You are on page 1of 52

กฎหมายแพ่ง 1

ข้อ 3
ต้ อ ยเข้ า ไปในร้ า นอาหารและร้ อ งสั ่ง อาหารดั ง ๆว่ า ขอเส้ น
ใหญ่ราดหน้าจานหนึ่ ง เจ้าของร้านมิได้ ตอบอะไร แต่ได้ลุกขึ้นไป
เดินผัดราดหน้า ขณะเจ้าของร้านกำาลังผัดราดหน้าอย่่ ต้อยเปลี่ยน
ใจจึ ง บอกว่ า ขอเปลี่ ย นเป็ นเส้ น หมี่ เจ้ า ของร้ า นบอกว่ า ทำา แล้ ว
เปลี่ยนไม่ได้ แล้วก็ยกราดหน้ามาให้ต้อยต้อยไม่ยอมรับจึงเกิดโต้
เถี ย งกั น เจ้ าของร้ านเรีย กให้ ต้อ ยชำา ระราคา ต้ อ ยไม่ ชำา ระอ้ างว่ า
สัญญาซื้ อขายไม่เกิดเพราะเจ้าของร้านมิได้ตอ บตกลงเมื่อตนบอก
ว่ า ขอส้ น ใหญ่ ร าดหน้ า และแม้ จ ะเกิ ด ก็ เ ป็ นสั ญ ญาให้ เพราะตน
บอกว่ามิใช่ซื้อ จึงไม่ต้องจ่ายเงิน ท่านเห็นด้วยกับข้ออ้างของต้อย
หรือไม่เพราะเหตุใด จงให้เหตุผลประกอบ
เฉลย
ในเรื่องนี้ มีหลักกฎหมายเกี่ยวข้องดังนี้
มาตรา 132 ในการความนั้ นท่านให้ฟังถึงเจตนาจึงยิ่งยวด
กว่าตัวกฎหมาย
มาตรา 356 คำาเสนอทำาแก่บุคคลผ้่อย่่เฉพาะหน้า โดยมิได้
บ่ ง ระยะเวลาให้ ทำา คำา สนองนั้ น เสนอ ณ ที่ ใ ด เวลาใด ก็ ย่ อ มจะ
สนองได้แต่ ณ ที่น้ ั น เวลานั้ น..............
มาตรา 361 วรรคสองถ้าตามเจตนาอันผ้่เสนอได้แสดงหรือ
ตามปกติประเพณี ไม่จำาเป ็นจะ
มี คำา บอกกล่ า วสนองไซร้ ท่ านว่ า สั ญ ญานั้ นเกิ ด เป็ นสั ญ ญาขึ้ นใน
เวลาเมื่ อกาลอั น ใดอั น หนึ่ ง ขึ้ นอั น จะพึ ง สั น นิ ฐานได้ ว่ า เป็ นการ
เจตนาสนองรับ
กรณีตามอุทาหรณ์ การที่ต้อยเข้าไปในร้านอาหารร้องสัง่ ดังๆ
ว่า ขอเส้นใหญ่ราดหน้าจานหนึ่ ง นั้ นพฤติการณ์ท่ีแสดงออกมาเห็น
ได้ ว่ า ต้ อ ยมี เ จตนาซื้ อราดหน้ า มิ ใ ช่ ข อ หากจะขอต้ อ ยย่ อ มไม่
ตะโกนสัง่ ดังๆเช่นนี้ ทั้งต้องไม่กล้าขอเปลี่ยนตามอำาเภอใจ ดังนั้ น
แม้ ถ้ อ ยคำา จะว่ า ขอ ก็ ต้ อ งหมายความว่ า ซื้ อเพราะการตี ค วาม
แสดงเจตนาต้องเพ็งเล็งถึงเจตนาที่แท้จริงยิ่ งกว่าถ้อยคำา ตามตัว
อักษรตามมาตรา 132
การที่ต้อยแสดงเจตนาซื้ อราดหน้ากับเจ้าของร้าน เป็ นการ
ทำาความเสนอแก่บุคคลผ้่อย่่เฉพาะหน้า แม้เจ้าของร้านจะมิได้ตอบ
ตกลง แต่ก็ได้ลุกเดินไปผัดราดหน้าซึ่งเป็ นการแสดงเจตนาสนอง
รับ ณ ที่ น้ ั นเวลานั้ นแล้ ว เพราะการแสดงเจตนานั้ นไม่ จำา เป็ น
แสดงด้วยวาจาเสมอไป ด้วยกริยาท่าทางที่เข้าใจได้ แล้ว ทั้งยังมี
กฎหมายมาตรา 361 วรรคสองที่ว่ า ตามปกติประเพณี ไม่ จำา เป็ น
ต้องมีคำาบอกกล่าวสนองไซร้ ท่านว่าสัญญานั้ นเกิดเป็ นสัญญาขึ้น
ในเวลาเมื่อมีการอันใดอันหนึ ่งขึ้นอันจะพึงสันนิ ฐานได้ว่าเป็ นการ
แสดงเจตนาสนองรับ ซึ่งก็สามารถนำามาใช้เทียบเคียงในกรณี น้ ี คือ
ปกติ ประเพณี ใ นการขาย อาหาร ผ้่ ข ายก็ ไ ม่ จำา เป็ นต้ อ งมี คำา บอก
กล่าวสนองตอบ ดั งนั้ นเมื่อ มีการลงมือ ผัดราดหน้า จึ ง ถื อ ว่ าได้ มี
การอันใดอันหนึ่ งอันพึงสันนิ ฐานได้ว่าเป็ นการแสด งเจตนาสนอง
รับคำาเสนอแล้ว สัญญาซื้ อขายจึงเกิดขึ้น
ดังนั้น ต้อยจึงมีหน้าที่ต้องชำา ระราคาข้ออ้างทั้งสองข้อฟั ง
ไม่ข้ ึน

กฎหมายอาญา 1
ข้อ 1
นายสมิทคนอังกฤษเดินทางมากรุง เทพมหานครพักที่
โรงแรมนายสุรพงษ์ เกิดเรื่องทะเลาะวิวาทกับนายสุรพงษ์นายสมิท
ได้ทำาร้ายนายสุรพงษ์ บาดเจ็บสาหัส แล้วหลบหนี้ ไปประเทศญี่ปุ่น
และถ่กทางการญี่ปุ่นจับกุมตัวได้รฐั บาลไทยขอให้รฐั บาลญี่ปุ่น
ดำาเนิ นคดีกับนายสมิทฐานทำาร้ายผ้่อ่ ืนบ าดเจ็บสาหัดศาลญี่ปุ่น
พิพากษาถึงที่สุดให้ยกฟ้ องเพราะพยานหลักฐ านออ่นนายสมิทจึง
เดินทางมายังกรุงเทพมหานครอีกและถ่กตำารวฝจจับก ุมดำาเนิ น
คดีเรื่องที่เคยทำาร้ายนายสุพงษ์ศาลไทยจะพิพากษาลงโทษนา ย
สมิทได้หรือไม่

เฉลย
ตามประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา 4 วรรคหนึ่ ง) ผ้ท
่ ่ี
กระทำาผิดในราชอาณาจักรต้องรับโทษตามกฎหมายการที่นาย
สมิทท ำร้ายนายสุรพงษ์บาดเจ็บสาหัสเหตุเกิดในประเทศไทย
ฉะนั้ นนายสมิทจ ึงต้องรับโทษในประเทศไทยอย่างไรก็ตามหลัง
จากทำาร้ายนายสุรพงษ์แล ้วนายสมิทหลบหนี้ ไปประเทศญี่ปุ่นและ
ถ่กจับกุมที่น้ ั นรัฐบาลไทยไ ด้ขอร้องให้รฐั บาลญี่ปุ่นดำาเนิ นคดีกับ
นายสมิทฐานทำาร้ายผ้่อ่ ืนบ าดเจ็บสาหัสแต่ศาลญี่ปุ่นพิพากษาถึงที่
สุดยกฟ้ องเพราะพยานหลักฐ านอ่อนกรณี จึงต้องประมวล
กฎหมายอาญา (มาตรา 11 วรรคสอง) ที่ว่าในกรณี ท่ีผ้่กระทำา
ความผิดในราชอาณาจักรได้ฟ้องต่อศาลต่าง ประเทศโดยรัฐบาล
ไทยร้องขอห้ามมิให้ลงโทษผ้่น้ ั นในราชอาณาจักรเพ ราะการกระทำา
นั้ นถ้าได้มีคำาพิพากษาถึงที่สุดของศาลต่างประเทศให้ ปล่อยตัวผ้่
นั้ นดังนั้ นเมื่อศาลญี่ปุ่นพิพาทกษาถึงที่สุดยกฟ้ อง นายสมิทศาล
ไทยจะลงโทษนายสมิทในความผิดฐานทำาร้ายร่างกายนายสุพงษ ์
อีกไม่ได้

กฎหมายแพ่ง 1
โจทก์
แสงอายุ 18 ปี มีความสามารถในการเล่นดนตรี จึงได้ต้ ังวง
ดนตรีคณะ เขียวทอง โดยบิดาของแสงได้ให้การสนั บสนุ นฝึ กซ้อม
ให้ และบางครั้งก็รบ
ั ติดต่องานแทนแสงด้วย
วั น หนึ่ ง ปอเพื่ อ นสาวของแสงอายุ 17 ปี เป็ นคนวิ กลจริต
ได้มาติดต่อขอให้แสงนำาวงดนตรีไปเล่นในงานวันเกิดตนโดยแสง
ไม่ทรา บว่าปอวิกลจริต จึงตอบตกลงครั้นใกล้ถึงวันงานบิดาของ
ปอทราบเรื่องการจ้างวงดนตร ี จึงรีบโทรศัพท์มาหาบิดาของแสง
และขอบอกเลิกการจ้ างดังกล่าวแต่ ปรากฏว่าบิ ดาแสงไม่อย่่ แสง
เป็ นคนรับสายเอง แต่ไม่บอกเรื่องนี้ แก่บิดาของตน ครั้นถึงวันงาน
แสดงก็ นำา วงดนตรีไ ปแสดงตามที่ ต กลงไว้ และขอคิ ด ค่ า แสดง
เพียงครึง่ เดียวจากที่ตกลงไว้เพราะเห็นแก่เพื่อ นดังนี้ บิดาของปอ
จะปฎิเสธไม่ยอมจ่ายค่าแสดงได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
เฉลย
หลักกฎหมาย
มาตรา 21 บัญญัติว่า อันผ้่เยาว์จะทำานิ ติกรรมใดๆต้องได้รบ

ความยิ นยอมของผ้่แทนโดยชอ บธรรมก่ อนบรรดาการใดๆอั นผ้่
เยาว์ได้ทำาลงปราศจากการยินยอมเช่นว่ านั้ นท่านว่าเป็ นโมฆียะ
มาตรา 28 วรรคแรกบั ญ ญั ติ ว่ า ผ้่ เ ยาว์ ไ ด้ ร ับ อนุ ญ าตให้ ทำา
กิ จ การค้ า ขายรายหนึ่ ง หรือ หลายรายแล้ ว ในความเกี่ ย วพั น กั บ
กิจการค้าขายอันนั้ น ท่านว่าผ้่เยาว์ย่อมมีฐานะเสมือนดัง่ บุคคลซึ่ง
บรรลุนิติภาวะแล้ วฉะนั้ น
มาตรา 137 บัญญัติว่า “โมฆียะ” กรรมนั้ น ท่านว่าบุคคลดัง
กล่าวต่อไปนี้ คือผ้่ไร้ความสามารถก็ดีหรือผ้่ได ้ทำาการแสดงเจตนา
โดยวิธีวิปริต หรือผ้่แทนโดยชอบธรรมหรือผ้่พิทักษ์หรือทายาทของ
บุคคลเช่นว่านั ้นก็ดีจะบอกล้างเสียก็ได้
ปอ อายุ 17 ปี ยังเป็ นผ้่เยาว์อย่่ไม่ไม่สามารถทำานิ ติกรรมใด
ๆ ได้ ต้ อ งได้ ร ับ ความยิ น ยอมจากบิ ด าซึ่ ง เป็ นผ้่ แ ทนโดยชอบ
ธรรมการที่ปอไ ปติดต่อจ้างแสงให้นำา วงดนตรีไปแสดงในวันเกิด
ของตนนั้ นเป็ นนิ ติ ก ร รมซึ่ ง ทำา โดยบิ ด ามิ ไ ด้ ยิ น ยอม ดั ง นั้ น
นิ ติกรรมนี้ จึง ตกเป็ นโมฆีย ะ บิดาของปอซึ่งเป็ นผ้่ท่ี สามารถบอก
ล้างนิ ติกรรมการจ้างนี้ ได้ (ม.21 ม.137)
ส่วนกรณี ท่ีปอเป็ นคนวิกลจริตนั้ นไม่มีประเด็นที่จะต้องกล่าว
ถึง แต่อย่างใดเพราะปอเป็ นผ้่เยาว์นิติกรรมใดๆ ที่ทำา ลงโดยมิได้
รับความยินยอมจากผ้่แทนโดยชอบธรรมย่อมตกเป็ นโมฆ ียะ
แสงนั้ นแม้ว่าจะอายุ 18 ปี ยังไม่บรรลุนิติภาวะก็ตาม แต่การ
ที่ต้ ังวงดนตรีรบ
ั งานแสดงนี้ เป็ นเรื่องข้อยกเว้น ซึ่งผ้่เยาว์สามารถ
กระทำา ได้ คือทำา กิจการค้าและในการนี้ เมื่อบิดาของแสงได้ ให้ การ
สนั บสนุ นฝึ ก ซ้อมให้และติดต่อรับงานแทนด้วย ก็เป็ นการแสดง
ว่าบิดาได้อนุ ญาตให้แสงกระทำา กิจการค้าได้โดยปริยา ยแล้ว เมื่อ
เป็ นเช่ น นี้ ในความเกี่ ย วพั น กั บ กิ จ การดนตรีข องคณะเขี ย วทอง
แสงมีฐานะเสมือนดังผ้่บรรลุนิติภาวะ เมื่อบิดาของปอขอบอกล้าง
นิ ติ ก รรมการจ้ า งกั บ แสงนั้ นถื อ ว่ า การบอก ล้ า งสมบ่ ร ณ์ แ ล้ ว
นิ ติกรรมการจ้างเป็ นโมฆียะมาแต่เริม
่ แรก แม้บิดาของแสงจะไม่
ทราบก็ตาม ดังนั้ น บิดาของปอปฏิบัติไม่ยอมจ่ายค่าแสดงได้
กฎหมายอาญา 1

โจทก์
ในคื น วั น เพ็ ญ เดื อ นสิ บ สองนายดำา ได้ ไ ปที่ บ้ า นของนางสาว
แดงค่่รก
ั แล ะร่วมกันจุเทียนในกระทงเพื่อนำา ไปปล่อย ปรากฏว่า
ด้วยความประมาทนายดำาและนางสาวแดงทำาเทียนหล่นลงพื้ น เกิด
ไฟไหม้บ้านของนางสาวแดง เนื่ องจากบ้านของนางสาวแดงเป็ น
ตึกแถวอย่่ติดกับบ้านของนายดำา ขณะ ที่ไฟลามเกือบถึงบ้านนาย
ดำา ดำาเกรงว่าไฟจะไหม้บ้านตน นายดำาจึงพังบ้านของนายฟ้ า แล้ว
เอาเครื่องมือดับเพลิงมาดับไฟที่บ้านของนางสาว <st1:PersonName
ProductID="แ ด ง ก ร ณี ดั ง ก ล่ า ว ">แ ด ง ก ร ณี ดั ง
กล่ า ว </st1:PersonName> นายดำา ต้ อ งรับ โทษทางอาญาในการพั ง
บ้านของนายฟ้ าหรือไม่ เพราะเหตุใด

เฉลย
ตามประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา 67) ผ้่ท่ีกระทำาความผิด
ด้ ว ยความจำา เป็ นเพราะอย่่ ใ นที่ บั ง คั บ หรือ ภายใ ต้ อำา นาจซึ่ ง ไม่
สามารถหลีกเหลี่ยงหรือขัดขืนได้เพราะให้ตนเองหรื อผ้่อ่ ืนพ้นจาก
อันตรายที่ใกล้จะถึง และไม่สามารถหลีกเลียงให้พ้นโดยวิธีอ่ ืนใดได้
เมื่อ ภยั นอั นตรายนั้ นตนมิ ได้ ก่อ ให้ เกิ ดขึ้นเพราะความผิ ดของตน
ถ้าการกระทำานั้ นไม่เป็ นการเกินสมควรแก่เหตุแล้ว ผ้่น้ ั นไม่ต้องรับ
โทษ จากข้อเท็จจริงตามปั ญหา การที่นายดำา ได้ไปที่บ้านนางสาว
แดงและร่ วมกัน จุดเที ยนด้ว ยความปร ะมาททำา ให้ เ กิ ดเพลิง ไหม้
ของนางสาวแดง นายดำา เกรงว่าไฟจะลามไปไหม้บ้านของตนเอง
เพราะบ้านของนางสาวแดงเป ็นตึกแถวอย่่ติดกับบ้านนายดำา และ
ไฟก็กำาลังจะลามไปถึงบ้านของนายดำาจึงตัดสินใจพังบ้านของนาย
ฟ้ า และนำา เครื่อ งมื อ ดั บ เพลิ ง มาดั บ ไฟที่ บ้ า นของนางสาวแดง
การกระทำา ของนายดำา ดังกล่าวถือว่า นายดำา กระทำา เพื่ อให้ตนพ้ น
จากภยันตรายที่ใกล้จะถึง และไม่สามารถหลีกเหลียงให้พ้นโดยวิธี
อื่นใดได้แต่เนื่ องจากภยัน ตรายที่ว่านั้ นคือภยันตรายซึ่งเกิดจากไฟ
ไหม้เป็ นภยันตรายที่นาย ดำาเป็ นผ้่มีส่วนก่อให้เกิดขึ้นเพราะความ
ผิดของตน นายดำา จึงไม่สามารถอ้างว่าการพังบ้านของนายฟ้ านั้ น
เป็ นการกระทำาค วามผิดด้วยความจำาเป็ นอันจะทำาให้ตนไม่ต้องรับ
โทษได้ ดัง นั้ นนายดำา จึ ง ต้ อ งรับ โทษทางอาญาในทางพั ง บ้ านของ
นายฟ้ า ด้วยเหตุผลดังกล่าวแล้ว

กฎหมายแพ่ง ๑

๑. กาบอายุ ๗๕ ปี เป็ น อั ม พาตเดิ น ไม่ ไ ด้ ต้ อ งรัก ษาตั ว อย่่ โ รง


พยาบาลก้ อ นอายุ ๑๔ ปี เป็ นหลานมาเยี่ ย มกาบจึ ง แอบยกเงิ น
จำานวนหนึ่ งให้ก้อนโดยมิได้บอ กให้แสงซึ่งเป็ นมาราดาร้่ ต่อมาอีก
๑ ปี ก้อนถ่กรถยนต์ชนจนเป็ นคนวิกลจริต และ อีก ๒ ปี ต่อมาได้
แอบให้แหวนของตนแก่สร้อยโดยสร้อยไม่ร้่ว่าก้อนวิกลจร ิต อีก ๑
ปี ต่อมาก้อนหัวใจวายแสงจึงร้่ถึงนิ ติกรรมต่ าง ๆ ที่ก้อนได้ทำา ขึ้น
จึงได้บอกล้างนิ ติกรรมนั้ น
๑.๑ การยกให้สองครั้ง มีผลอย่างไร หรือไม่เพราะเหตุใด
๑.๒ มารดาสามารถบอกล้างนิ ติกรรมทั้งสองหรือไม่เหตุใด

ตอบ
มาตรา ๑๙ บุ ค คลย่ อ มพ้ น จากสภาวะผ้่ เ ยาว์ แ ละบรรลุ
นิ ติภาวะเมื่ออายุ 20 ปี บริบ่รณ์
มาตรา ๒๒ ผ้่เยาว์อาจทำา การใดๆ ได้ท้ ั งสิ น หากเป็ นเพีย ง
เพื่อมีสิทธิอันใดอันหนึ่ ง หรือเป็ นการเพื่อให้หลุดพ้นจากหน้าที่อัน
ใด
มาตรา ๒๑ ผ้่ เ ยาว์ จ ะทำา นิ ติ ก รรมใดๆ ต้ อ งได้ ร ับ ความ
ยิ น ยอมโดยชอบธรรมก่ อ น การใดๆ ที่ ผ้่ เ ยาว์ ไ ด้ ทำา ลงปราศจาก
ความยินยอมถือว่าเป็ นโมฆะ เว้นแต่จะบัญญัติไว้อย่างอื่น มาตรา
๑๗๕ โมฆียกรรมนั้ น บุคคลต่อไปนี้ จะบอกล้างเสียก็ได้
ผ้่แทนโดยชอบธรรม ขณะที่กาบผ้่เป็ นยายยกเงินให้ก้อนนั้ น
ก้ อ นยั ง ถื อ ว่ าเป็ นหลั กแจ้ ง ผ้่ เ ยาว์ จ ะทำา นิ ติก รรมใด ๆ ต้ อ งได้ ร บ

ความยิ น ยอมจากผ้่ แทนโดยชอบธรรมก่ อ น มิ ฉะนั้ นนิ ติกรรมตก
เป็ นโมฆียะ แต่กรณี น้ ี ถือเป็ นยกเว้น
เนื่ องจากเป็ นการที่ผ้่เยาว์ได้รบ
ั เงิน นิ ติกรรมรับการให้ จาก
เป็ นต้องได้รบ
ั ความยินยอมจากผ้่แทนโดยชอบธ รรมก่อนการให้น้ ี
จึงสมบ่รณ์เพราะเป็ นการได้ไปซึ่งสิทธิเพียงอย่ างเดียวต่อมาอีก ๑
ปี ซึ่ ง ก้ อ นมี อ ายุ ๑๔ ปี ก้ อ นได้ ถ่ ก รถยนต์ ช นชนจนเป็ นคน
วิ กลจริต และอี ก ๒ ปี ต่ อ มา คื อ ก้ อ นอายุ ไ ด้ ๑๗ ปี ได้ ใ ห้ แหวน
นิ ติกรรมการให้ย่อมตกเป็ นโมฆียะโดยไม่ต้องคำานึ งว่าสร ้อยจะร้่ว่า
ก้อนเป็ นคนวิกลจริต เพราะก้อนก็เป็ นผ้่เยาว์ นิ ติกรรมใด ๆ ที่ผ้่
เยาว์ได้รบ
ั ความยินยอมจากผ้่แทนโดยชอบธรรมย่อมตกเป็ นโมฆี
ยะการให้ ส ร้ อ ยนี้ ย่ อ มตกเป็ นโมฆี ย ะเพราะมารดามิ ไ ด้ ใ ห้ ค วาม
อย่างไ ร
สิทธิบอกล้างนิ ติกรรมที่เป็ นโมฆียะ คือผ้่แทนโดยชอบธรรม
ซึ่งเป็ นของก้อนนั้ นเองแต่การบอกล้างนิ ติกร รมยายไม่ได้เพราะ
การให้ผลนั้ นมีผลสมบ่รณ์น้ ั นแล้ว
กฎหมายแพ่ง 1
โจทก์ ก ประกาศขายรถยนต์ของตนทางหนั งสือพิมพ์
ปรากฏว่า นาย ข และ ค ได้สนใจมาด่รถ ค ได้วางเงินไว้ 5,000
บาท โดยยังไม่ได้ทำาสัญญากันเป็ นลายลักษณ์อักษร วันร่งุ ขึ้น ข
ได้มาหา ก และขอซื้ อรถคันดังกล่าวในราคาที่แพงกว่า ก ได้
ประกาศขายไว้ ก ก็ตกลงจะขายให้ ข โดยให้ ข มาทำาสัญญา
และโอนทางทะเบียนกันในอีก 1 อาทิตย์ข้างหน้า โดยที่ ก คิดว่า
จะตกลงกับ ค อีกครั้ง อีก 3 วันต่อมา ค มาพบ ก เพื่อขอ
เงินที่วางไว้คืนเพราะตนตัดสินใจซื้ อรถของ จ ไปแล้ว และ ค ก็
ทราบว่า ข ได้ตกลงจะซื้ อรถยนต์จาก ก แล้ว แต่ ก ปฏิเสธที่จะ
คืนเงินจำานวนดังกล่าว ค จะมีสิทธิเรียกเงินจำานวนดังกล่าวคืนได้
อย่างไร หรือไม่ เพราะเหตุใด
เฉลย
ประเด็นเป็ นเรื่องสัญญาและมัดจำา
หลักกฎหมาย
มาตรา 377 บัญญัติว่า เมื่อนำาเข้าทำาสัญญา ถ้าได้ส่ิงใดไว้
เป็ นมัดจำา ท่านให้ถือว่าการที่ให้มัดจำานั้ นย่อมเป็ นพยานหลักฐาน
ว่า สัญญานั้ นได้ทำากันขึ้นแล้วอนึ่ ง มัดจำานี้ ย่อมเป็ นหลักประกัน
การที่จะปฏิบัติตามสัญญานั้ นด้วย มาตรา 378 บัญญัติว่า มัดจำา
นั้ นถ้ามิได้ตกลงกันไว้เป็ นอย่างอื่น ท่านให้เป็ นไปดังกล่าวต่อไปนี้
(1)...................................
(2) ให้รบ
ั ถ้าฝ่ ายที่วางมัดจำาละเลยไม่ชำาระหนี้ หรือกราชำาระ
หนี้ ตกเป็ นพ้นวิสัยเพราะพฤติการณ์อันใดอันหนึ่ งซึ่งฝ่ ายนั้ นต้อง
รับผิดชอ บ หรือถ้ามีการบอกเลิกสัญญาเพราะความผิดฝ่ ายนั้ น
มัดจำานั้ นเป็ นสิ่งของที่ค่สัญญาฝ่ ายหนึ่ งมอบให้แก่ค่สัญญา
อีก ฝ่ ายหนึ่ งในขณะทำาสัญญา ซึ่งการวางมัดจำานี้ ก็เท่ากับว่าเป็ น
พยานหลักฐานว่าได้เกิดมีสัญ ญาขึ้นในระหว่างค่่กรณี แล้วและ
มัดจำานี้ ย่อมเป็ นหลักประกันด้วยว ่าจะต้องปฏิบัติตามสัญญาที่
ตกลงกันไว้น้ ั น (ม. 377)
ตามข้อเท็จจริงการที่ ก ประกาศ ขายรถยนต์และ ค ได้มา
สนใจด่รถและได้วางเงินไว้ให้ ก.5,000 บาท ก็แสดงว่า ก และ ค
ได้ตกลงทำาสัญญาซื้ อขายรถยนต์แล้วแม้ว่าจะมิได้ทำาสัญญากันเป็ น
ลา ยลั กษณ์ อั กษรก็ ตาม เพราะเงิ น 5,000 บาท นี้ ถื อ ว่ าเป็ นเงิ น
มัดจำาซึ่งเป็ นหลักฐานว่าทั้ง 2 จะได้ปฏิบัติก็ตามสัญญาซื้ อขายคือ
ฝ่ าย ก จะเป็ นฝ่ ายส่งมอบรถ และ ค ต้องชำาระราคาให้ครบถ้วน
การที่ ค มาพบ ก โดยขอเงินมัดจำา คืน โดยอ้างว่ าการได้
ซื้ อรถยนต์ ข อง จ ไปแล้ ว นั้ น แสดงว่ า ค นั้ นเป็ นผ้่ ผิ ด สั ญ ญา
เพราะมิได้ชำาระราคาตามสัญญาซื้ อขายซึ่ง ก เองซึ่งเป็ นฝ่ ายผ้่รบ

มอบมัดจำานั้ นมิได้ผิดสัญญา ดังนี้ ก จึงมีสิทธิท่ีจะรับมัดจำานั้ นเสีย
ได้เพราะ ค ละเลยไม่ชำาระหนี้ ของตน ( ม.378) แม้ ค จะทราบว่า
ข ได้มาตกลงจะซื้ อรถยนต์จาก ก แล้วก็ตามดังนั้ น ค จึงไม่มีสิทธิ
เรียกเงินมัดจำา คืน ก สามารถรับมัดจำา นั้ นเสียได้เพราะ ค ฝ่ ายผ้่
ว่างมัดจำาเป็ นผ้่วางมัดจำาผ้่ผิดสัญญาเสียเอง

กฎหมายอาญา 1
โจทย์
ดิโก้ต้องการจะฆ่าบราวน์ โค้ชผ้่ฝึกสอนชาวเยอรมั น จึ ง
จ้างโรเจอร์นักแม่นปื นจากแคมาร่น ให้มาเก็บบราวน์ แล้วมอบ
ปื นพร้อมกระสุน และดิโก้บอกแก่โรเจอร์ให้ทราบถึงประสิทธิภาพ
ของปื นกระบอกดังกล่ าวว่า ปื นกระบอกนี้ ยิงไกลสุด 50 เมตร
ยิ งหวั ง ผล 20 เมตร ขณะที่ กุล ลิ ท ขี่ ม้ าฝึ กซ้ อ มออกกำา ลั ง กาย
ต อ น เ ช้ า มื ด ในระยะ <st1:metricconverter ProductID="80

เมตร">80 เมตร </st1:metricconverter> โรเจอร์ คิดว่าเป็ นบราวน์


จึงยิงไปปรากฏว่ากระสุนปื นไม่ถ่กกุลลิท เลยกรณี หนึ่ ง
อีกกรณี หนึ่ ง ขณะที่บราวน์ข่ีม้าฝึ กซ้อมออกกำาลังกายตอน
เช้ามืดอย่่เช่นกันในร ะยะ 20 เมตร โรเจอร์รบ
ี ร้อนยิงไปถ่กม้า
ถึงแก่ความตาย ส่วนบราวน์ตกม้าบาดเจ็บสาหัส
ทั้งสองกรณี ขอให้ท่านวินิจฉัยความรับผิดชอบดิโก้และโร
เจอร์ ต้ ั งแต่ ต้ น ปี 2532 และต่ อ มาก็ ไ ด้ ร่ ว มประเวณี กั น อี ก
ประมาณ 10 ครั้ง จนนางสมหญิงตั้งครรภ์และคลอดบุตร คือ
ด.ช. สมชาติ อ อกมาโดยมิ ไ ด้ มี ช ายอื่ นมายุ่ ง เกี่ ย วด้ ว ยเลยเช่ น นี้
เป็ นการที่บุคคลทั้งสองได้ร่วมประเวณี กันในระยะเวลา 180 วัน
ถึง 310 วัน ก่อนเด็กเกิด อันเป็ นระยะเวลาที่นางสมหญิงอาจ
จะตั้งครรภ์ได้ และไม่มีเหตุผลอันควรเชื่ อว่ า ด.ช. สมชาติเป็ น
บุ ต รของชายอื่ นจึ ง เป็ นเหตุ ใ ห้ น างสมหญิ ง ฟ้ องบั ง คั บ ให้ นาย
สมชายรับ ด .ช. สมชาติ เป็ นบุ ต รชอบด้ ว ยกฎหมายได้ ต าม
มาตรา 1555 (6)

เฉลย
หลักกฎหมาย
มาตรา 84 “ ผ้่ใดก่อให้ผ้่อ่ ืนกระทำา ความผิดไม่ว่าด้วยการ
ใช้บังคับข่่เข็ญจ ้างวานหรือยุยงส่งเสริม หรือด้วยวิธีอ่ ืนใด ผ้่
นั้ นเป็ นผ้่ใช้ให้กระทำาความผิด”
มาตรา 80 “ ผ้่ ใ ดลงมื อ กระทำา ความผิ ด แต่ ก ระทำา ไปม่
ตลอดหรือ กระทำา ไปตลอดแล้ว แต่ การกระทำา ไม่บ รรลุ ผ ล ผ้่น้ ั น
พยายามกระทำาความผิด”
มาตรา 81 “ ผ้่ ใ ดกระทำา การโดยมุ่ ง ต่ อ ผลซึ่ ง กฎหมาย
บั ญ ญั ติเ ป็ นความผิ ด แต่ การก ระทำา นั้ นไม่ ส ามารถจะบรรลุ ผ ลได้
อย่ างแน่ แท้ เพราะเหตุ ปั จจั ย ซึ่ ง ใช้ ใ นการกระทำา หรือ เหตุ แ ห่ ง
วัตถุท่ีมุ่งหมาย กระทำาต่อ ให้ถือว่าผ้่น้ ั นพยายามกระทำาความผิด”
มาตรา 61 “ ผ้่ ใ ดเจตนากระทำา ต่ อ บุ ค คลหนึ่ ง แต่ ไ ด้
กระทำา ต่ออีกบุคคลหนึ่ งโดยสำา คัญผิด ผ้่น้ ั นจะยกเอาความสำา คัญ
ผิดเป็ นข้อแก้ตัวว่ามิได้กระทำาโดยเจตนา หาได้ไม่”
ตามปั ญหาดิ โ ก้ มีเ จตนาจะฆ่ าบราวน์ โ ค้ ช ชาวเยอรมั น จึ ง
จ้างโรเจอร์ให้เก็บบราวน์การกระทำา ของดิโก้เป็ นการก่อให้ผ้่อ ่ ืนก
ระทำา ความผิ ด โดยการจ้ า ง ดิ โ ก้ จึ ง กระทำา ความผิ ด ฐานเป็ นผ้่ ใ ช้
(มาตรา 84) ในขณะที่กุลลิทขี่ม้าออกกำาลังกายโรเจอร์เห็นกุลลิท
คิดว่าเป็ นบร าวน์ จึงยิงไปด้วยความสำา คัญผิดโรเจอร์จจึงแก้ตัว
ไม่ได้ว่ามิได้เจตนา ที่จะฆ่ากุลลิท แต่เนื่ องจากปื นที่นายโรเจอร์ใช้
ยิ ง นายกุ ล ลิ ท นี้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพย ิ ง ไกลเพี ย ง 50 เมตรเท่ า นั้ น
นายโรเจอร์ ไ ด้ ยิ ง นายกุ ล กทในระยะห่ า งถึ ง 80 เมตร จึ ง ไม่
สามารถทำา อันตรายแก่นายกุลิทได้ ตามปั ญหาจึงเป็ นการกระทำา
ความผิดที่เป็ นไปไม่ได้อย่างแน่แท้ เพรา ะปั จจั ยซ่ งใช้ใ นการกระ
ทำา ความผิ ด กรณี น้ ี กฎหมายบั ญ ญั ติ ใ ห้ ผ้่ ก ระทำา ต้ อ งรับ ผิ ด ฐาน
พยายามกระทำาผิดดั งนั้ น นายโรเจอร์จึงต้องรับโทษฐานพยายาม
กระทำา ความผิ ด ส่ ว นนายดิ โ ก้ กระทำา ความผิ ด ฐานเป็ นผ้่ ใ ช้ ใ ห้ โ ร
เจอร์กระทำาความผิด
กรณี ขณะที่ บราวน์ข่ีม้าออกกำา ลัง กายเช้ ามื ดเช่น กั น ใน
ระยะ 20 เมตร โรเจอร์รบ
ี ร้อนยิงปื นไปไม่ถ่กบราวน์แต่ถ่กม้าน
ตาย บราวน์ได้ร บ
ั บาดเจ็บ สาหัส การกระทำา ของโรเจอร์ เ จตนา
กระทำาต่อบราวน์แล้วพราดไปถ่กม้าตายจึงไ ม่เป็ นการกระทำา โดย
พลาดเพราะเจตนากระทำา ต่อคนแต่ไม่ถ่กทรัพย์ไม่ถ ือว่าเป็ นกระ
ทำา โดยพลาด แต่เ ป็ นการลงมือ กระทำา ความผิ ด ต่ อ บราวน์ ตลอด
แล้ ว แต่ ไม่ บ รรลุ โรเจอร์ จึ ง มี ค วามผิ ด ฐานพยายามฆ่ า บรวาน์
ส่วนดิโก้มีความผิดฐานใช้ให้โรเจอร์กระทำาความผิดฐานพยายามฆ่า
บร าวน์ (มาตรา 80)
กฎหมายแพ่ง 1

โจทย์
เอกอายุ 17 ปี ทำาพินัยกรรมยกแหวนของตนเองให้โทพี
สาวอายุ 17 ปี ต่อมาอีก 4 ปี เอกถ่กรถชนสมองฟั นเฟื องเป็ น
คนวิกลจริต เอกได้ขายนาฬิกาของตนให้กับหนึ่ งโดยหนึ่ งไม่ทราบ
ว่าเอกจริตวิกล ต่อมาอีก 1 ปี ศาลสัง่ ให้เอกเป็ นคนไร้ความ
สามารถ หนึ่ งทราบว่าเอกถ่กศาลสัง่ ดังกล่าว แต่เมื่อผ้่อนุ บาล
ของเอกมาบอกล้างสัญญาซื้ อขายนาฬิกา ซึ่งหนึ่ งได้ทำาไว้กับเอก
หนึ่ งก็ไม่ยอมคืนนาฬิกาให้เพราะซื้ อไว้ ในราคาถ่กมากดังนี้
1. พินัยกรรมที่เอกทำามีผลอย่างไรหรือไม่เพราะเหตุใด
2. ผ้อ
่ นุ บาลจะบอกล้างสัญญาซื้ อขายนาฬิกาได้หรือไม่ เพราะ
เหตุใด

เฉลย
หลักกฎหมาย
ปพพ. มาตรา 25 บัญญัติว่า “ผ้เ่ ยาว์อาจทำาพินัยกรรมได้
เมื่ออายุสิบห้าปี บริบ่รณ์”
ปพพ.มาตรา 32 บัญญัติว่า “การใด ๆ อันบุคคลวิกลจริต
ได้ทำาลง แต่หากบุคคลนั้ นศาล
ยังมิได้สัง่ ให้เป็ นคนไร้ความสามารถไซร้ ท่านว่าการนั้ นจะเป็ น
โมฆียะต่อเมื่อพิส่จน์ได้ว่าได้ทำาลงในเวลา ซึ่งบุคคลนั้ นจริตวิกลอย่่
และค่่กรณี อีกฝ่ ายหนึ่ งได้ร้่แล้วด้วยว่าผ้่ทำาเป็ นคนวิกลจริต”
เรื่องพินัยกรรมนั้ นผ้่เยาว์สามารถทำาพินัยกรรมได้เมื่ออายุ
15 ปี บริบ่รณ์ เมื่อเอกมีอายุ 17
ปี บริบ่รณ์แล้วทำาพินัยกรรม ผลก็คือพินัยกรรมมีผลสมบ่รณ์
จากข้อเท็จจริงเห็นได้ว่า เอกได้ขายนาฬิกาให้หนึ่ งในขณะ
วิกลจริตก่อนที่ศาลจะสัง่ ให้เอก
เป็ นคนไร้ ค วามสามรถ และในขณะซื้ อขายนาฬิ ก านั้ นหนึ่ ง ก็ ไ ม่
ทราบว่าเอกวิกลจริต ดังนั้ นผลก็คือนิ ติกรรมการซื้ อขายระหว่าง
หนึ่ ง กั บ เอกนั้ นสมบ่ ร ณ ์ ไ ม่ เ ป็ นโมฆี ย ะ เพราะหนึ่ งไม่ ร้่ ว่ า เอก
วิกลจริตแต่อย่างใด แม้ต่อมาศาลจะสัง่ ให้เอกเป็ นคนไร้ความสาม
รถ และหนึ่ งก็ทราบถึงคำาสัง่ นี้ ก็ตาม การซื้ อขายก็สมบ่รณ์ไปแล้ว
ผ้่อนุ บาลของเอกจะบอกล้างสัญญาซื้ อขายดังกล่าวไม่ได้

สรุป
1. เอกสามารถทำาพินัยกรรมได้มีผลสมบ่รณ์เพราะอายุเกิน 15
ปี บริบ่รณ์แล้ว
2. ผ้อ
่ นุ บาลบอกล้างสัญญาซื้ อขายนาฬิกาไม่ได้ เพราะการซื้ อ
ขายสมบ่รณ์แล้ว
กฎหมายแพ่ง 1
ข้อ 1
เจอายุ 14 ปี ได้ยกแหวนเพชรวงหนึ่ งของตนให้หมิว อายุ
14 ปี แฟนสาว และต่อมาอีก 3 เดือน เจก็ตกลงใจทำาพินัยกรรม
ยกรถยนต์ปอร์เช่ของตนให้หมิวอีก แล้วเจทำาพินัยกรรมฉบับนั้ น
มาให้นายโจบิดาของตนด่ แต่นายโจก็ไม่ได้ว่าอะไร อีก 6 เดือน
ต่อมา เจถ่กรถยนต์ชนเสียชีวิตหมิวจึงมาเรียกร้องรถยนต์ปอร์เช่
จากนายโ จตามพินัยกรรม นายโจอ้างว่าตนมิได้ให้ความยินยอม
การทำาพินัยกรรมและการให้แหวน ดังนั้ นเมือตนบอกล้างนิ ติกรรม
ทั้งสองจึงตกเป็ นโมฆะ หมิวจึงต้องคืนแหวนเพชรให้กับตน ส่วนห
มิวก็ต่อส้่ว่านิ ติกรรมทั้งสองสมบ่รณ์ เนื่ องจากเป็ นนิ ติกรรมที่เป็ น
คุณประโยชน์แก่ตน ดังนั้ นตนไม่ต้องคืนแหวน และนายโจต้องส่ง
มอบรถยนต์ให้ตนท่านเห็นด้วยกับข้อโต้แย้งของนาย โจหรือหมิว
หรือไม่เห็นด้วยกับทั้งสองคน เพราะเหตุใด
เฉลย
หลักกฎหมาย
ม.21 อันผ้่เยาว์จะทำานิ ติกรรมใดๆต้องได้รบ
ั ความ
ยินยอมของผ้่แทนโดยชอ บธรรมก่อน บรรดาการใดๆอันผ้่เยาว์ได้
ทำาลงปราศจากความยินยอมเช่นว่านั้ น ท่านว่าเป็ นโมฆียะ เว้นแต่
ที่จะบัญญัติไว้เป็ นอย่างอื่น
ม.25 ผ้่เยาว์อาจทำาพินัยกรรมได้เมื่อมีอายุครบสิบห้า
ปี บริบ่รณ์
ม.175 โมฆียกรรมนั้ นบุคคลต่อไปนี้ จะบอกล้างเสีย
ก็ได้
(1) ผ้่แทนโดยชอบธรรมหรือผ้่เยาว์ซงึ่ บรรลุนิติภาวะแล้วแต่
ผ้่เยาว์ จะบอกล้างก่อนที่ตนบรรลุนิติภาวะก็ถ้าได้รบ
ั ความยินยอม
ของผ้่แท นโดยชอบธรรม
ม.1703 พินัยกรรมซึ่งบุคคลที่มีอายุยังไม่ครบสิบห้าปี บ
ริบ่รณ์ทำาขึ้นนั ้นเป็ นโมฆะ

วินิจฉัย
ตามอุทาหรณ์ เจอายุ 14 ปี ยังไม่บรรลุนิติภาวะได้ทำา
นิ ติกรรมให้แหวนแก่หมิว และนิ ติกรรมให้น้ ี ยังไม่ได้รบ
ั ความ
ยินยอมจากผ้่แทนโดยชอบธรรมคื อนายโจ ดังนั้ น นิ ติกรรมให้จึง
ตกเป็ นโมฆะ ตามมาตรา 21
ต่อมาอีก 3 เดือน เจมีอายุได้ 14 ปี 3 เดือน ได้ทำา
พินัยกรรมยกรถยนต์ปอร์เช่ให้กับหมิวอีก ตามมาตรา 25 บุคคล
จะทำาพินัยกรรมได้เมือมีอายุครบสิบห้าปี บริบ่รณ์ หากบุคคลที่
มีอายุไม่ครบสิบห้าปี บริบ่รณ์ทำาพินัยกรรม พินัยกรรมนั้ นย่อมตก
เป็ นโมฆะตามมาตรา 1703 ดังนั้ น พินัยกรรมที่เจได้ทำาขึ้นย่อม
ตกเป็ นโมฆะ พินัยกรรมนี้ บังคับไม่ได้ และผ้่แทนโดยชอบธรรมจะ
ให้สัตยาบันก็ไม่ได้เช่นกัน
ต่อมาอีก 6 เดือน เจเสียชีวิต หมิวจึงมาเรียกร้อง
รถยนต์ตามพินัยกรรมย่อมไม่ได้ เนื่ องจากพินัยกรรมตกเป็ นโมฆะ
ตั้งแต่ต้นและเมื่อนายโจซึ่งเป็ นผ ้่แทนโดยชอบธรรมใช้สิทธิบอก
ล้างนิ ติกรรมซึ่งเป็ นโมฆียะ นิ ติกรรมให้ย่อมตกเป็ นโมฆะ ค่่กรณี
จึงต้องกลับส่่ฐานะเดิม หมิวจึงต้องคืนแหวนให้กับนายโจ
ข้าพเจ้าไม่เห็นด้วยกับทั้งหมิวและโจ
กฎหมายแพ่ง 1 ภาค 1/2532
โจทก์
แดง เป็ นคนสติฟันเฟื อน อายุ 17 ปี ได้ยกแหวนของตนให้
เหลือง โดยเหลืองไม่ทราบว่าแดงเป็ นคนสติฟันเฟื อน จึงซื้ อไว้ใน
ราคา 10,000 บาท ต่อมาอีก 1 ปี แดงได้หายเป็ นปกติและได้หลง
รัก นางสาวฟ้ า ถึงขนาดทำาพินัยกรรมยกทรัพย์สินทั้งหมดของตน
ให้นางสาวฟ้ า ต่อมาเพิ่งจะทราบในภายหลังถึงการซื้ อขายแหวน
และพินัยกรรมซึ่งแด งทำาไปโดยไม่ได้รบ
ั ความยินยอมจากตน
ดังนี้
1. นิ ติกรรมซื้ อขายแหวนมีผลอย่างไรหรือไม่
2. พินัยกรรมมีผลอย่าไรหรือไม่

เฉลย
หลักกฎหมาย
ปพพ. มาตรา 21 บัญญัติว่า อันผ้่เยาว์จะทำาพินัยกรรมใด
ต้องไดรับความยินยอมของผ้่แทนโดยชอบ ธรรมก่อน บรรดาการ
ใดๆ อันผ้่เยาว์ได้ทำาโดยปราศจากความยินยอมเช่นว่านั้ นท่านว่า
เป็ นโม ฆียะ
แดงอายุ 17 ปี ยังเป็ นผ้่เยาว์อย่่จึงต้องอย่่ในความด่แลของ
บิดาซึ่งเป็ นผ้่แท นโดยชอบธรรม การที่แดงได้ขายแหวนของตน
ให้เหลืองนั้ นเป็ นกระทำานิ ติกรรมซึ่งต้ องได้รบ
ั ความยินยอมจาก
บิดาผ้่แทนโดยชอบธรรม แต่แดงได้ทำานิ ติกรรมดังกล่าวโดย
ปราศจากความยินยอมจากบิดา ดังนั้ นการขายแหวนจึงตกเป็ น
โมฆียะ
ผลของนิ ติกรรมที่เป็ นโมฆียะก็คือนิ ติกรรมนั้ นมีผลสมบ่รณ์
ผ่กพัน กันมาตามกฎหมายมาแต่เริม
่ แรกและยังคงสมบ่รณ์อย่่ต่อ
ไปจนกว่าจะถ ่กบอกล้างให้ส้ ินผลหรือสมบ่รณ์ตลอดไปเมื่อให้
สัตยาบัน กล่าวคือถ้าไม่มีการบอกล้างโดยผ้่มีสิทธิบอกล้างภายใน
ระยะเวลาท ่ีกฎหมายกำาหนดหรือมีการให้สัตยาบันโดยที่มีสิทธิให้
สัตยาบันแล้ วสิทธิบอกล้างย่อมระงับไปจะบอกล้างอีกไม่ได้
นิ ติกรรมนั้ นจะสมบ่ รณ์ตลอดไป แต่ถ้ามีการบอกล้างนิ ติกรรมที่
สมบ่รณ์น้ ั นจะตกเป็ นโมฆะทันทีเมื ่อถ่กบอกล้าง ค่่กรณี ต้องกลับส่่
สถานเดิมเหมือนเช่นก่อนทำานิ ติกรรมเสมือนว่าไ ม่เคยนิ ติกรรม
การซื้ อขายนั้ นเกิดขึ้นเลย
ปพพ.มาตรา 25 ผ้่เยาว์อาจทำาพินัยกรรมได้เมื่อมีอายุ
สิบห้าปี บริบ่รณ์
แดงอายุ 17 ปี แล้วและหายจากเป็ นสติฟันเฟื อนจึง
สามารถทำาพินัยกรรมได้โดยด้วย ตัวเองไม่จำาต้องได้รบ
ั ความ
ยินยอมจากผ้่แทนโดยชอบธรรมคือบิดา ดังนั้ นพินัยกรรมจึงมีผล
สมบ่รณ์
ดังนี้ นิ ติกรรมซื้ อขายแหวนมีผลเป็ นโมฆียะเพราะ
แดงทำาใบขณะเป็ นผ่ ้เยาว์และมิได้รบ
ั ความยินยอมจากผ้่แทนโดย
ชอบธรรม
3. พินัยกรรมมีผลสมบ่รณ์เพราะแดงอายุ
โจทก์
สองไปซื้ อผ้าที่ร้านขายผ้าแห่งหนึ่ ง ขายโฆษณาอวดว่า
ผ้าของตนรับรองไม่ยับไม่ย่นแล้วขยำาผ้าให้ด่ก็ปรา กฏว่าไม่ยับ
สองจึงซื้ อผ้าไหมเพราะเชื่อคำาอวดอ้างนั้ น และนำามาตัดเสื้ อใหม่
ปรากฏว่าเมื่อนำามารีดเตารีดมีความร้อนส่ง ทำาให้ผ้าย่นเสียหาย
สวมใส่ไม่ ได้จึงนำาเสื้ อผ้ามาให้ร้านขายผ้าด่ว่าที่ทางร้านอ้างว่าไม่
ยับไ ม่ย่นนั้ นไม่จริงแต่ก็ขอเงินคืนบ้างเป็ นบางส่วน เพราะต้อง
เสียเงินซื้ อแพงเกินไป ดังนี้ ท่านเห็นด้วยกับข้ออ้างของสอง
อย่างไรหรือไม่

เฉลย
หลักกฎหมาย
ปพพ. มาตรา 121 วรรคแรกบัญญัติว่า การแสดงเจตนาอัน
ได้มาเพราะกลฉ้อฉลก็ดี เพราะขมข่่ก็ดี ท่านว่าเป็ นโมฆียะ
ปพพ. มาตรา 122 บัญญัติว่า การอันจะเป็ นโมฆียกรรม
เพราะกลฉ้อฉลเช่นนั้ น การอันนั้ นก็คงจะมิได้ทำาขึ้นเลย
กลฉ้อฉลนั้ นคือการหลอกลวงให้ผ้่แสดงเจตนาเข้าใจ
ผิดหรือลวงให้ค่ ่กรณี หลงเชื่อจึงแสดงเจตนาเข้าทำานิ ติกรรม
การแสดงเจตนาเข้านิ ติกรรมโดยถ่กกลฉ้อฉลนั้ นนิ ติกรรมนั้ น
มีผลเป็ นโมฆียะ ซึ่งต้องเป็ นกลฉ้อฉลถึงขนาด คือต้องเป็ นเรื่อง
ถึงขนาดที่จะจ่งใจให้ผ้่ถ่กกลฉ้อฉลนั้ นเข้าทำา นิ ติกรรมหรืออีกนั ย
หนึ่ งพ่ดได้ว่าถ้าไม่มีกลแอฉลนี้ แล้วจะไม่มี การแสดงเจตนาทำา
นิ ติกรรมนั้ นเลย
กรณี น้ ี คนขาย โฆษณายืนยันคุณภาพของสินค้าว่าผ้าไม่ยับไม่
ย่น ซึ่งถ้าการยืนยันความจริงแล้วปรากฏว่าไม่เป็ นความจริงตาม
โฆษณาก ็เป็ นกลฉ้อฉล เพราะมีเจตนาหลอกให้สองหลงเชื่อจึงทำา
นิ ติกรรมซื้ อผ้า แต่กรณี น้ ี ปรากฏว่าคนขายยืนยันรับรองเรื่อง
คุณภาพของผ้านั้ นเป็ นความจริงว่าไม่ยับไม่ย่นจึงไมเป็ นกลฉ้อฉล
เพราะการที่ผ้ายับย่น นั้ นเป็ นความผิดของสองเอง ดังนั้ นนิ ติกรรม
จึงสมบ่รณ์ สองไม่สามารถเรียกค่าเสียหายใดๆจากผ้่ขาย

กฎหมายอาญา 1

โจทก์
ก ทำางานกลางคืน วันหนึ่ งขณะเลิกงานซึ่งเป็ นเวลาดึกมาก
ก เดินกลับบ้านมาคนเดียวระหว่างทางขณะที่เดินเข้าซอย มีวัย
รุ่น 2 คน ซึ่งเป็ นอัธพาลอย่่แถวนั้ นได้ตรงเข้าล้อม ก และชกต่อย
ทำาร้าย ก จึงวิ่งหนี้ พร้อมกันนั้ นเหล่าวัยรุ่นก็ว่ิงไล่ตาม พอดีสวน
ทางกับยามของหม่่บ้านแถวนั้ น ก จึงผลักยามล้มลงพร้อมกับแย่ง
ปื นของยามเพื่อเอามาข่่วัยรุ่น แต่วัยรุ่นพวกนั้ นก็ยังตรงเข้ามา
ทำาร้าย ก อีก จึงยิงปื นไปหนึ่ งนั ด ถ่กวัยรุ่นคนหนึ่ งถึงแก่ความ
ตาย ทั้ง ก มีความผิดที่กระทำาต่อวัยรุ่นผ้่ตายหรือไม่และจะต้อง
รับโทษเพียง ใดหรือไม่

เฉลย
มาตรา 68(บ่อ) บัญญัติว่า “ผ้่ใดจำาได้ต้องกระทำาการใดเพื่อ
ป้ องกันสิทธิของตนหรือของผ้่อ่ ืน ให้พ้นภยันตรายซึ่งเกิดจากการ
ประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมายและเ ป็ นภยันตรายที่ใกล้จะถึง
ถ้าได้กระทำาโดยสมควรแก่เหตุ การกระทำานั้ นเป็ นการป้ องกันโดย
ชอบด้วยกฎหมาย ผ้่น้ ั นไม่มีความผิด”
ตามมาตรา 604 ถ้าผ้่ว่าจ้างเป็ นผ้่จัดหาสัมภาระ และการที่
นั้ นพังทลายหรือบุบสลายลงก่อนได้ส่งมอบกันถ่กต้อง ความวินาศ
นั้ นตกเป็ นพับแก่ผ้่ว่าจ้าง หากความวินาศนั้ นมิได้
ในกรณี เช่นว่านี้ สินจ้างก็เป็ นอันไม่ต้องใช้ เว้นแต่ความ
วินาศนั้ นเป็ นเพราะการกระทำาของผ้่วาจ้าง
ตามปั ญหา การที่ ก. ตกลงจ้าง ข. จัดสร้างโรงรถ
เป็ นสัญญาจ้างทำาของตามมาตรา 587 เพราะมีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลสำาเร็จแห่งการที่ทำาและ ก. ผ้ว่ ่าจ้างเป็ นผ้่จัดหาสัมภาระ การที่
โรงรถที่สร้างเสร็จถ่กพายุพัดแรงผิดปติจนพังทลายลงก่อนที ่ส่ง
มอบโรงรถนั้ น มิใช่เป็ นเพราะการกระทำาของ ข. ผ้่รบ
ั จ้าง ความ
วินาศจึงตกเป็ นพับแก่ ก. ผ้ว่ ่าจ้างตามมาตรา 604 วรรคแรกดัง
นั้ น ก. จะเรียกให้ ข. จัดการทำาให้ใหม่หาได้ไม่
กรณี ดังกล่าวที่โรงรถพังทลายลงมิใช่เป็ นเพราะการกระ
ของ ก.ผ้่ว่าจ้าง ข. จะเรียกร้องให้ ก. ผ้ว่ ่าจ้างจ่ายสินจ้างให้ตนหา
ได้ไม่กรณี ต้องด้วยมาตรา 604 วรรค 2 ตอนแรก
กฎหมายแพ่ง 1

โจทก์
ส. ลงโฆษณาในหนั งสือพิมพ์วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2534
ว่าหากใครประดิษฐ์โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถแปล
ข้อความภาษาไทยเป็ นภาษาอังกฤษจะให้รางวัล 4 แสนบาท เวลา
ล่วงเลยไป 5 ปี แล้ว ฉลาด ได้ประดิษฐ์โปรแกรมดังกล่าวได้โดยไม่
เคยทราบว่า ส. ประกาศให้รางวัล แต่มาทราบจากเพื่อนของตนใน
ภายหลังเมื่อประดิษฐ์ได้ ดังนั้ นฉลาดจึงนำาสิ่งประดิษฐ์ของตนมา
ขอรับรางวัลจาก ส. ส.อ้างว่าเลยกำาหนดอายุความแล้ว และ
ฉลาดเองก็ไม่เคยมาแจ้งให้ ส. ทราบว่าจะอาสาประดิษฐ์สัญญาจึง
ไม่เกิดและปฏิเสธไม่จ่ายเงินรางว ัล ดังนี้ ท่านเห็นด้วยกับข้อกล่าว
อ้างของ ส. อย่างไรหรือไม่

เฉลย
หลักกฎหมาย ตาม ปพพ.
มาตรา 362 บัญญัติว่า บุคคลออกโฆษณาให้คำามัน
่ ว่า
จะให้รางวัลแก่ผ้่ซ่ึงกระทำาการอันใดท ่านว่าจำาต้องให้รางวัลแก่
บุคคลใดๆผ้่ได้กระการอันนั้ น แม้มิใช่ว่าผ้่น้ ั นจะได้กระทำาเพราะ
เห็นแก่รางวัล
มาตรา 363 วรรคแรกในกรณี ท่ีกล่าวมาในมาตราก่อน
นี้ เมื่อยังไมมีใครทำาสำาเร็จดังที่ต้ ังไว้น้ ั นอย่่ตราบใด ผ้่ให้คำามัน
่ จะ
ถอนคำามัน
่ ของตนเสียเสียโดยวิธีเดียวกับที่โฆษณาน ้ ันก็ได้ เว้น
แต่จะได้แสดงไว้ในโฆษณานั้ นว่าจะไม่ถอน
กรณี น้ ี เป็ นเรื่องคำามัน
่ โฆษณาจะให้รางวัลคำามัน
่ มี
ลักษณะเป็ นการ แสดงเจตนาเป็ นนิ ติกรรมฝ่ ายเดียวผ่กพันผ้่ให้
คำามัน
่ โดยไม่ต้องมี การแสดงเจตนาสนองตอบแต่อย่างใด
กรณี น้ ี เป็ นเรื่องผ้่ให้คำามัน
่ มุ่งถึงความสำาเร็จของการกระ
ทำาซึ่ งตนได้โฆษณาไว้ ดังนั้ นแม้ผ้่ทำาสำาเร็จกระทำาโดยมาเห็นแก่
รางวัลผ้่โฆษณาก็ต้องให ้รางวัล ผ้่ให้คำามัน
่ จะถอนคำามัน
่ เสียได้ถ้า
ถ้ายังไม่มีผ้่ใดทำาสำาเร็จ แต่ถ้ายังไม่ถอนคำามัน
่ แล้ว ผ้่ให้คำามัน
่ ก็คง
ยังผ่กพันอย่่
ตามข้อเท็จจริงเป็ นเรื่องคำามัน
่ จะให้รางวัลเมื่อมีบุคคล
ประดิษฐ ์โปรแกรมคอมพิวเตอร์ตามประกาศได้ ดังนั้ น ส. ต้อง
ผ่กพันตามคำามัน
่ ที่ให้ไว้เมื่อมีบุคคลทำาสำาเร็จตามโฆษณาแล้ว ส.
ต้องผ่กพันที่จะต้องให้รางวัลแก่ฉลาดซึ่งประดิษฐ์ได้
ส. จะอ้างกำาหนดอายุความว่ามาปฏิเสธไม่จ่ายรางวัลไม่
ได้ เพราะ ส. ยังไม่ได้ถอนคำามัน
่ แต่อย่างใด ส. จึงต้องผ่กพันจ่าย
รางวัลแม้ว่าฉลาดจะไม่ทราบมาก่อนว่าการประดิษ ฐ์น้ ั นจะมีรางวัล
ดังนั้ น ส. ปฏิเสธไม่จ่ายเงินรางวัลไม่ได้
41211 กฎหมายแพ่ง 1

โจทก์
ก ออกประกาศโฆษณาทางหนั งสือพิมพ์ เขียว-ทอง
ว่า หากผ้่ใดสามารถคิดยารักษาโรคเอดส์สำาเร็จจะให้รางวัลหนึ่ งล้าน
บา ท ก และ ข ได้อ่านพบข้อความในหนั งสือพิมพ์ ข จึงไปพบ ก
แสดงความจำานงว่าตนกำาลังค้นคว้าอย่่เกือบสำาเร็จแล้วตอนนี้ อย่่ใน
ขั้นตอนทดสอบผล แต่ ค นั้ นได้ทำาการทดลองอย่่นานแล้ว ปรากฏ
ว่าเมื่อ ก ขาดทุน จึงได้ลงประกาศโฆษณาในหนั งสือพิมพ์ มสธ.
ถอนประกาศโฆษณาดังกล่าว เพราหนั งสือพิมพ์ เขียว-ทอง ปิ ด
กิจการ อีก 2 เดือนต่อมาหลังจาก ก ประกาศถอนโฆษณาแล้ว ค
ได้มาพบ ก ขอรับรางวัลตามประกาศ ก อ้างว่าตนได้ถอนการให้
รางวัลแล้ว แต่ปรากฏว่า ค ไม่ทราบถึงการถอนนั้ นเพราะไม่เคย
อ่านหนั งสือพิมพ์ มสธ. และ ก ยังอ้างอีกด้วยว่า ถึงอย่างไรก็ตาม
ค ก็ไม่มีสิทธิได้รางวัลอย่่ดีเพราะ ข เป็ นคนมาติดต่อแจ้งให้ ก
ทราบถึงการค้าคว้าก่อน ดังนี้ ท่านเห็นด้วยกับข้ออ้างของ ก หรือ
ไม่ เพราะเหตุใด

เฉลย
ในเรื่องนี้ เป็ นประเด็นที่จะต้องพิจารณาเรื่องคำามัน
่ จะให้รางวั
ลในกรณี ท่ีมีผ้่กระทำาการอย่างหนึ่ งอย่างใดสำาเร็จและการถอนคำามั ่
นนั้ นว่าจะมีผลอย่างไร
หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้องคือ ปพพ. ม.36 บัญญัติว่า “บุคคล
ใดออโฆษณาให้คำาม่นว่าจะให้รางวัลแก่ผ้่ซ่ึงกระทำาการอันใด ทาน
ว่า จะให้รางวัลแก่บุคคลใดๆผ้่ได้กระทำาการอันนั้ นแม้ถึงมิใช่ผ้่น้ ั น
จะได้กระทำาเพราะเห็นแก่รางวัล”
ปพพ.ม. 363 บัญญัติว่า “ เมื่อยังไม่มีใครทำาการสำาเร็จ
ดังที่บ่งไว้น้ ั นอย่่ตราบใดผ้่ให้ค ำมัน
่ จะถอนคำาสัง่ ของตนเสียโดยวิธี
เดียวกับที่โฆษณานั้ นก็ได้ เว้นแต่จะได้แสดงในโฆษณานั้ นว่าจะ
ไม่ถอน
ถ้าคำามัน
่ นั้ นไม่อาจจะถอนโดยวิธีดังกล่าวมาก่อนจะถอนโดย
วิธีอ่ ื นก็ได้แต่ถ้าการถอนเช่นนั้ นจะเป็ นอันสมบ่รณ์ใช้ได้เพียงเฉ
พาะต่ อบุคคลทีร้่”
คำามัน
่ ในกรณี น้ ี เป็ นนิ ติกรรมฝ่ ายเดียวเป็ นการแสดงเจตนา
ของผ้่ให ้คำามัน
่ ที่จะผ่กพันตนเองในการที่จะให้รางวัลตามประกาศ
โฆษณาซึ่ง ได้กระทำาแก่บุคคลทัว่ ไปโดยผ้่ให้คำามัน
่ นั้ นมุ่งประสงค์
ต้องการใ ห้เกิดผลสำาเร็จของการกระทำาอันใดอันหนึ่ งตามประกาศ
โฆษณาจึงไม่จำา เป็ นจะต้องมีการแสดงเจตนาสนองตอบดังเช่นใน
กรณี เรื่องสัญญา แต่ผลผ่กพันนี้ ไปตามกฎหมายซึ่งผ้่ให้คำามัน

ต้องให้รางวัลแม้ถือ ว่าผ้่กระทำาจะได้ทำาโดยไม่เห็นแก่รางวัลก็ตาม
จากข้อเท็จจริงจึงเห็นได้ว่า ก ได้ให้คำามัน
่ โดยประกาศ
โฆษณาทางหนั งสือพิมพ์ เขียว-ทอง จะให้รางวัลแก่ผ้่ท่ีสามารถคิด
ยารักษาโรคเอดส์ได้ ดังนั้ นจึงเท่ากับว่า ก ผ่กพันตัวต่อบุคคล
ทัว่ ไปที่จะต้องให้รางวัลแก่บุคคลใดก็ได้ซ่ึง กระทำาการนี้ สำาเร็จ
แม้ว่า ข จะมาแจ้งให้ ก ทราบว่าตนกำาลังค้นคว้าอย่่ก็ตามแต่เมื่อ
ยังไม่มีผลสำาเร็จของงาน ตามประกาศก็ไม่มีสิทธิท่ีจะได้รบ
ั รางวัล
แต่อย่างได (มาตรา 362)
ในขณะซึ่งงานยังไม่เสร็จแม้ว่าผ้่ให้คำามันคือ ก สามารถจะ
ถอนคำามัน
่ นั้ นเสียได้ก็ตาม แต่การถอนคำามัน
่ นั้ นต้องกระทำาโดยวิธี
เดียวกันวิธีท่ีโฆษณานั้ นต ้องกระทำาโดยวิธีเดียวกันวิธีท่ีโฆษณานั้ น
ต้องหมายถึงถอนโดยวิธี เดียวอย่างแท้จริง หากถอนด้วยวิธีเดิมไม่
ได้ จะมีผลสมบ่รณ์ใช้ได้แต่เฉพาะผ้่ท่ีได้ร้่ถึงประกาศถอนเท่านั้ นเ
มื่อ ก ถอนโฆษณาในหนั งสือพิมพ์ มสธ. ซึ่งมิใช่หนั งสือพิมพ์
เขียว-ทอง ซึ่งได้เคยลงประกาศไว้เดิมโดย ค ไม่ทราบถึงการถอน
นั้ น ดังนี้ ก ยังต้องผ่กพันที่ต้องจ่ายรางวัลตามประกาศ
ข้าพเจ้าไม่เห็นด้วยกับข้ออ้างของ ก เพราะ ค ไม่ทราบการ
ถอนประกาศ แม้ ข จะมาติดต่อ ก ให้ทราบถึงการค้นคว้าของตน
ก่อนก็ได้ไม่มีผลอย่างใดในกฎหมาย
41231 กฎหมายอาญา 1

โจทก์
น้อยหน่าเป็ นนั กเรียนหัดขับรถยนต์ยังไม่ได้รบ
ั ใบอนุ ญาต
ขับขี่ น้อยหนาจึงไปสมัครเรียนกับโรงเรียนสอนขับรถยนต์ มังคุด
ได้รบ
ั ใบอนุ ญาตขับขี่แต่ยังไมได้รบ
ั อนุ ญาตเป็ นคร่ฝึกสอนข ับ
รถยนต์ ขณะเกิดเหตุถนนตอนนั้ นเป็ นคนพลุกพล่าน ฝนตก ถนน
ลื่น น้อยหน่ากำาลังหัดขับ หักหลบรถสามล้อเครื่องไม่ทัน มังคุด
ต้องเข้าช่วยถือพวงมาลัยและให้น้อยหน่าปล่อยมือ แต่เท้าของ
น้อยหน่ายังเหยียบคันเร่งนำ้ามันอย่่ มังคุดหักพวงมาลัยเบนขวา
เพื่อให้พ้นสามล้อเครื่อง เป็ นเหตุให้รถพ่งุ ข้ามถนนชนคนบาดเจ็บ
และตาย กรณี หนึ่ ง
อีกกรณี หนึ่ ง น้อยหน่าหัดขับรถเล่นมาตามถนนด้วย
ความเร็วส่ง ทำาท่าจะชนลองกอง แต่น้อยหน่าเบรคทัน รถไม่ชน
ลองกอง ทำาให้ลองกองตกใจจนแทบสิ้นสติ
ดังนี้ ทั้ง 2 กรณี น้อยหน่าและมังคุดจะต้องรับผิดชอบใน
การกระทำาโดยประมาทอย่างไรหร ือไม่
เฉลย
หลักกฎหมาย
มาตรา 59 วรรคสี่ บัญญัติว่า “กระทำาโดยประมาท
ได้แก่การกระทำาความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่การกระทำาโดย
ปราศจากความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้ นจั กต้องมีตาม
วิสัยและพฤติการณ์ และผ้่กระทำาอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้ น
ได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”
มาตรา 80 บัญญัติว่า “ ผ้ใ่ ดลงมือกระทำาความผิดแต่
กระทำาไปไม่ตลอดแล้วแต่การกระทำานั้ นไม ่บรรลุผลผ้่น้ ั นพยายาม
กระทำาความผิด ”
การที่น้อยหน่าขับรถไปตามถนนโดยไม่มีใบอนุ ญาต
ขับขี่ ยังไมพอที่จะถือว่าเป็ นการกระทำาโดยประมาท แต่การที่
น้อยหน่าและมังคุดขับรถชนคนบาดเจ็บและตาย เป็ นการกระทำา
ผิดโดยไม่เจตนาและพฤติการณ์ท่ีคนพลุกพล่าน ฝนตก ถนนลื่น
ทำาให้น้อยหน่าและมังคุดไม่อาจใช้ความระมัดระวังได้ เนื่ องจาก
น้อยหน่าขับรถไม่เป็ น กำาลังหัดขับ น้อยหน่าจึงกระทำาโดย
ประมาทเป็ นเหตุให้คนบาดเจ็บและตาย ขณะเดียวการกระทำาของ
มังคุดที่เข้าช่วยถือพวงมาลัย ในพฤติการณ์เช่นนั้ นมังคุดย่อม
กระทำาโดยประมาทเป็ นเหตุให้มีคนตา ยและบาดเจ็บด้วย ซึ่งเป็ น
กรณี กระทำาโดยประมาทหลายคน มังคุดและน้อยหน่าจึงต่างคน
ต่างรับผิดฐานประมาทเป็ นเหตุให้คนตา ยและบาดเจ็บ (มาตรา
59 วรรคสี่)
กฎหมายอาญา 1

คำาถาม
เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2529 เพ็ชรหลอกขายวิทยุเครื่อง
หนึ่ งแก่นิล การกระทำาของเพ็ชรเป็ นความผิดฐานขายของโดย
หลอกลวงตามประมวลกฎหมา ยอาญา มาตรา 271 ซึ่งเป็ นความ
ผิดอันยอมความได้ ต่อมาวันที่ 25 มีนาคม 2529 รัฐบาลได้
ประกาศใช้บังคับพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎห มาย
อาญา โดยแก้ไขความผิดตามมาตรา 271 ให้เป็ นความผิดต่อ
แผ่นดิน วันที่ 20 พฤษภาคม 2529 นิ ลร้องทุกข์ต่อพนั กงาน
สอบสวนให้ดำาเนิ นคดีต่อเพ็ชรฐานขายของโดย หลอกลวงตาม
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 271 เพ็ชรอ้างว่า คดีขาดอายุความ
แล้ว ข้ออ้างของเพ็ชรฟั งขึ้นหรือไม่

เฉลย
ตามประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา 3 )ถ้ากฎหมายที่ใช้ใน
ภาวะกระทำาผิดแตกต่างกับกฎหมายที่ใช้ภายหลังก ารกระทำาผิด
ให้ใช้กฎหมายส่วนที่เป็ นคุณแก่ผ้่กระทำาผิดไม่วาในทางใด
บทบัญญัติน้ ี เป็ นการบัญญัติให้กฎหมายอาญามีผลย้อนหลังได้
หากว่ากฎหมายที่ออกภายหลังนั้ นเป็ นคุณแก่ผ้่กระทำาผิด จากข้อ
เท็จจริงในปั ญหาขณะเพ็ชรกระทำาผิด กฎหมายอาญาบัญญัติให้
ความผิดตามมาตรา 271 เป็ นความผิดอันยอมความได้ ความผิด
ประเภทนี้ เป็ นคุณแก่ผ้่กระทำาผิด เพราะมีเงื่อนไขในการฟ้ อง คือผ้่
เสียหายต้องร้องทุกข์ภายใน 3 เดือน นั บแต่ร้่เรื่องและร้่ตัวผ่กระ
ทำาผิด มิฉะนั้ นคดีขาดอายุความการที่รฐั บาลออกกฎหมายใหม่
แก้ไขความผิดต ามมาตรา 271 ให้เป็ นความผิดต่อแผ่นดิน ทำาให้
เงื่อนไขอายุความร้องทุกข์ 3 เดือนหมดไปผ้่กระทำาผิดไม่ได้รบ

ประโยชน์จากเงื่อนไขนี้ กฎหมายจึงไม่เป็ นคุณแก่ผ้่กระทำาผิดจึง
ไม่มีผลย้อนหลัง ต้องถือว่า ความผิดตามมาตรา 271 ที่เพ็ชรได้
กระทำานั้ น เป็ นความผิดอันยอมความได้อย่่ ซึ่งมีอายุความร้อง
ทุกข์ 3 เดือน ปรากฏว่านิ ลร้องทุกข์ต่อพนั กงานสอบสวน เมื่อวัน
ที่ 20 พฤษภาคม 2529 เกินกำาหนด 3 เดือน นั บแต่วันที่นิลร้่
เรื่องความผิด และร้่ตัวผ้่กระทำาผิด คือ วันที่ 7 มกราคม 2529
คดีย่อมขาดอายุความข้ออ้างของเพ็ชรจึงอ้างขึ้น

กฎหมายแพ่ง 1

คำาถาม
ประหยัดดั๊น้ยืมเงินจากอารีไป 20,000 บาท กำาหนดใช้คืน
ภายใน 2 ปี เวลาผ่านไป 2 ปี 6 เดือน ประหยัดก็ไม่ชำาระ อารีไป
พบประหยัดที่บ้านพักทวงเงินคืน ประหยัดก็ตอบว่ายังไม่มีเงิน
อารีเห็นประหยัดสวมสร้อยคอทองคำาหนั ก 2 บาท จึงบอกให้
ประหยัดถอดสร้อยมาให้ตนยึดถือไว้เป็ นจำานำาก่อน มิฉะนั้ นจะให้
ทนายฟ้ องทันที่ ประหยัดกลัวถ่กฟ้ องจึงจำาใจถอนสร้อยให้อารียึด
ไว้เป็ นประกัน
สงเคราะห์หลานของประหยัดเมื่อร้่เรื่องดังกล่าวได้ไปพบอา
รีที่บ ้านพักแล้วขอสร้อยคืน อารีไม่ยอมคืน สงเคราะห์จึงชักปื น
มาจี้อารีให้เขียนหนั งสือปลดหนี้ ให้ประหยัด จำานวน 20,000 บาท
และให้อารีรบ
ั สร้อยคอเส้นนั้ นไว้เป็ นอันหมดหนี้ กัน อารีกลัวจึง
ยอมเขียนหนั งสือปลดหนี้ ให้ ต่อมาอารีได้มีจดหมายถึงประหยัดว่า
ขอให้นำาเงินจำานวน 20,000 บาท มาใช้คืนและรับสร้อยคอไป
ดังนี้ ประหยัดต้องชำาระเงินจำานวนดังกล่าวให้อารีหรือไม่ เพราะ
เหตุใด

เฉลย
หลักกฎหมาย
มาตรา 121 การแสดงเจตนาอันได้มาเพราะคนฉ้อฉลก็ดี
เพราะข่มข่่ก็ดี ท่านว่าเป็ นโมฆียะ การที่จะเห็นการข่มข่่น้ ั นกลัวว่า
จะเกิดความเสียหายแก่ตนเอง แก่สกุลหรือแก่ทรัพย์สินของตน
โดยทำาให้ผ้่ถ่กข่มข่่กลัวภัยถึงขนาด จึงต้องทำานิ ติกรรมนั้ นขึ้น
มาตรา 127 การข่่ว่าจะใช้สิทธิอันใดอันหนึ่ งตามปกตินิยม
ก็ดีเพียงแต่ความก ลัวเพราะนั บถือยำาเกรงก็ดี ท่านหาจัดว่า
เป็ นการข่มข่่ไม่
การที่นายอารีข่นายประหยัดให้ถอดสร้อยมาเป็ นจำานำา ถ้าไม่
ให้จะฟ้ องร้องนั้ นมิใช่เป็ นเรื่องการข่มข่่แต่ประการใดเพ ราะเรื่องนี้
เป็ นกรณี ท่ีนายอารีมีสิทธิของการเป็ นเจ้าหนี้ ที่จะ ฟ้ องล่กหนี้ อย่่
แล้ว การที่นายประหยัดยอมจำานำาสร้อยให้นายอารีจึงสมบ่รณ์ไม่
ถือว่าเป็ นการข่มข่่

หลักกฎหมาย
มาตรา 128 การข่มข่่ย่อมทำาให้นิติกรรมเสื่อมเสีย แม้ถึง
บุคคลภายนอกจะเป็ นผ้่ข่มข่่
การที่นายสงเคราะห์ไปข่่นายอารีให้ทำาหนั งสือปลดหนี้ ให้นาย
ประหย ัดนั้ น ถือได้ว่าเป็ นการที่บุคคลภายนอกข่มข่่ให้นายอารีทำา
นิ ติกรรมคือก ารปลดหนี้ ให้นายประหยัด ดังนั้ นการปลดหนี้ นี้ จึง
เป็ นโมฆียะเพราะเกิดจากการข่มข่่ของบุค คลภายนอก นายอารีก็
สามารถบอกล้างการปลดหนี้ ให้เป็ นโมฆะได้ ดังนั้ นนายประหยัด
ยังต้องใช้เงินให้นายอารี

คำาถาม
ทองเป็ นสามีพลอยได้เปิ ดร้านค้าเครื่องเพชร วันหนึ่ งทองถ่ก
รถยนต์ชน สมองได้รบ
ั ความกระทบกระเทือนอย่างมาก ผ่าตัดแล้ว
อาการก็ไม่ดีข้ ึน มีสติฟั่นเฟื อน เมื่อกลับมาอย่่ท่ีร้านทองได้
โทรศัพท์สัง่ ซื้ อเครื่องเพชรจากห้ างหุ้นส่านจำากัดอัญมณี มาเป็ น
จำานวนเงิน 1 ล้านบาท ทางห้างฯ ดังกล่าวได้ส่งเครื่องเพชร
จำานวนดังกล่าวให้ทองตามสัง่ ต่อมาอีก 2 เดือน พลอยได้ย่ ืน
คำาร้องขอให้ทองเป็ นคนไร้ความสามารถต่อมาทองได้สัง่ ซ ื้ อบุษ
ราคัมจากห้างฯ ดังกล่าวอีก เป็ นจำานวนเงินอีก 1 ล้านบาท ทาง
ห้างฯ ก็ได้สัง่ ของให้ตามสัง่ เพราะทองเป็ นล่กค้าประจำา โดยทาง
ห้างฯ มิได้ร้่ถึงอาการฟั ่ นเฟื อนหรือความเป็ นคนไร้ความสามารถ
ของทองแต ่อย่างใด
ห้างฯ ได้มีหนั งสือไปถึงทองทวงถามเงินค่าเครื่องเพชร
และบุษราคัมรวมเป ็นเงินทั้งสิ้น 2 ล้านบาท พลอยเมื่อทราบถึง
หนั งสือทวงเงิน จะอ้างว่าสัญญาซื้ อขายทั้ง 2 ครั้ง ไม่สมบ่รณ์
เพราะตนไม่ร้่ถึงการซื้ อขายนั้ นได้หรือไม่ เพราะเหตุใด

เฉลย
หลักกฎหมาย
มาตรา 31 การใดๆ อันบุคคลผ้่ซ่งึ ศาลได้สัง่ ให้เป็ นคนไร้
ความสามารถได้ทำาลง การนั้ นท่านว่าเป็ นโมฆียะ
มาตรา 32 การใดๆ อันบุคคลวิกลจริตได้ทำาลง แต่หาก
บุคคลนั้ นศาลยังมิได้สัง่ ให้เป็ นคนไร้ความสามารถไซร้ ท่านว่าการ
นั้ นจะเป็ นโมฆียะต่อเมื่อพิส่จน์ได้ว่าได้ทำาลงในเวลา ซึ่งบุคคลนั้ น
จริตวิกลอย่่ และค่่กรณี อีกฝ่ ายหนึ่ งได้ร้่แล้วด้วยว่าผ้่ทำาเป็ นคน
วิกลจริต
คนวิกลจริตนั้ น หมายถึง บุคคลทีมีจิตไม่ปกติหรือ
สมองพิการหรือเป็ นคนบ้า มีอาการควบคุมตัวเองไม่ได้ ไม่ร้่สึกผิด
ชอบเยี่ยงบุคคลธรรมดา และยังหมายความรวมถึง บุคคลที่มี
อาหารผิดปกติธรรมดาเนื่ องจากเจ็บป่ วยถึงขนาดไม่ร้่สึ กผิดชอบ
และไม่สามารถประกอบกิจการงานโด ๆ ได้ด้วย
จากข้อเท็จจริงเห็นได้ว่า นายทองนั้ นเป็ นบุคคล
วิกลจริตและในช่วงแรกซึ่งออกจากโรงพยาบาลแล ้ว ได้ทำา
นิ ติกรรมการซื้ อขายไปก่อนที่ศาลจะสัง่ ให้เป็ นคนไร้ความสาม ารถ
ทั้งค่่กรณี อีกฝ่ ายหนึ่ งก็ไม่ได้ร้่ว่านายทองนั้ นเป็ นคนวิกลจริ ตแต่
อย่างใด ดังนั้ นการซื้ อขายในครั้งแรกนั้ นจึงมีผลสมบ่รณ์ นาง
พลอยจะอ้างว่านายทองเป็ นคนวิกลจริต การซื้ อขายครั้งแรกไม่
สมบ่รณ์ไม่ได้ นางพลอยต้องชำาระราคาค่าเพชรซึ่งนางทองได้สัง่ ซื้ อ
ไป
เมื่อศาลได้สัง่ ให้นายทองเป็ นคนไร้ความสามารถแล้ว
ผลก็คือนิ ติกร รมที่นายทองทำาไปตกเป็ นโมฆียะทั้งสิ้น ถึงแม้ว่าค่่
กรณี จะไม่ร้่ว่านายทองเป็ นคนไร้ความสามารถก็ตาม ดังนี้ ในกรณี น้ ี
รางพลอยสามรถบอกล้างสัญญาซื้ อขายบุษราคัมระหว่า งนายทอง
และค่่กรณี ได้

แนวข้อสอบเก่า กฎหมายมหาชน (ขอบคุณ คุณ


พิษณุโลก (222.123.175.74) วันที่ 11/8/2550
8:41:46)

ข้อสอบเก่ากฎหมายมหาชน
1.อัลเบียนมีบทบาทที่สำาคัญต่อการพัฒนากฎหมายมหาชนอย่างไร
คำาตอบ เป็ นผู้อธิบายลักษณะความแตกต่างระหว่างกฏหมายเอกชนกับกฏหมาย
มหาชนไวูอย่างชัดเจน
2.กฏหมายมหาชนเป็ นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายในยุคคลาสสิคและเสื่อมลงเมื่อสิ้น
สมัยพระเจูาจักรพรรดิจัสติเนี ยนต่อมากฏหมายมหาชนกลับไปเจริญรุ่งเรืองมาก
ในฝรั่งเศสเนื่ องมาจากสาเหตุใด
คำาตอบ อิทธิพลของกฎหมายโรมันแพร่หลายเขูาไปในการศึกษาขั้นมหาวิทยาลัย
3.เพราะเหตุใดประเทศที่ใชูระบบคอมมอนลอว์จึงพัฒนากฏหมายมหาชนใหู
กูาวหนูาไปชูากว่าที่ควร
คำาตอบ ไดชีย์นักปราชญ์ชาวอังกฤษไดูวิจารณ์โจมตีการแบ่งสาขากฏหมายใน
ฝรั่งเศสและคัดคูานการจัดตั้งศาลปกครองในอังกฤษอย่างรุนแรง
4.การพัฒนากฏหมายมหาชนของไทยกูาวหนูาไปชูากว่าประเทศอื่นเนื่ องมาจาก
สาเหตุใด
คำาตอบ อิทธิของกฎหมายคอมมอนลอว์ท่ีนักกฎหมายไทยไดูศึกษามา ทำาใหูไม่
เห็นความจำาเป็ นของการแบ่ง แยกกฎหมาย
5.กฎหมายมหาชนมีลก ั ษณะพิเศษที่เห็นไดูชัดคือ
คำาตอบ มีบทบัญญัติท่ีเคร่งครัดเป็ นการบังคับจะหลีกเลี่ยงหรือยกเวูนไดูยากหรือ
ยกเวูนไม่ไดูเลย
6.กฏหมายใดมีลก ั ษณะเป็ นกฏหมายมหาชนโดยแทูตามความหมายที่ถือกันมาแต่
ดั้งเดิม
คำาตอบ กฎหมายมหาชน
7.แหล่งใดที่ไม่ใช่บ่อเกิดของกฎหมายมหาชน
คำาตอบ ทฤษฎีการเมือง ( แหล่งที่เป็ นบ่อเกิด ไดูแก่ กฎหมายลายลักษณ์อักษร
จารีตประเพณี คำาพิพากษาของศาล หลักกฎหมายทั่วไป)
8.กฎหมายมหาชนแตกต่างกับกฎหมายเอกชนอย่างไร
คำาตอบ ยึดถือหลักที่ว่ารัฐมีฐานะส้งกว่าเอกชนเพราะรัฐเป็ นที่รวมของเอกชน
9.นักปรัชญามีบทบาทต่อการพัฒนากฎหมายมหาชนอย่างไร
คำาตอบ กฎหมายมหาชนไม่ไดูเกิดจากตัวบทกฎหมายใดโดยเฉพาะ
หากแต่พัฒนาไปตามความคิดของนักปรัชญากฎหมายในแต่ละสมัย
10.” เมื่อใดที่อำานาจนิ ติบัญญัติและอำานาจบริหารรวมอย่้ท่ีคนคนเดียวหรือองค์กร
หรือเจูาหนูาทีเดียว อิสรภาพย่อมไม่อาจมีไดูเพราะจะเกิดความหวาดกลัว
เนื่ องจากกษัตริย์หรือสภาเดียวนั้นอาจออกกฏหมายมากดขี่ข่มเหงราษฎรไดู “
แนวคิดนี้ เป็ นของใคร
คำาตอบ มองเตสกิเออ
11.อริสโตเติล ้ ไดูสรูางปรัชญาว่าดูวยกำาเนิ ดของรัฐจนเป็ นที่ยอมรับในปั จจุบัน
ถือว่ารัฐเกิดจากแหล่งใด
คำาตอบ วิวัฒนาการทางการเมืองของมนุษย์
12.คำาที่มีความหมายถึงความเป็ นอันหนึ่ งอันเดียวกันในทางวัฒนธรรมมีความ
ผ้กพันกันทางสายโลหิต เผ่าพันธ์ุ ภาษา ศาสนา วัฒนธรรม ตลอดจนการมี
ประสบการณ์ร่วมกันทางประวัติศาสตร์หรือมีวิวัฒนาการทางการเมืองร่วมกัน คือ
คำาตอบ ชาติ
13.การดำารงอย่้หรือสิ้นไปของรัฐขึ้นอย่้กับสิง ่ ใด คำาตอบ อำานาจอธิปไตย
14.ความหมายของ นิ ติรัฐคือ อะไร
คำาตอบ รัฐที่ยอมเคารพกฎหมายและถือว่ากฎหมายมีความสำาคัญเหนื อสิง ่ อื่นใด
15.แมูว่าบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมน้ญไทยจะไม่กำาหนดว่าอำานาจอธิปไตยเป็ นของผู้
ใดแต่ก็เขูาใจกันดีว่าอำานาจอธิปไตยเป็ นของประชาชนเพระาเหตุใด
คำาตอบ ประเทศไทยมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
16.ในปั จจุบันการแบ่งแยกอำานาจไม่มีลักษณะเด็ดขาดในทางปฏิบัติแต่ไดูยึดถือ
หลักการอย่างไร
คำาตอบ การแบ่งอำานาจอธิปไตยออกเป็ นส่วนๆเพื่อใชูในการปกครอง
17.กฏหมายที่กำาหนดกฏเกณฑ์ในการปกครองประเทศและการใชูอำานาจอธิปไตย
เรียกชื่ออย่างไร
คำาตอบ รัฐธรรมน้ญ
18.รัฐธรรมน้ญลายลักษณ์อักษรที่เป็ นแม่แบบรัฐธรรมน้ญประชาธิปไตยซึ่ง
ประเทศประชาธิปไตยถือเป็ นตัวอย่างในการร่างรัฐธรรมน้ญไดูแก่รัฐธรรมน้ญ
ของประเทศอะไร
คำาตอบ สหรัฐอเมริกา
19.ประเทศทั้งหลายจำาเป็ นตูองมีรัฐธรรมน้ญสำาหรับปกครองประเทศเนื่ องจาก
สาเหตุใด
คำาตอบ การเป็ นที่ยอมรับในสังคมนานาชาติ
20.ขูอความที่ว่า คณะปฏิวัติจัดใหูมีการร่างรัฐธรรมน้ญของประเทศไทยสมัย
ปั จจุบันนั้นถ้กตูองหรือไม่
คำาตอบ ไม่ถ้กตูอง
21.รัฐธรรมน้ญชั่วคราวมักมีช่ ือเรียกอย่างไร
คำาตอบ ธรรมน้ญการปกครองราชอาณาจักร
22.ขูอความที่นำาหนูาบทบัญญัติมาตราต่างๆในรัฐธรรมน้ญเรียกชื่อว่าอะไร
คำาตอบ คำาปรารภ
23.ประเทศที่เป็ นรัฐเดี่ยวไดูแก่
คำาตอบ สิงคโปร์ ญี่ปุ่น ฟิ ลิปปิ นส์
24.การสืบราชสมบัติของพระมหากษัตริย์ไทยตูองเป็ นไปตามกฎหมายใด
คำาตอบ รัฐธรรมน้ญและกฎมณเฑียรบาล
25.การปกครองระบอบประชาธิปไตยมีกำาเนิ ดในนครรัฐเอเธนส์แห่งกรีกโบราณ
แต่ไดูขยายทั่วไปต่อมาในศตวรรษที่14
ไดูไปเจริญรุ่งเรืองขึ้นอีกในอังกฤษ เนื่ องมาจากสาเหตุใด
คำาตอบ พวกขุนนางเจูาของที่ดินตูองการมีบทบาทในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิ ยม
อย่างรวดเร็ว
26.ความหมายของการปกครองระบอบประชาธิปไตยคืออะไร
คำาตอบ ระบอบการปกครองที่ประชาชนเป็ นเจูาของอธิปไตยและมีสิทธิเสรีภาพ
โดยอาศัยหลักการแบ่งแยกอำานาจและหลักความถ้กตูองแห่งกฏหมาย
27.การเลือกตั้งแบบแบ่งเขตและการเลือกตั้งแบบรวมเขตสำาหรับประชาชนในเขต
จังหวัดหนึ่ งมีความแตกต่างกันมากที่สุดในเรื่องใด
คำาตอบ จำานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่จะมีไดูสำาหรับในจังหวัด
28.ลักษณะสำาคัญประการหนึ่ งของร้ปแบบรัฐบาลในระบอบประธานาธิบดีไดูแก่
คำาตอบ ประชาชนมีสิทธิถอดถอนรัฐบาลไดู
29. ระบอบปกครองแบบเผด็จการหมายความอย่างไร
คำาตอบ ระบอบการปกครองที่อำานาจการปกครองของรัฐบาลมิไดูมาจากการเลือก
ตั้ง
30.การกำาหนดโครงสรูางในการผลิตอันเป็ นพื้นฐานทางสังคมนิ ยมใหูเครื่องมือใน
การผลิตเป็ นของส่วนรวมเป็ นระบอบการปกครองใด
31.ฝ่ ายบริหารจะทำาใหูประชาชนยอมรับระบบการปกครองแบบเผด็จการไดูดูวย
วิธีการใด
คำาตอบ การใหูอำานาจเด็ดขาดแก่ตำารวจลับในการจับกุมคุมขังและการทรมาน
ตลอดจนการประหารชีวิต

32.รัฐธรรมน้ญของประเทศเผด็จการสังคมนิ ยมมีลก ั ษณะสำาคัญอย่างไร


คำาตอบ การรวมอำานาจการปกครองไวูท่ีศ้นย์กลาง
33.ขูอใดเป็ นแหล่งกำาเนิ ดขององค์กรนิ ติบัญญัติหรือรัฐสภาในระบอบการปกครอง
แบบประชาธิปไตย
คำาตอบ วิวัฒนาการการปกครองของประเทศอังกฤษ
34.ที่มาของสมาชิกวุฒิสภาไทยมีความใกลูเคียงกับที่มาของสมาชิกวุฒิสภาของ
ประเทศใดมากที่สุด
คำาตอบ แคนาดา
35.ระบบสองสภามักจะเกิดขึ้นในประเทศที่มีการปกครองร้ปแบบใด
คำาตอบ การปกครองแบบรัฐเดี่ยวและการปกครองแบบสหพันธ์ท้ังสองแบบ
36.รัฐสภาประกอบดูวยองค์กรใดบูาง
คำาตอบ มวลสมาชิกของรัฐสภาซึ่งมีท่ีมาแตกต่างกันประกอบกันเป็ นรัฐสภา
37.รัฐสภามีอำานาจหนูาที่ในการจัดทำากฎหมายในกรณีใด
คำาตอบ การตราพระราชบัญญัติ การพิจารณาอนุมัติพระราชกำาหนด และการ
แกูไขเพิ่มเติมรัฐธรรมน้ญ
38.รัฐสภามีอำานาจควบคุมองค์กรบริหารดูวยวิธีการอย่างไร
คำาตอบ การตั้งกระทู้ถามในรัฐสภาโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และการเสนอ
ขอเปิ ดปภิปรายทั่วไปไม่ไวูวางใจคณะรัฐมนตรีท้ังคณะหรือรายตัว
39.การเลือกตั้งแบบแบ่งเขตตามหลักสากลหมายถึง
คำาตอบ การแบ่งเขตเลือกตั้งเป็ นเขตย่อยๆทั่วประเทศแต่ละเขตมีสมาชิกสภาผู้
แทนราษฎรไดูเพียงคนเดียว
40.พรรคการเมืองในรัฐสภามีบทบาทอย่างไร
คำาตอบ ทำาหนูาที่เป็ นฝ่ ายสนับสนุนรัฐบาลหรือเป็ นฝ่ ายคูานรัฐบาล
41.ประเทศไทยในทวีปอาฟริกาประเทศหนึ่ งไดูรับเอกราชใหม่ตูองการร่าง
รัฐธรรมน้ญแบบประชาธิปไตยโดยไม่ตูองการความสัมพันธ์กับประเทศผู้ปกครอง
เดิมแต่ก่อนที่จะไดูรับเอกราชประเทศผู้ปกครองเดิมไดูส่งคนของตนไปเป็ นผู้
สำาเร็จราชการและขณะนั้นมีผู้นำาประชาชนสามคนซึ่งเป็ นที่ยอมรับของประชาชน
ในประเทศนี้ ดังนั้นในร่างรัฐธรรมน้ญควรกำาหนดใหูใครเป็ นประมุขของประเทศ
คำาตอบ ประธานาธิบดีซึ่งมาจากการเลือกตั้งของประชาชนโดยมีวาระแห่งการ
ดำารงค์ตำาแหน่งคราวละ 4 ปี
42.ในการบริหารประเทศคณะรัฐมนตรีมีความรับผิดชอบต่อการบริหารประเทศ
อย่างไร
คำาตอบ ดำาเนิ นการบริหารประเทศตามนโยบายที่ไดูแถลงไวูต่อรัฐสภาในงวันที่
เขูาดำารงตำาแหน่ ง
43.ขูอใดเป็ นลักษณะของนโยบายที่องค์กรบริหารตูองแถลงต่อรัฐสภาในการ
บริหารประเทศ
คำาตอบ นโยบายการบริหารตูองกำาหนดใหูสอดคลูองกับแนวนโยบายแห่งรัฐซึง ่
โดยทั่วไปจะบัญญัติไวูในรัฐธรรมน้ญ
44.คณะรัฐมนตรีมีมติดูวยคะแนนเสียงสองในสามใหูตัดความสัมพันธไมตรีกับ
ประเทศหนึ่ งรัฐมนตรีฝ่ายที่คด ั คูานมติดง ั กล่าวไดูแสดงความคิดเห็นเป็ นเชิงโตู
แยูงทั้งในที่ประชุมคณะรัฐมนตรีหรือแมูแต่ภายนอกที่ประชุมภายหลังมติดง ั กล่าว
ของคณะรัฐมนตรีไม่ไดูรับความไวูวางใจจากรัฐสภาดังนี้ ตามหลักทั่วไปแห่ง
รัฐธรรมน้ญคณะรัฐมนตรีตูองดำาเนิ นการอย่างไร
คำาตอบ คณะรัฐมนตรีตูองลาออกจากตำาแหน่ งทั้งคณะเพื่อใหูมก ี ารแต่งตั้งคณะ
รัฐมนตรีชุดใหม่
45.ในประเทศที่มีระบอบการปกครองแบบประธานาธิบดีท่ีองค์กรนิ ติบัญญัติไม่
สามารถถอดถอนประธานาธิบดีไดูดังนั้นในการควบคุมอำานาจฝ่ ายบริหารองค์กร
นิ ติบัญญัติจะสามารถดำาเนิ นการไดูอย่างไร
คำาตอบ ควบคุมการบริหารงานขององค์กรบริหารโดยการพิจารณาควบคุมการใชู
เงินงบประมาณของหน่ วยงานของรัฐ
46.รัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัติสามารถออกกฏกระทรวงเพื่อใหูมีการ
ดำาเนิ นการตามพรบ.ดังนั้นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมีอำานาจออกกฎกระทรวงใน
ลักษณะใด
คำาตอบ ใชูบง ั คับไดูท่ัวประเทศเท่าที่ไม่ขัดต่อรัฐธรรมน้ญและกฎหมายอื่น
47.การที่ประเทศต่างๆยอมใหูองค์กรบริหารมีอำานาจใชูอำานาจตุลาการในบาง
กรณีเนื่ องจากสาเหตุใด
คำาตอบ เพื่อแบ่งเบาภาระขององค์กรตุลาการและเพื่อความสะดวกรวดเร็วในการ
บริหารประเทศ
48.ในกรณีเกิดภาวะไม่ปกติอันเนื่ องมาจากเหตุการณ์ท่ีก่อกวนความสงบ
เรียบรูอยภายในประเทศหรือภาวะฉุกเฉินรัฐธรรมน้ญไทยใหูอำานาจแก่องค์กร
บริหารอย่างไร
คำาตอบ ประกาศใชูกฏอัยการศึกทั่วประเทศหรือเฉพาะพื้นที่ใชูอำานาจตามกฏ
อัยการศึกมาแกูไขภาวะไม่ปกติ
49.องค์กรที่ใชูอำานาจตุลาการในปั จจุบน ั คือ
คำาตอบ ศาล
50.กระทรวงยุติธรรมไดูจัดตั้งในรัชสมัยใด
คำาตอบ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลูาเจูาอย่้หัว รัชกาลที่ 5
51.ศาลคดีเด็กและเยาวชนเป็ นศาลพิเศษที่จัดตั้งขึ้นเพื่อ
คำาตอบ พิจารณาพิพากษาคดีเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนซึ่งมีอายุ 18 ปี บริบ้รณ์
52.ศาลอุทธรณืท่ีมีอำานาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งและคดีอาญาที่มีการอุทธรณ์
คำาพิพากษาหรือคำาสั่งศาลชั้นตันในปั จจุบน ั มีก่ีศาล
คำาตอบ 1 ศาล
53.การสรรหาและแต่งตั้งผู้พิพากษาตุลาการดำาเนิ นการโดยวิธีใด
คำาตอบ วิธีการผสมคือ คัดเลือกและแต่งตั้ง
54.ตุลาการศาลทหารแบ่งเป็ น 2 ประเภทคือ
คำาตอบ ตุลาการพระธรรมน้ญกับตุลาการศาลทหาร
55.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมเป็ นผู้รับผิดชอบงานของกระทรวงในดูาน
คำาตอบ งานธุรการของศาล
56.กรรมการโดยตำาแหน่งของคณะกรรมการตุลาการคือ
คำาตอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
57. สิทธิทางกฎหมายมีความหมายอย่างไร
คำาตอบ วิถีทางที่ถ้กตูองและเป็ นธรรมในกรณีใดว่าควรจะเป็ นไปอย่างนั้นอย่างนี้
58.นักคิดในทางการเมืองที่เสนอแนวคิดในเรื่องสิทธิตามธรรมชาติมีความมุ่ง
หมายที่สำาคัญอย่างใด
คำาตอบ มุ่งหมายใหูเป็ นหลักการสำาคัญในการจำากัดอำานาจของผู้มีอำานาจปกครอง
59.สมมุติว่าในประเทศไทยมีอัตราการเพิ่มของประชากรส้งมากรัฐบาลจึงเสนอร่า
งกฏหมายฉบับหนึ่ งต่อสภานิ ติบัญญัติเพื่อควบคุมอัตราการเพิ่มของประชากร
กฎหมายดังกล่าวนี้ มีหลักการสำาคัญหลักการหนึ่ งเกี่ยวกับการกำาหนดหูาม
ประชาชนชาวไทยทำาการสมรสก่อนอายุครบ 40 ปี บริบ้รณ์ หากชายหญิงค่้ใด
ลักลอบไดูเสียก่อนวัยที่กฎหมายกำาหนดไวูดังกล่าว
ชายหญิงค่้น้ันจะตูองไดูรับโทษทางอาญา ร่างกกหมายนี้ เป็ นร่างกฏหมายที่มีหลัก
การไม่สอดคลูองกับแนวความคิดเรื่องใด
คำาตอบ แนวความคิดในเรื่องกฎหมายธรรมชาติ
60.ขูอใดเป็ นสิทธิทางแพ่งและทางการเมือง
คำาตอบ สิทธิท่ีจะไม่ถ้กลงโทษอย่างโหดรูายไรูมนุษยธรรมหรือตำ่าชูา
61.แนวความคิดในทางการเมืองเรื่องสัญญาประชาคมที่สนับสนุนแนวความคิด
ในเรื่องสิทะเสรีภาพของประชาชนไดูแก่
แนวความคิดของนักคิดในทางการเมืองท่านใด
คำาตอบ จอห์น ล็อค

62.เมื่อประชาฃนแต่ละคนมีส่วนสรูางเจตจำานงค์ร่วมกันการเคารพเชื่อฟั งเจต
จำานงค์ร่วมกันจึงเท่ากับการเคารพเชื่อฟั งตนเองเมื่อเขาไม่ตูองเคารพเชื่อฟั งผู้อ่ ืน
เขาจึงยังคงมีความเป็ นอิสระเสรี
แนวความคิดนี้ เป็ นแนวความคิดของนักคิดในทางการเมืองท่านใด
คำาตอบ ฌอง ฌาลส์ รุสโซ
63.สิทธิท่ีจะเดินทางออกนอกประเทศรวมทั้งประเทศของตนเองและเดินทางกลับ
ประเทศของตนเองจัดอย่้ในสิทธิประเภทใด
คำาตอบ สิทธิทางแพ่ง
64.ขูอใดถือเป็ นสิทธิทางเศรษฐกิจและทางสังคม
คำาตอบ สิทธิท่ีจะรับการศึกษา
65.การใชูอำานาจนิ ติบัญญัติถก
้ จำากัดโดยหลักการใด
คำาตอบ หลักแห่งระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยที่ประชาชนมีส่วนร่วมใน
การบริหารประเทศ
66.การใชูอำานาจนิ ติบัญญัติมีขอบเขตเพียงใด
คำาตอบ หลักพื้นฐานของการปกครองและการพิทักษ์สิทธิพ้ ืนฐานของประชาชน
67.องค์กรนิ ติบัญญัติควบคุมการใชูอำานาจนิ ติบัญญัติท่ีจะปู องกันมิใหูกฏหมายขัด
กับรัฐธรรมน้ญไดูอย่างไร
คำาตอบ ยับยั้งการประกาศการใชูกฎหมายตามกระบวนการที่กำาหนดไวูใน
รัฐธรรมน้ญ
68.องค์กรพิเศษที่ทำาหนูาที่ควบคุมการใชูอำานาจนิ ติบัญญัติของรัฐมีลักษณะสำาคัญ
อย่างไร
คำาตอบ มีความเป็ นอิสระในการดำาเนิ นงานในหน่วยงานของรัฐ
69.การวินิจฉัยว่ากฎหมายฉบับใดขัดกับรัฐธรรมน้ญจะมีผลบังคับใชูเมื่อใด
คำาตอบ มีผลของการวินิจฉัยไม่แน่ นอนและเป็ นไปตามแนวคิดของนักกฏหมายใน
แต่ละประเทศ
70.ขูอใดเป็ นลักษณะของระบบการกระจายอำานาจการทบทวนทางกฏหมาย
สำาหรับกรณีท่ีกฏหมายที่บัญญัติขึ้นใหม่ขัดหรือแยูงกับรัฐธรรมน้ญหรือกฏหมาย
อื่น
คำาตอบ การวินิจฉัยโดยองค์กรตุลาการโดยมีการฟู องและการพิจารณาเช่นคดี
ทั่วไป
71.การใหูมก ี ฎหมายลำาดับรองมีเหตุผลอย่างไร
คำาตอบ เพื่อความเหมาะสมกับสภาพขูอเท็จจริงของสังคม
72.เพราะเหตุผลใดจึงตูองมอบอำานาจใหูออกกฏหมายลำาดับรองแก่หน่วยงานที่
ขึ้นตรงต่อสายงานการบังคับบัญชา
คำาตอบ รัฐสภาสามารถดำาเนิ นการใหูรัฐบาลรับผิดชอบไดูโดยตรง
73.การศึกษากฎหมายปกครองในประเทศไทยพัฒนาไปไดูชูาเพราะเหตุใด
คำาตอบ นักกฏหมายไทยส่วนใหญ่มุ่งสนใจไปที่กฏหมายที่เกี่ยวขูองกับการ
พิจารณาอรรถคดีในศาล
74.องค์กรใดเป็ นผู้มีหนูาที่รับผิดชอบดูานการบริหารตามหลักกฎหมายปกครอง
คำาตอบ รัฐบาลและเจูาหนูาที่ของรัฐซึ่งประจำาอย่้ตามส่วนราชการ
75.ฝ่ ายปกครองมีเอกสิทธิใ์ นการบริหารของรัฐเพียงใด
คำาตอบ ฝ่ ายปกครองสามารถบังคับใหูการเป็ นไปตามกฏหมายไดูทันทีโดยไม่ตูอง
รูองขอต่อศาลยุติธรรม
76.ขูอใดเป็ นความหมายของกฎหมายปกครอง
คำาตอบ กฏหมายปกครองเป็ นกฏหมายสาขามหาชนที่วางหลักการจัดระเบียบ
และวิธีการดำาเนิ นงานสาธารณะของฝ่ ายปกครองและวางหลักความเกี่ยวพัน
ระหว่างองค์การฝ่ ายปกครองดูวยกันเองและระหว่างฝ่ ายปกครองกับประชาชน
77.เพราะเหตุใดจึงมีความจำาเป็ นในการควบคุมฝ่ ายปกครอง
คำาตอบ เพื่อปู องกันมิใหูฝ่ายปกครองใชูอำานาจของตนจนเกิดความเสียหายแก่
ประชาชน
78.การควบคุมฝ่ ายปกครองโดยฝ่ ายนิ ติบัญญัติในประเทศไทยกระทำาโดยวิธีใด
คำาตอบ การตั้งกระทู้ถามหรือยื่นญัตติ
ขอยื่นอภิปรายทั่วไปในรัฐสภาตามนัยบทบัญญัติรัฐธรรมน้ญ
79.การควบคุมฝ่ ายปกครองโดยศาลยุตก ิ ระทำาโดยวิธีการใด
คำาตอบ เอกชนผู้ไดูรับความเสียหายสามารถฟู องฝ่ ายปกครองต่อศาลยุติธรรม
เป็ นคดีแพ่งหรือคดีอาญาไดู
80.ปั จจุบันสิทธิของเอกชนที่จะฟู องฝ่ ายปกครองใหูรับผิดเป็ นไปตามบทบัญญัติขอ
งกฏหมายใด
คำาตอบ ประมวลกฎหมายอาญาและประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
81.การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินมีความหมายที่ถ้กตูองอย่างไร
คำาตอบ ขูอตกลงร่วมกันของทางราชการในการกำาหนดการแบ่งหน่ วยงานของรัฐ
เพื่อแบ่งเบาภาระหนูาที่และการกำาหนดแนวทางปฏิบัติของหน่ วยงานของรัฐ
82.ขูอใดเป็ นลักษณะสำาคัญของการบริหารราชการแผ่นดิน
คำาตอบ การใหูบริการแก่ประชาชนเพื่อความผาสุกในชีวิตประจำาวันโดยไม่หวังผล
กำาไร
83.ประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 218 เป็ นกฎหมายลักษณะใด
คำาตอบ กฎหมายที่ใชูเป็ นพื้นฐานของการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
84.ในสมัยกรุงศรีอยุธยาประเทศไทยจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นอินในร้ปแบบ
ใด
คำาตอบ แบ่งการบริหารราชการออกเป็ นจตุสดมภ์กล่าวคือ กรมเวียง กรมวัง กรม
คลัง และกรมนา
85.ขูอใดเป็ นลักษณะเฉพาะของการจัดระเบียบบริหารราชการส่วนภ้มิภาค
คำาตอบ การบริหารราชการส่วนภ้มิภาคอย่้ภายใตูการควบคุมของระเบียบบริหาร
ราชการส่วนกลางในดูานการบริหารงบประมาณ
86.การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินใหูกรมมีฐานะเป็ นนิ ติบุคคล เช่นเดียว
กับกระทรวง โดยมีอิสระในการบริหารงาน
ทำาใหูกรมบางมีบทบาทในการบริหารกวูางขวางทั่วประเทศ ส่วนราชการที่เป็ นก
รมตูองปฏิบัติอย่างไร
คำาตอบ ตูองไดูมีการกำาหนดบทบาทไวูแน่ นอนและจัดลำาดับความสัมพันธ์กับ
กระทรวงใหูสอดคลูองกัน
87.ในกรณีท่ีไม่มีผู้มีอำานาจในการบริหารราชการหรือผู้มีอำานาจราชการไม่อาจ
ปฏิบัติหนูาที่ไดูขูาราชการตำาแหน่ งใดที่ไม่สามารถไดูรับมอบหมายใหูรักษา
ราชการแทนไดู
คำาตอบ หัวหนูาหน่วย
88.ประกาศของคณะปฏิบัติฉบับที่ 218 ไดูกำาหนดใหูมีระบบการรักษาราชการ
และระบบการปฏิบัติราชการแทนโดยมีวัตถุประสงค์อย่างไร
คำาตอบ เพื่อใหูบริการแก่ประชาชนโดยมีลักษณะต่อเนื่ องไม่ขาดตอน
89.ความหมายของ บริการสาธารณะ หมายถึง
คำาตอบ กิจการที่ฝ่ายปกครองจัดทำาหรืออย่้ในความควบคุมของฝ่ ายปกครองเพื่อ
สนองความตูองการของประชาชน
90.ขูอใดเป็ นลักษณะสำาคัญของบริการสาธารณะ
คำาตอบ ประชาชนไม่ตูองเสียค่าตอบแทนโดยตรง
91. ราชการที่จัดทำาบริการสาธารณะตูองคำานึ งถึง
คำาตอบ ความตูองการของประชาชน
92.ขูอใดเป็ นสิทธิและหนูาที่ของเอกชนที่ไดูรับสัมปทานบริการสาธารณะ
คำาตอบ ผู้รับสัมปทานมีหนูาที่จัดทำาบริการสาธารณะโดยสมำ่าเสมอ
93.ขูอใดเป็ นอำานาจหนูาที่ของฝ่ ายปกครองที่จัดทำาบริการสาธารณะ
คำาตอบ ออกคำาสั่งบังคับฝ่ ายเดียว
94.สัมปทานบริการสาธารณะมีการสิ้นสุดเมื่อใด
คำาตอบ สิ้นอายุสัมปทาน
95.คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจที่ควบคุมการจัดทำาบริการสาธารณะควบคุมในดูาน
คำาตอบ ควบคุมด้แลการบริหารงาน
96.การพัฒนากำาลังคนในหน่ วยงานรัฐวิสาหกิจอย่้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติฉบับใด
คำาตอบ ฉบับที่ 4 (2520-2524)
97.ในปั จจุบันเจูาหนูาที่ของรัฐหมายถึงบุคคลประเภทใด
คำาตอบ บุคคลซึ่งไดูรับบรรจุและแต่งตั้งใหูปฏิบัตหิ นูาที่ในหน่ วยงานของรัฐโดยไดู
รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณหมวดเงินเดือน
98.ตามหลักของการบริหารงานบุคคลระบบคุณธรรม
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับเจูาหนูาที่ของรัฐในทางเศรษฐกิจมีลักษณะสำาคัญ
อย่างไร
คำาตอบ รัฐกำาหนดใหูเจูาหนูาที่ของรัฐไดูรับค่าตอบแทนในการปฏิบัติหนูาที่โดย
พิจารณาหลักความเสมอภาคหนูาที่ความรับผิดชอบและความยากง่ายของงาน
สำาหรับตำาแหน่ง
99.มีคำากล่าวว่า การสรรหาบุคคลเขูารับราชการที่ดีน้ัน ตูองดำาเนิ นการตามหลัก
พื้นฐานแห่งระบบคุณธรรมหมายความว่าอย่างไร
คำาตอบ การสรรหาบุคคลโดยการใหูความเสมอภาคในโอกาสดูวยการสอบ
100.การสรรหาบุคคลเพื่อบรรจุและแต่งตั้งใหูปฏิบัติหนูาที่ในหน่ วยงานของรัฐ
ตามระบบการสรรหาแบบตะวันออกมีลก ั ษณะอย่างไร
คำาตอบ การสรรหาบุคคลมักจะกระทำาเฉพาะตำาแหน่งระดับตำ่า ส่วนตำาแหน่ ง
ระดับส้งจะใชูวิธีคด ั เลือก
101.การบรรจุและแต่งตั้งเจูาหนูาที่ของรัฐตามระบบคุณธรรมตูองดำาเนิ นการ
อย่างไร
คำาตอบ การบรรจุและแต่งตั้งเจูาหนูาที่ของรัฐตามตำาแหน่ งที่เหมาะสมกับความรู้
ความสามารถ
102.ปั ญหาของการบรรจุและแต่งตั้งที่มีผลทำาใหูการบริหารงานของหน่ วยงาน
ของรัฐหย่อนประสิทธิภาพคืออะไร
คำาตอบ การไม่เขูาใจสาระสำาคัญแห่งกฎหมายเกี่ยวกับการบรรจุและแต่งตั้ง
103.การพัฒนาเจูาหนูาที่ของรัฐมีความสำาคัญต่อการปฏิบัติหนูาที่ราชการ
อย่างไร
คำาตอบ เพื่อเพิ่มพ้นความรู้ทางวิชาการและมีทัศนคติท่ีดต ี ่อทางราชการ
104.กล่าวกันว่า การรักษาวินัยขูาราชการที่ดีตูองดำาเนิ นการในทางเสริมสรูางใหู
ขูาราชการประพฤติตามวันัยโดยสมัครใจ
แต่ถูาวิธีดำาเนิ นการเช่นนี้ ไม่เป็ นผลก็จำาเป็ นตูองใชูวิธีการปราบปรามลงโทษ
ฉะนั้นจะตูองดำาเนิ นการในทางปราบปรามอย่างไร จึงจะใหูผลดีในการรักษาวินัย
คำาตอบ ดำาเนิ น การปราบปรามลงโทษดูวยความฉับพลันยุติธรรมและเป็ นธรรม
105.การควบคุมการใชูอำานาจของเจูาหนูาที่ของรัฐในการปฏิบัติหนูาที่มีวัตถ้ประ
สงค์อย่างไร
คำาตอบ เพื่อใหูเกิดดุลยภาพระหว่างการบริหารงานของรัฐกับสิทธิและประโยชน์
ของประชาชนผู้มาขอรับบริการสาธารณะ
106.แหล่งใดเป็ นที่มาของแนวความคิดของการควบคุมการใชูอำานาจของเจูา
หนูาที่ของรัฐ
คำาตอบ ความไม่เป็ นธรรมที่ประชาชนไดูรับจากเจูาหนูาที่ของรัฐในการปฏิบัติ
หนูาที่
107.การควบคุมการใชูอำานาจของเจูาหนูาที่รัฐโดยกฎหมายไม่ไดูผลสมบ้รณ์
เนื่ องจากสาเหตุใด
คำาตอบ บทบัญญัติของกฏหมายที่ใชูในการควบคุมการใชูอำานาจของเจูาหนูาที่ของ
รัฐสอดคลูองและรับกันดีแต่การดำาเนิ นการในทางควบคุมนั้นมีข้ันตอนมากมาย
และซับซูอนยากแก่การปฏิบัติ
108.ในประเทศฝรั่งเศสมีหน่ วยงานของรัฐเรียกชื่อว่า “ กองเซย เดคาค์” สังกัด
อย่้กับสำานักนายกรัฐมนตรีทำาหนูาที่ควบคุมการใชูอำานาจของเจูาหนูาที่ของรัฐ
อย่างไร
คำาตอบ ใหูคำาปรึกษาทางกกหมายและพิจารณาคดีปกครอง
109.ขูอใดไม่ใช่มาตราการที่ช่วยเสริมใหูการควบคุมการใชูอำานาจของเจูาหนูาที่
ของรัฐสัมฤทธิผล
คำาตอบ การใหูคำาปรึกษาโดยตรงแก่เจูาหนูาที่ขององค์กรการบริการงานบุคคล
ต่างๆ
110.การควบคุมการใชูอำานาจของเจูาหนูาที่ของรัฐ โดยฝ่ ายนิ ติบัญญัติมีวิธีการ
อย่างไร
คำาตอบ ตั้งกระทู้ถามรัฐบาลหรือยื่นสู้คดีขอเปิ ดอภิปรายไม่ไวูวางใจรัฐมนตรีท้ัง
คณะหรือรัฐมนตรีแต่ละคนเป็ นรายตัว
111.กล่ม ุ ผลประโยชน์ควบคุมการใชูอำานาจของเจูาหนูาที่ของรัฐดูวยวิธีการ
อย่างไร
คำาตอบ การแสดงพลังเพื่อบีบบังคับใหูเจูาหนูาที่ของรัฐปฏิบัติหนูาที่ใหูเป็ นไปตาม
ความตูองการของกลุ่ม
112.พรรคการเมืองสามารถควบคุมการใชูอำานาจของเจูาหนูาที่ของรัฐโดยทาง
อูอมอย่างไร
คำาตอบ การแถลงต่อประชาชนถึงความลูมเหลวของฝ่ ายบริหารที่ไม่สามารถ
ดำาเนิ นการตามนโยบายที่แถลงต่อรัฐสภาอันจะมีผลถึงการเลือกตั้งครั้งต่อไป
113.ขูอใดเป็ นความหมายของศาลปกครอง
คำาตอบ องค์กรบริหารที่ทำาหนูาที่พิจารณาพิพากษาปั ญหาในทางปกครองและ
ควบคุมฝ่ ายปกครองในการปฏิบัติหนูาที่
114.การตั้งศาลปกครองมีความจำาเป็ นที่แทูจริงจากอย่างไร
คำาตอบ ความขัดแยูงระหว่างประชาชนประชาชนกับหน่ วยงานของรัฐมีลักษณะ
พิเศษแตกต่างกับคดีท่ัวไปควรตูองใหูรับการพิจารณาโดยผู้พิพากษาที่มีความรู้
ความเขูาใจและมีประสบการณ์ทางการบริหารและการปกครอง
115.บ่อเกิดของแนวความคิดในการจัดตั้งศาลปกครองเนื่ องมาจากหลักการใด
คำาตอบ หลักการรักษาดุลอำานาจการใชูอำานาจอธิปไตย
116.ระบบศาลเดี่ยวมีลักษณะอย่างไร
คำาตอบ ศาลทั้งหลายจะอย่้ภายใตูการควบคุมและตรวจสอบของศาลยุติธรรม
ส้งสุด
117.ศาลปกครอง ของประเทศฝรั่งเศสมีลักษณะอย่างไร
คำาตอบ เป็ นศาลที่แยกเป็ นอิสระเด็ดขาดจากศาลยุติธรรม มีศาลส้งสุดในสายงาน
ของตัวเองที่ทำาหนูาที่ควบคุมตรวจสอบตรวจสอบคำาพิพากษา
118.การสรรหาเจูาหนูาที่ซึ่งปฏิบัติงานในศาลปกครองที่มีลักษณะสมบ้รณ์แบบ
ดำาเนิ นการอย่างไร
คำาตอบ การสรรหาจากสถาบันการรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติฝ่ายปกครอง
119.การพิจารณาคดีของศาลปกครองใชูระบบไต่สวนที่มีลักษณะแตกต่างจาก
ระบบกล่าวหาอย่างไร
คำาตอบ ศาลเท่านั้นจะเป็ นผู้ดำาเนิ นการพิสจ
้ น์พยานหลักฐานที่ค่้กรณีนำาเสนอต่อ
ศาลและตลอดจนพฤติกรรมของเจูาหนูาที่ของรัฐ
120.การจัดตั้ง ศาลปกครองมีผลเสียต่อการบริหารราชการอย่างไร
คำาตอบ เจูาหนูาที่ของรัฐขาดความมั่นใจและลังเลในการปฏิบัติหนูาที่เพราะรู้ตัว
ว่ามีบุคคลอื่นคอยจูองมองการปฏิบัติหนูาที่ของตนอย่้

กฎหมายอาญา 1 : ภาคบทบัญญัติทัว ่ ไป
หน่วยเน้น : หน่วยที่ 5, 7-9, 11-12
เนื้ อหาทีน
่ ำามาออกข้อสอบมี 3 กลุ่ม ดังนี้
กลุ่มที่ 1 : หน่วยที่ 5 และหน่วยที่ 7 เรื่องความรับผิดอาญา
และการพยายามกระทำาความผิด มีหัวข้อทีค ่ วรให้ความสนใจ
ดังนี้

1. องค์ประกอบภายนอก ประกอบไปดูวยผู้กระทำา การกระทำา และวัตถุแห่ง


การกระทำา ใหูด้ถง ึ พฤติการณ์ประกอบการกระทำาดูวย
ถูาการกระทำาไม่ครบองค์ประกอบภายนอก ไม่มีความรับผิดทางอาญา (เปรียบ
เทียบกับการพยายามกระทำาความผิดตามมาตรา 81)
ด้เรื่องการกระทำาความผิดโดยอูอม (Innocent agent) ดูวย ซึ่งตูองแยกจากการ
เป็ นผู้ถก
้ ใชูใหูกระทำาความผิด ตามมาตรา 84

2. เจตนา ตามมาตรา 59 วรรค 3 และมาตรา 59 วรรค 2 ไดูแก่ เจตนา


ประสงค์ต่อผล และเจตนาเล็งเห็นผล(การพิจารณาเรื่องเจตนาใหูพิจารณาตาม
วรรค 3 ก่อนวรรค 2)
เรื่องเจตนาโดยพลาด (เจตนาโอน) ตามมาตรา 60 ตูองเป็ นการกระทำาโดย
เจตนาเท่านั้น ไม่มีการประมาทโอน
ความสำาคัญผิดในตัวบุคคล จะถือว่าไม่มีเจตนาไม่ไดู ตามมาตรา 61 (ไม่มีเจตนา
โดยสำาคัญผิด เนื่ องจากมาตราที่บัญญัติเรื่องเจตนามีเฉพาะมาตรา 59 และ
มาตรา 60 เท่านั้น)
ความสำาคัญผิดในขูอเท็จจริง โดยผูก้ ระทำาเชื่อว่าขูอเท็จจริงนั้นมีอย่้จริง และถูามี
ขูอเท็จจริงนั้นจะเป็ นการยกเวูนความผิด ยกเวูนโทษ หรือลดโทษ ก็ใหูผก ู้ ระทำาไดู
รับยกเวูนความผิด ยกเวูนโทษ หรือลดโทษ แลูวแต่กรณี ตามมาตรา 62 วรรค 1
แต่ถูาความสำาคัญผิดในขูอเท็จจริงเกิดจากความประมาทตามมาตรา 59 วรรค 4
ก็ตูองไดูรับโทษสำาหรับการประมาทนั้นดูวย ตามมาตรา 62 วรรค 2 นอกจากนี้ ผู้
กระทำาความผิดที่ตูองรับโทษหนักขึ้นโดยอาศัยขูอเท็จจริงใด ผูก ้ ระทำาตูองรู้ถึงขูอ
เท็จจริงนั้น ตามมาตรา 62 วรรค 3 (เหตุฉกรรจ์)

3. ประมาท ตามมาตรา 59 วรรค 4 เป็ นการกระทำาซึ่งมิใช่การกระทำาโดย


เจตนา แต่เป็ นการกระทำาที่บุคคลในภาวะเช่นนั้น จักตูองมีความระมัดระวังตาม
วิสย
ั และพฤติการณ์ โดยผูก
้ ระทำาสามารถใชูความระมัดระวังเช่นว่านั้นไดู แต่หา
ไดูใชูใหูเพียงพอไม่

4. การพยายามกระทำาความผิด ตามมาตรา 80-82


มาตรา 80 เป็ นหลักทั่วไปของการพยายามกระทำาความผิด ผูก ้ ระทำาตูองมีเจตนา
และกระทำาความผิดถึงขั้นลงมือกระทำา การกระทำาโดยประมาทไม่สามารถมีการ
พยายามกระทำาความผิดไดู
มาตรา 81 เป็ นเรื่องการพยายามกระทำาความผิดที่ไม่สามารถบรรลุผลไดูอย่าง
แน่แทู เพราะเหตุแห่งปั จจัยที่ใชูในการกระทำา หรือเพราะเหตุแห่งวัตถุท่ีมุ่งหมายก
ระทำาต่อ เป็ นมาตราที่ต่อเนื่ องมาจากมาตรา 80 (เปรียบเทียบกับมาตรา 59
วรรค 3)
มาตรา 82 เป็ นเรื่องการพยายามกระทำาความผิดโดยการยับยั้งเสียเอง หรือกลับ
ใจแกูไขไม่ใหูการกระทำานั้นบรรลุผล
ใหูด้ดูวยว่าความผิดใดที่มีการพยายามกระทำาความผิดไดู ความผิดใดที่มีการกระ
ทำาความผิดไม่ไดู

กลุ่มที่ 2 หน่วยที่ 8,9 มีหัวข้อทีค


่ วรให้ความสนใจ
ดังนี้

1. เหตุยกเว้นความผิด

1) ความยินยอม ตูองเป็ นความยินยอมที่ไม่ขัดต่อความสงบเรียบรูอยหรือศีล


ธรรมอันดีของประชาชน + ตูองเป็ นความยินยอมที่ไดูใหูต่อผู้กระทำาก่อนหรือขณะ
กระทำาความผิด + ตูองเป็ นความยินยอมโดยสมัครใจ
2) การกระทำาโดยป้ องกันสิทธิ มาตรา 68 (เปรียบเทียบกับการกระทำาโดย
จำาเป็ น ตามมาตรา 67) ด้ฎีกามากๆ
ปู องกันซูอนปู องกันไม่ไดู
3) จารีตประเพณี ให้อำานาจกระทำาได้ ตูองเป็ นจารีตประเพณีท่ีปฏิบัติกันมา
นาน + มีความเชื่อมั่นว่าจารีตประเพณีน้ันเป็ นกฎหมาย + ตูองปฏิบัตกิ ันมาโดย
สมำ่าเสมอ ไม่เปลี่ยนแปลง + ตูองไม่ขัดต่อกฎหมายลายลักษณ์อักษร
2. เหตุยกเว้นโทษ

1) การกระทำาโดยจำาเป็ น ตามมาตรา 67 มี 2 อนุมาตรา (เปรียบเทียบกับ


มาตรา 68 เพราะคลูายคลึงกันมาก) ผลของมาตรา 67 ผูก ้ ระทำายังคงมีความผิด
อย่้ แต่ไดูรับการยกเวูนโทษ แต่ผลตามมาตรา 68 คือผู้กระทำาไม่มีความผิด
2) การกระทำาความผิดในขณะไม่ร้ผิดชอบ หรือไม่สามารถบังคับตนเอง
ได้ เพราะเหตุมีจต ิ บกพร่อง โรคจิต หรือจิตฟั่ นเฟื อน ตามมาตรา 65 วรรค 1
3) การกระทำาความผิดระหว่างมึนเมา ตามมาตรา 66 วรรค 1
4) การกระทำาตามคำาสัง่ ของเจ้าพนักงาน แมูคำาสั่งนั้นจะมิขอบดูวยกฎหมาย
ถูาผู้กระทำามีหนูาที่หรือเชื่อโดยสุจริตใจว่ามีหนูาที่ตูองปฏิบัตต
ิ าม ถือเป็ นเหตุ
ยกเวูนโทษ ตามมาตรา 70
5) การกระทำาความผิดเกีย ่ วกับทรัพย์บางฐานความผิดทีส ่ ามีกระทำาต่อ
ภริยา หรือภริยากระทำาต่อสามี ตามมาตรา 71 วรรค 1
6) เด็กอายุไม่เกิน 7 ปี กระทำาความผิด ตามมาตรา 73
7) เด็กอายุ 7 – 14 ปีกระทำาความผิด ตามมาตรา 74

กลุ่มที่ 3 หน่วยที่ 11-12 ผ้้มีส่วนร่วมในการกระ


ทำาความผิด

1. ตัวการ มาตรา 83 มีองค์ประกอบคือ ตูองมีการกระทำาร่วมกัน + มี


เจตนาร่วมกัน
2. ผ้้ใช้ ตามมาตรา 84 มี 2 กรณีคือ ผู้ใชูใหูกระทำาความผิดในกรณีท่ีความ
ผิดนั้นไดูมีการกระทำา และผู้ใชูใหูกระทำาความผิดในกรณีท่ีความผิดนั้นมิไดูกระทำา
ลง ซึง ่ รับโทษ 1 ใน 3 ของความผิดสำาเร็จ ใหูเปรียบเทียบกับการกระทำาความผิด
โดยอูอม (Innocent agent) ดูวย
3. ผ้้ใช้โดยการโฆษณาหรือประกาศ ตามมาตรา 85 (ตูองเป็ น
ความผิดที่มีโทษขั้นส้งไม่ต่ ำากว่า 6 เดือน)
4. ผ้้สนับสนุน มาตรา 86 มีองค์ประกอบคือ ตูองมีการช่วยเหลือหรือใหู
ความสะดวกก่อนหรือขณะกระทำาความผิด (ไม่รวมหลังการกระทำาความผิด) +
ตูองมีเจตนาที่จะช่วยเหลือหรือใหูความสะดวกในการกระทำาความผิด ถูาเป็ นการ
ช่วยเหลือหรือใหูความสะดวกหลังการกระทำาความผิด ไม่เขูามาตรา 86
ผู้ท่ีไดูรับการสนับสนุนตูองมีการกระทำาความผิดอย่างนูอยถึงขั้นพยายามกระทำา
ความผิด (หรือการตระเตรียมกระทำาความผิด สำาหรับความผิดที่มีกฎหมาย
บัญญัติว่า การตระเตรียมกระทำาความผิดเป็ นความผิด) ผู้สนับสนุนจึงจะมีความ
ผิดและตูองรับโทษตามมาตรา 86
การกระทำาความผิดตามมาตรา 83-86 นั้น ตูองเป็ นการกระทำาโดยเจตนาเท่านั้น
การกระทำาโดยประมาทไม่สามารถมีการช่วยเหลือในการกระทำาความผิดไดู
อย่าลืมด้ฎีกาในเอกสารการสอนมากๆ โดยเฉพาะการแยกระหว่างตัวการ และผู้
สนับสนุน

ข้อแนะนำาในการศึกษาและตอบข้อสอบอัตนัย
กฎหมายอาญา 1

1.ตัวบทกฎหมายอาญา 1 ถือว่ามีจำานวนนูอยที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับวิชาอื่นๆ ใน
สาขานิ ติศาสตร์ ดังนั้นจึงควรจำาตัวบทไดู
2. ควรยกตัวบทขึ้นก่อน และตูองมีการอธิบายตัวบทดูวยเสมอ และในวิชานี้ อาจมี
การใหูตอบปั ญหาวินิจฉัยโดยการอธิบายทฤษฎี เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างการก
ระทำาและผล กฎหมายจารีตประเพณีท่ีเป็ นการยกเวูนความผิด ความยินยอมอัน
เป็ นเหตุของการยกเวูนความผิด ก็ตูองสามารถอธิบายหลักดังกล่าวไดูดูวย
3. มาตราที่เกี่ยวกับฐานความผิดต่างๆ เช่น การฆ่าคนตายโดยเจตนา การฆ่าคน
ตายโดยประมาท ไม่จำาเป็ นตูองยกไปอูาง เพราะเป็ นอย่้ในเนื้ อหาภาคความผิด
ของกฎหมายอาญา 2
4. อย่าลืมด้คำาพิพากษาศาลฎีกาโดยทุกๆเรื่อง เพราะสามารถนำามาสรูางเป็ น
ขูอสอบไดูเสมอ
5. วิชากฎหมายอาญา 1 ยังไม่ใช่วิชาที่ยากของสาขานิ ติศาสตร์ ถูาสามารถศึกษา
จนเขูาใจ และสามารถอูางตัวบทไดู ก็จะสอบผ่านไดูโดยง่าย ขอใหูโชคดีครับ

กฎหมายแพ่ง 1 บุคคล นิ ติกรรม สัญญา


หน่วยเน้น หน่วยที่ 3, 7-9, 12-14

แบ่งเนื้ อหาได้ 3 กลุ่ม ดังนี้

กลุ่มที่ 1 หน่วยที่ 3 เรื่องความสามารถของบุคคล

1. บุคคลบรรลุนิติภาวะ มีไดู 2 กรณีตามมาตรา 19,20


2. ผู้เยาว์ทำานิ ตก
ิ รรม (ไม่รวมเรื่องนิ ติเหตุ เช่น ละเมิด) มีหลักทั่วไปตามมาตรา
21 ถูาไม่ไดูรับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม นิ ติกรรมนั้นตกเป็ นโมฆียะ
มีขูอยกเวูนที่ไม่ทำาใหูนิติกรรมตกเป็ นโมฆียะ คือ
1) นิ ติกรรมที่ไดูสิทธิหรือพูนหนูาที่ มาตรา 22
2) นิ ติกรรมที่ตูองทำาเองเป็ นการเฉพาะตัว มาตรา 23
3) นิ ติกรรมที่จำาเป็ นในการดำารงชีพ มาตรา 24
4) กรณีผู้เยาว์ทำาพินัยกรรม มาตรา 25
5) ผู้เยาว์จำาหน่ ายทรัพย์สิน มาตรา 26
6) ผู้เยาว์ประกอบธุรกิจ หรือสัญญาจูางแรงงาน มาตรา 27
2. บุคคลไรูความสามารถ
1) กรณีการขอใหูศาลสั่งบุคคลผู้วิกลจริตใหูเป็ นคนไรูความสามารถ มาตรา 28
2) ผลของนิ ติกรรมที่ผู้ไรูความสามารถกระทำาลง ตกเป็ นโมฆียะ มาตรา 29 แมูไดู
รับความยินยอมจากผู้อนุบาล ก็ตกเป็ นโมฆียะ
3) ผลของนิ ติกรรม ที่บุคคลวิกลจริตที่ศาลยังไม่มีคำาสั่งใหูเป็ นคนไรูความสามารถ
กระทำาลง มาตรา 30 เป็ นโมฆียะต่อเมื่อ ไดูกระทำาขณะผู้น้ันจริตวิกล + อีกฝ่ าย
หนึ่ งรู้ดูวยว่าผู้กระทำาเป็ นคนวิกลจริต
3. บุคคลเสมือนไรูความสามารถ
1) การขอใหูศาลสั่งว่าเป็ นบุคคลเสมือนไรูความสามารถ มาตรา 32
2) นิ ติกรรมที่คนเสมือนไรูความสามารถตูองไดูรับความยินยอมจากผู้พิทักษ์ก่อน
มาตรา 34

กลุ่มที่ 2 หน่วยที่ 7-9 เรื่องนิ ติกรรม

1. ความหมายของนิ ติกรรม มาตรา 149


2. นิ ติกรรมที่มีวัตถุประสงค์เป็ นการตูองหูามดูวยกฎหมาย เป็ นการพูนวิสย
ั หรือ
เป็ นการขัดต่อความสงบเรียบรูอยและศีลธรรมอันดีของประชาชน มาตรา 150
3. นิ ติกรรมที่ทำาไม่ถ้กตูองตามแบบ มาตรา 152 (ทำาความเขูาใจเรื่องทำาเป็ น
หนังสือ และการมีหลักฐานเป็ นหนังสือ)
4. นิ ติกรรมที่ไม่ไดูเป็ นไปตามความสามารถของบุคคล มาตรา 153
5. เจตนาซ่อนเรูน มาตรา 154
6. เจตนาลวง มาตรา 155 วรรค 1
7. นิ ติกรรมอำาพราง มาตรา 155 วรรค 2 บังคับตามนิ ตก ิ รรมที่ถ้กอำาพราง
8. สำาคัญผิดในสาระสำาคัญแห่งนิ ตก ิ รรม มาตรา 156
9. สำาคัญผิดในคุณสมบัติของนิ ติกรรม มาตรา 157
10. กลฉูอฉล มาตรา 159 กลฉูอฉลเพื่อเหตุ มาตรา 161 กลฉูอฉลโดยการนิ่ ง
มาตรา 162 กลฉูอฉลทั้งสองฝ่ าย มาตรา 163
11. การข่มข่้ มาตรา 164 ขนาดของการข่มข่้ มาตรา 165 บุคคลภายนอกข่มข่้
มาตรา 166
12.การแสดงเจตนาต่อบุคคลเฉพาะหนูา มาตรา 168
13. การแสดงเจตนาต่อบุคคลผู้อย่้ห่างโดยระยะทาง มาตรา 169 โดยเฉพาะ
มาตรา 169 วรรค 2 ซึ่งตูองนำาไปใชูในเรื่องสัญญา
14. การแสดงเจตนาต่อผู้เยาว์ คนไรูความสามารถ คนเสมือนไรูความสามารถ
มาตรา 170
15. โมฆะกรรม มาตรา 172, 173, 174
16. ผู้บอกลูางโมฆียกรรม มาตรา 175 ตูองเป็ นบุคคลตามมาตรานี้ เท่านั้นจึงจะมี
สิทธิบอกลูางโมฆียกรรม บุคคลอื่นไม่มีสิทธิ
17. ผลของการบอกลูางโมฆียกรรม มาตรา 176
18. การใหูสัตยาบันโมฆียกรรม มาตรา 177
19.วิธีการบอกลูางหรือการใหูสัตยาบันแก่โมฆียกรรม ทำาไดูโดยการแสดงเจตนา
แก่คก่้ รณีอีกฝ่ ายหนึ่ ง มาตรา 178
20. ความสมบ้รณ์ของการใหูสัตยาบัน มาตรา 179
21. ระยะเวลาในการบอกลูางโมฆียกรรม มาตรา 181

กลุ่มที่ 3 หน่วยที่ 12-14 เรื่องสัญญา

1. คำาเสนอ
1) คำาเสนอมีระยะเวลาใหูทำาคำาสนอง มาตรา 354
2) คำาเสนอต่อบุคคลที่อย่้ห่างกัน มาตรา 355
3) คำาเสนอต่อบุคคลเฉพาะหนูา มาตรา 356
4) คำาเสนอสิ้นความผ้กพัน มาตรา 357

2. คำาสนอง
1) คำาสนองมาถึงล่วงเวลา มาตรา 359
2) การบอกกล่าวคำาสนองซึ่งส่งโดยทางการมาถึงล่วงเวลา มาตรา 358
3) กรณีท่ีไม่นำามาตรา 169 วรรค 2 มาใชูบง ั คับ ตามมาตรา 360 ซึ่งเป็ นเรื่องคำา
เสนอเท่านี้ น ส่วนเรื่องคำาสนองอย่้ในบังคับของมาตรา 169 วรรค 2
3. การเกิดสัญญา มาตรา 361
4. คำามั่น มาตรา 362, 363, 364
5. การตีความสัญญา
1) กรณีท่ีเป็ นที่สงสัยขูอตกลงในขูอความใดแห่งสัญญา มาตรา 366
2) สัญญาไดูทำาขึ้นแลูว แต่มีบางขูอที่ยังไม่ไดูตกลง มาตรา 367
6. ผลของสัญญาต่างตอบแทน มาตรา 369, 370, 371, 372 สำาคัญมากๆๆๆๆ
ตูองเปรียบเทียบความแตกต่างใหูไดูโดยเฉพาะมาตรา 370, 371, 372
7. มัดจำา มาตรา 377, 378

คำาแนะนำาในการศึกษาและตอบข้อสอบ วิชากฎหมาย
แพ่ง 1
1. ขูอสอบมี 3 ขูอ ขูอแรกเป็ นเรื่องบุคคล ในเนื้ อหากลุ่มที่ 1 มักจะพ่วงคำาถาม
เกี่ยวกับโมฆะ หรือโมฆียะร่วมดูวยเสมอ ขูอที่สองเป็ นเรื่องของการแสดงเจตนา
ต่างๆ ในหน่ วยที่ 8 ขูอที่สามเป็ นเรื่องสัญญา
2. ใหูตอบโดยยกตัวบทขึ้นก่อน ตามดูวยการปรับหลักกฎหมาย และสรุปธงคำา
ตอบเสมอ ถูาสรุปแต่ธงคำาตอบอย่างเดียวถึงแมูว่าคำาตอบจะถ้กตูองก็ไดูคะแนน
เพียง 1-2 คะแนน จาก 20 คะแนนเท่านั้น
3. การใชูภาษากฎหมายต่างๆ ตูองแม่นยำา เช่น โมฆะ โมฆียะ สมบ้รณ์ ไม่บริบ้รณ์
กลฉูอฉล การฉูอฉล อย่าใชูสับไปสับมา เพราะคำาเหล่านี้ มีความหมายแตกต่างกัน
4. กฎหมายแพ่ง 1 เป็ นวิชาพื้นฐานที่สำาคัญของสาขานิ ติศาสตร์ เพราะว่าเรื่อง
บุคคล นิ ติกรรม สัญญา จะเขูาไปมีส่วนเกี่ยวขูองกับกฎหมายอื่นๆเป็ นอันมาก โดย
ทั่วไปไม่ยาก ถูาตั้งใจ ขอใหูโชคดีครับ

You might also like