไปกูเงินจากเพื่อนมาไวกอน 10 ลานบาท แตตอนแสดงบัญชีทรัพยสน


ิ และ
หนี้สินเมื่อเขาดํารงตําแหนง ไมแสดงรายการวามีหนี้สินจํานวน 10 ลานบาท เมือ

ไดเงินจากการทุจริตมาแลวก็นํามาชําระหนี้ เห็นมั๊ยครับวา ทําตรงขามกับหลังดํารง
ตําแหนงทางการเมือง

แสดงหนีส
้ น
ิ ต่ํากวาความเปนจริง

มีหนี้หลายรายการ แตแสดงนี้ไมครบทั้งหมด เชน เปนหนีเ้ พื่อน 20 ลาน ไมแสดง


หนี้จํานวนนีใ้ นบัญชีทรัพยสน
ิ และหนี้สิน และเมื่อไดเงินจากการทุจริต ก็นําเอามา
ชําระหนี้

จะเห็นไดวา กอนดํารงตําแหนงทางการเมือง แสดงทรัพยสินสูงเกินความจริง หรือ


แสดงหนีส
้ น
ิ ต่ํากวาความเปนจริง จะเอื้อตอการทุจริตในอนาคตเปนอยางยิง่

แสดงทรัพยสินต่ํากวาความเปนจริง

กรณีนี้เปนเรื่องของนายกทักษิณ แสดงทรัพยสินต่ํากวาความเปนจริงกวา
600 ลานบาท กลับถูกผูคนในสังคมโดยเฉพาะพวกคนเลวทรามทั้งหลาย สราง
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 78

ตราบาปใหทาน โดยใชคําวา “ซุกหุน” เพื่อใหคนชิงชังทาน มองวาทานเปนผูร าย


มองวาทานเปนคนฉอฉล คําวา “ซุก หรือ ซุกซอน” นัน
้ มันควรใชกบ
ั สิ่งของที่ไดมา
โดยมิชอบ ไดมาโดยลักขโมย ปญญานิ่มหรือเปลาที่นําเอาคํานี้มาใช ชาวบานที่ไม
คอยรูเรื่องก็เขาใจผิด คิดวาทานเปนคนเลวราย เพิง่ จะเขามารับตําแหนงก็โกงแลว
ชาติหนาขอใหพวกคนเลวทรามเหลานี้เกิดเปนคนปญญาออน พวกมรึงลองคิดดู
บางวา แสดงทรัพยสินต่ํากวาความเปนจริง มันจะเอื้อประโยชนตอการทุจริตใน
อนาคตไดอยางไรวะ ชวงนัน
้ ถาทรัพยสน
ิ ของนายกทักษิณมีมูลคาแสนลานบาท
หุน 600 ลานบาท มันก็แค 0.6% ของทรัพยสินทั้งหมดเอง “มี 10,000 สตางคให
คนใกลชด
ิ เก็บไว 60 สตางค มันมากมั๊ยละ ลืมไปเลยวาเอา 60 สตางคไปวางไว
ตรงไหน ชางมันเหลืออีกตั้ง 9,940 สตางค”

ทําไมคนบางกลุมอยากเสียภาษีเยอะ

ถามีคนกลาววา ผูประกอบอาชีพสุจริตพยายามหลีกเลีย
่ งภาษีเปนพวกใชวิชามาร
ผมจะจัดอันดับใหเปนแคมารระดับเด็กอนุบาล แตมารระดับด็อกเตอรนั้น เขาจะ
พยายามเสียภาษีใหมากๆ เปนพวกประกอบอาชีพที่ผิดกฎหมาย ตองการฟอกเงิน
นั่นเอง เชน มีรายไดจากคายาบาหรือขายหวยเถื่อนเดือนละ 300,000 แสนบาท
ฟอกเงินที่ไดมาดวยการเปดธุรกิจโรงแรมขนาด 30 - 50 หองขึ้นมาบังหนา
บางวันมีคนมาพัก 2-3 หอง บางวันไมมค
ี นมาพักเลย แสดงวาถาวัดผลประกอบการ
จริงๆจะตองขาดทุนทุกเดือน แตไดบันทึกขอมูลไววามีผูมาเปดใชหองเกือบเต็มทุก
เดือน พูดงายๆบันทึกรายไดจากคายาบาหรือขายหวยเถือ
่ นเปนรายไดคาหองพัก
ของโรงแรม แลวนําเงินเขาฝากธนาคาร กลายเปนเงินทีถ
่ ูกตองตามกฎหมาย (ฟอก
ไดสะอาดแลว)
นี่แหละคือพวก “มารระดับด็อกเตอร”

อีกพวกหนึง่ ก็คือ พวกบริษัทตางๆที่ตองการเขาตลาดหลักทรัพย เจาของบริษัท


รวมมือกับนักบัญชีที่ทรยศตอวิชาชีพ ตบแตงบัญชีใหมีกําไร แลวใหผส
ู อบบัญชีที่
ทรยศตอวิชาชีพอีกคนหนึ่ง ลงชื่อรับรองงบการเงิน พอเขาตลาดหลักทรัพยไดและ
ราคาหุนสูงขึ้น เจาของก็ขายหุนใหผูอื่น ผูถือหุน  จุบันทํา
 รายใหมกเ็ ลยซวย แตปจ
ไดยากเพราะก.ล.ต.ควบคุมไดดี
มุมมองของนักบัญชี (Nirvana) ตอขอหาของคตส.ที่ใชยึดทรัพยทักษิณ 79

กรณีบริษัทที่ตองการเขาตลาดหลักทรัพย ก็ไมตางจากกรณีนักการเมืองแสดง
ทรัพยสน
ิ กอนเขาดํารงตําแหนงสูงเกินความจริง เพราะเสียภาษีมากเกินจริง ก็แสดง
วากําไรมากเกินจริง กําไรมากเกินจริง ก็แสดงวาสินทรัพยสุทธิมากเกินความจริง
ตอมาก็เจง

You might also like