You are on page 1of 7

บทที่ 6

การพัฒนาระบบโดยวิธีการสร้าง
ต้นแบบ

1
การพัฒนาระบบโดยวิธีการสร้างต้นแบบ
วัตถุประสงค์การเรียนรู ้
 เพื่อให้ทราบถึงความหมายของระบบต้นแบบ
 เพื่อให้ทราบวัตถุประสงค์ในการสร้างระบบต้นแบบ
 เพื่อให้ทราบถึงประเภทของต้นแบบแต่ละชนิด
 เพื่อให้ทราบขัน้ ตอนของการพัฒนาต้นแบบ

2
การพัฒนาระบบโดยวิธีการสร้างต้นแบบ
ความหมายของต้นแบบ
ต้นแบบ(Prototype) หมายถึง ตัวอย่างของระบบงานที่
สร้างขึ้นมาเพื่อให้ผใู ้ ช้เห็นลักษณะเพียงคร่าว ๆ ของระบบงาน
ทีจ่ ะเกิดขึ้นจริง โดยระบบดังกล่าวอาจจะทางานได้เพียง
บางส่วนหรือยังไม่สามารถทางานใดได้เลย คือมีเพียงแต่
ลักษณะของหน้าจอเมนูหรือปุ่ มคาสัง่ ของโปรแกรมเท่านัน้

3
การพัฒนาระบบโดยวิธีการสร้างต้นแบบ
วัตถุประสงค์ในการสร้างระบบต้นแบบ
 เพื่อให้เกิดความเข้าใจในตัวระบบงานทีต่ รงกันระหว่างผูใ้ ช้และ
ผูพ้ ฒ
ั นาระบบงาน
 เพื่อช่วยลดข้อผิดพลาดของระบบทีก่ าลังพัฒนาขึ้น
 ั นาระบบทราบถึงโครงร่างของระบบก่อนทีจ่ ะลงมือ
ช่วยให้ทมี ผูพ้ ฒ
สร้างจริง
 ช่วยลดค่าใช้จา่ ยและเวลาในการพัฒนาระบบงาน

4
การพัฒนาระบบโดยวิธีการสร้างต้นแบบ
ประเภทของต้นแบบ
 ต้นแบบทีเ่ กิดจากการนาส่วนประกอบย่อยมารวมกัน (Patched-Up
Prototype)

 ต้นแบบทีย่ งั ไม่สามารถใช้งานได้ (Non-operational Prototype)


 ต้นแบบในลักษณะทีเ่ ป็ นระบบงานแรกทีไ่ ด้จากการพัฒนา (First-of-A-
Series Prototype)

 ต้นแบบที่ใช้งานได้เพียงบางส่วน (Selected Features Prototype)

5
การพัฒนาระบบโดยวิธีการสร้างต้นแบบ
ขัน้ ตอนการพัฒนาต้นแบบ
 การออกแบบทางตรรกะ (Logical Design)
 การออกแบบระบบต้นแบบ (Prototype Design)
 การทดลองใช้งานระบบต้นแบบโดยผูใ้ ช้ (End User Testing)
 การปรับแต่งระบบต้นแบบ (Prototype Revision)
 การออกแบบขัน้ สุดท้าย (Final design)

6
การพัฒนาระบบโดยวิธีการสร้างต้นแบบ
ข้อเสียของการพัฒนาระบบด้วยวิธีการสร้างระบบต้นแบบ
 การพัฒนาระบบด้วยวิธีการสร้างระบบต้นแบบ จะไม่ได้เป็ นวิธีการทีก่ าหนดอยูใ่ นขัน้ ตอนของวงจร
ของการพัฒนาระบบงาน เพราะฉะนัน้ ในบางครัง้ นักวิเคราะห์อาจจะมีความสับสนถึงขัน้ ตอนใน
การพัฒนาระบบด้วยวิธีการสร้างระบบต้น แบบจนทาให้ขนั้ ตอนในการพัฒนาระบบดาเนินไปใน
ทิศทางทีไ่ ม่ควรจะเป็ น และในกรณีทรี่ ะบบงานทีจ่ ะพัฒนาขึ้นมีขนาดใหญ่ และมีความซับซ้อนมาก
ก็จะเป็ นการยากทีจ่ ะบริหารระบบต้นแบบให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุดได้
 ั นาระบบอาจจะมีความคิดทีว่ า่ ระบบต้นแบบคือระบบงานจริง จึงพยายามสร้างระบบต้นแบบ
ผูพ้ ฒ
ให้มีความสมบูรณ์ที่สุดเท่าทีจ่ ะเป็ นไปได้ แล้วจึงนาไปให้ผใู ้ ช้ทดลองใช้ ซึง่ จะทาให้เสียเวลาไปกับ
การสร้างและทดลองใช้ระบบตัวแบบมากเกินไป จนในบางครัง้ ผูพ้ ฒ ั นาระบบอาจจะเสียเวลากับ
การพัฒนาระบบด้วยวิธีการสร้างระบบต้นแบบมากกว่าการพัฒนาระบบด้วยธีการธรรมดาได้

You might also like