You are on page 1of 69

1

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน


ในปจจุบัน การวิเคราะหและออกแบบโครงสรางจะประสพผลสําเร็จ มีความปลอดภัย ประหยัด สะดวกและ
รวดเร็วไดหากมีเครื่องมือที่ดีที่สามารถไววางใจไดไวใชงาน ในที่นี้จะกลาวถึงเครื่องมือสําหรับการวิเคราะหและ
(เพื่อ)การออกแบบโครงสรางอาคารในงานวิศวกรรมโยธาโดยเฉพาะในสาขาวิศวกรรมโครงสราง โดยเลือกใช
ซอฟแวร STructural Analysis And Design .Professional เวอรชัน 2004 (STAAD.Pro 2004)
ของ Research Engineers, Intl. มาเปนเครื่องมือซึ่ง STAAD.Pro 2004 เปนซอฟแวรที่ดีและใชงานงาย
และตองไมลืมวาเปนซอฟแวรที่มีลิขสิทธิ์ ฉะนั้นในนามของอาจารยผูสอนตองขอขอบพระคุณเจาของลิขสิทธิ์มา ณ
ที่นี้ดวยเนื่องจากไมไดขออนุญาตอยางเปนทางการและหวังวาการนํามาใชเพื่อการเรียนการสอนคงกอเกิดประโยชน
ตอนิสิตคณะวิศวกรรมศาสตรและผูสนใจไมมากก็นอย และดวยเหตุนี้คงหนุนนําให STAAD.Pro ไมวาเปน
เวอรชันใดจะเปนที่รูจักและมียอดขายที่ถูกลิขสิทธิ์มากขึ้นอยางมากในอนาคตอันใกล

om
การใชงาน STAAD.Pro 2004 ในที่นี้จะเปนเพียงพื้นฐานเทานั้นซึ่งจะเหมาะสําหรับการเริ่มตน โดยจะ
เนนไปที่การนํารูปของโครงสรางที่ตองการวิเคราะหมาจาก AutoCAD จากนั้นจะมากําหนดหรือใสขอมูลเพิ่มเติมที่
l.c
จําเปนสําหรับการวิเคราะห(และการออกแบบ) ดังนี้
1. จาก AutoCAD จะไดรูปรางของโครงสราง (Geometry)
vi
2. นํามากําหนดขนาดหรือเลือกหนาตัดจากตารางที่มีอยู สําหรับทุกชิ้นสวน (element)
ci

3. กําหนดลักษณะพิเศษของบางชิ้นสวนหรือทั้งหมด ถามี
m

4. กําหนดจุดรองรับ (support)
5. กําหนดน้ําหนักบรรทุก (แรงกระทํา) ที่กระทํากับโครงสรางที่เปนไปไดทุกกรณี พรอมกําหนดเงื่อนไข
.tu

การรวมกันของน้ําบรรทุกตางๆ (Load combination)


6. กําหนดชนิดของวัสดุที่ใชของแตละชิ้นสวน
w

7. กําหนดรูปแบบของการวิเคราะห
w

8. อาจกําหนดคาที่จะใชในการออกแบบ ถาตองการ
w

9. ทําการ Run

ขั้นตอนเหลานี้เปนเพียงคราวๆนอกจากนี้ยังมีรายละเอียดตางๆอีกซึ่งจะกลาวภายหลัง หลังจากทําการ
วิเคราะหแลว สิ่งที่ตองคํานึงถึงและควรระวังก็คือการตรวจสอบผลการวิเคราะหที่ไดวาจะเปนไปไดหรือไมสําหรับ
น้ําหนักบรรทุก(แรงกระทํา) ในแตละกรณี ซึ่งการตรวจสอบผลนี้จะขึ้นกับประสบการณ ความรูและทักษะในวิชาการ
วิเคราะหโครงสรางของผูใชซอฟแวรเอง ซึ่งสามารถตรวจสอบไดจากการเสียรูป (deformation) ของโครงสราง
แผนภาพโมเมนตดัด (Bending Moment Diagram) และแผนภาพแรงเฉือน (Shear Force Diagram)

กอนเริ่มใชงานตองรับทราบกอนวา STAAD.Pro จะกําหนดใหแกน Y เปนแกนที่อยูในแนวดิ่ง


มีทิศทางชี้ขึ้น สวนแกน X และ Z จะอยูในระนาบราบหรือระนาบเดียวกับพื้นโลก และจะถือวาทิศทางที่ชี้
ตามแกน XYZ เปนทิศทางบวก ฉะนั้นน้ําหนักบรรทุกซึ่งมีทิศทางสวนแกน Y จึงมีคาเปนลบ และตอง
เนนอีกวาแกน XYZ นี้เปนแกนของโครงสรางไมใชแกนของชิ้นสวนใดชิ้นสวนหนึ่ง

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


2

หลังจากเปดการใชงานจะพบหนาตาของ STAAD.Pro ดังนี้

om
l.c
vi
เริ่มตน STAAD.Pro จะกําหนดสําหรับการสรางไฟลใหมของโครงสราง (New File) ดังนี้
ci

o File Name : Structure1 ซึ่ง STAAD.Pro ไดกําหนดไวเปนคาเริ่มตน (default) ซึ่งสามารถ


m

เปลี่ยนไดทันที
.tu

o Location : จะเปนโฟลเดอรลาสุดที่ไดมีการตั้งหรือสรางไว สามารถเปลี่ยนหรือสรางใหมไดเชนกัน


o ชนิดของโครงสรางที่เราจะวิเคราะหสามารถเลือกไดวาจะเปน
w

⇒ SPACE = โครงสราง 3 มิติ


w

⇒ PLANE = โครงสรางเปนระนาบ 2 มิติ แรงที่กระทําแบบนี้จะอยูในระนาบ (X−Y


plane) เดียวกับโครงสรางเสมอ
w

⇒ FLOOR = โครงสรางเปนตาตารางแบบกริด (grid) เปนระนาบ 2 หรือ 3 มิติเชนเดียวกับ


PLANE แตตางกันที่แรงที่กระทํากับโครงสรางแบบนี้จะตั้งฉากกับระนาบของ
FLOOR เสมอ กลาวคือโครงสรางอยูในระนาบ X−Z แตแรงหรือน้ําหนัก
บรรทุกจะอยูในแกน Y เทานั้น
⇒ TRUSS = โครงสรางเปนระนาบ 2 มิติ (X−Y plane) เชนกันแตชิ้นสวน (element)
ทั้งหมดจะเปนชิ้นสวนแบบรับแรงไดเฉพาะแนวแกน (truss element)
เทานั้น
o Title : ชื่อเรื่องหรือขอความที่ตองการอธิบายถึงความหมายของโครงสราง
o Length Unit : หนวยความยาวเริ่มตน
o Force Unit : หนวยแรงหรือน้ําหนักบรรทุกเริ่มตน

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


3

นอกจากการเริ่มตนดวยการสรางไฟลใหมของโครงสราง (New File) แลวยังสามารถเลือกไฟลของโครงสรางที่เคย


สรางไวกอนหนานี้ไดโดยการคลิ๊กที่ Recent Files จะปรากฏหนาจอดังนี้

om
l.c
vi
ci

และถาตองการเริ่มตนดวยการนํารูปโครงสรางที่เขียนใน AutoCAD ซึ่งไดทําการบันทึกใหนามสกุลเปน .DXF


m

สามารถทําไดโดยการคลิ๊กที่ Cancel จากนั้นใหคลิ๊ก File > Import… จากนั้นใหเลือก 3D DXF และคลิ๊กที่


.tu

Import จะไดหนาตาคลายๆรูปขางลางนี้
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


4

ตอไปใหคนหาตําแหนงและชื่อไฟลที่ตองการนําเขาแลวคลิ๊กที่ Open แลวเลือก No change จะได

om
l.c
vi
Length Units – ถาเขียนรูปโครงสราง AutoCAD ดวยหนวยความยาวเปนเมตรก็ใหเลือก Meter
ci

Force Units – ในที่นี้เลือกหนวยของแรงเปนกิโลกรัม (Kilogram)


m

จากนั้นคลิ๊ก OK จะได
.tu
w
w
w

เริ่มตน STAAD.Pro จะกําหนดชื่อไฟลเปน Str1 (อยูที่มุมซายบน) เราสามารถเปลี่ยนไดขณะ Save

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


5

มุมมองของโครงสราง Job Info สําหรับ


การจําลองโครงสราง (Modeling) กรอกขอมูลของ
การเพิ่มชิ้นสวน โครงงาน
การหมุนโครงสราง
ยอ ขยาย หนาตาง

หนาควบคุม (Page Control)

ตัวชี้ (Cursor)

om
l.c
vi
ci

แกน (Axes)
m
.tu

หนาตางหลัก (Main Window) หนวยปจจุบัน


w
w

ขณะนี้กําลังอยูในแบบวิธี (Mode) ของการจําลองโครงสราง (Modeling) กลาวคือการปอนขอมูลตางๆ


เพื่อใชสําหรับการวิเคราะห
w

ตัวชี้ (Cursor) จะมีหลายแบบดวยกัน เชน ตัวชี้จุด (Nodes cursor) ตัวชี้ชิ้นสวนคาน (Beams


cursor) ตัวชี้ชิ้นสวนแผนพื้น (Plates cursor) ฯลฯ ตัวชี้เหลานี้ (Cursor) จะใชสําหรับชี้/เลือกตามชนิดของ
ตัวชี้ เชน ตัวชี้จุด (Nodes cursor) ใชสําหรับชี้ที่จุดเพื่อดูขอมูลของจุดนั้นๆ หรือคลิ๊กที่จุดใดๆเพื่อที่จะกําหนด
คุณสมบัติของจุดนั้น เชนกําหนดใหเปนจุดรองรับแบบหมุด (Pin support) เปนตน
ตัวชี้แบบคาน (Beams cursor) จะสามารถชี้ที่ คาน เสา หรือ ชิ้นส วนของโครงขอ หมุน (Truss
element) ได แตจะไมสามารถชี้/เลือกจุด (Node) หรือชิ้นสวนอื่นได
ขณะที่เอาตัวชี้แบบจุดไปชี้ที่จุดใด จุดนั้นจะเปนสีแดงและ STAAD.Pro จะแสดงขอมูลของจุดนั้น เชน
บอกวาจุดนั้นมีหมายเลขเทาไร และบอกการเคลื่อนที่ของจุดนั้นถาโครงสรางนี้ไดทําการวิเคราะหเรียบรอยแลว

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


6

เรายังสามารถเลือกจุดหรือชิ้นสวนไดมากกวาหนึ่งจุดหรือหนึ่งชิ้นสวน โดยการคลิ๊กเมาสคางไวแลวลาก
เมาสเพื่อใหขอบเขตการเลือกใหครอบคลุมจุดหรือชิ้นสวนที่ตองการเลือก

om
l.c
vi
ci

จากนั้นใหปลอยนิ้วที่คลิ๊กคางไว จุดหรือชิ้นสวนที่เลือกไวจะแสดงสีแดงขึ้น จากนี้ก็สามารถที่จะกําหนดคุณสมบัติ


m

สวนที่เลือกไวได หรือตองการลบสวนนี้ออกก็ได
.tu
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


7

จากนั้นใหคลิ๊กในพื้นที่ที่วางของหนาตางหลักเพื่อยกเลิกการเลือกชิ้นสวน และคลิ๊กที่มุมมองตรง (View From


+Z) และคลิ๊กที่ Geometry ในแถบเครื่องมือของหนาควบคุม (Page Control Toolbar)

om
l.c
vi
ci

ดานขวามือจะแสดงหนาตางขอมูลของ Geometry ซึ่งสามารถแกไขไดโดยคลิ๊กที่เซลลที่ตองการแกไข


m

จากนั้นตองตรวจสอบกอนวารูปโครงสรางจากไฟล DXF มีการคลาดเคลื่อนจากการปดเศษทศนิยมของแต


.tu

ละจุดหรือไม โดยการคลิ๊ก Tool > Check Duplicate > Nodes


w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


8

ใหปอน 0.01 ที่ Enter Tolerance เพื่อกําหนดให STAAD.Pro หาจุดที่มีคาตําแหนง (Coordinate)


ตางกันไมถึง 0.01 m แลวคลิ๊ก OK

om
l.c
vi
ci

ถาหากมีจุดที่เกิดการคลาดเคลื่อนไมเกิน 1 ซม.ขึ้น STAAD.Pro จะแสดงหนาตางเตือนออกมาและมีสีแดงขึ้นที่จุด


m

นั้น ในที่นี้คือจุด 43 แลวใหเราตัดสินใจวาจะลบจุดที่คลาดเคลื่อนออกหรือไม


.tu
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


9

จากนั้นใหคลิ๊ก Delete แลวเลือก Delete second node in all sets แลว OK และยืนยันการลบ เพื่อลบจุดที่
43 ออก จะเห็นวาตําแหนงของจุด 43 จะหายไป

om
l.c
vi
ci

หากเราตองการให STAAD.Pro เรียงลําดับจุดใหมไมใหจุด 43 หายไปสามารถทําไดดังนี้ เปลี่ยนตัวชี้เปนแบบจุด


m

และเลือกจุดทั้งหมดโดยการคลิ๊กคางไวลากแลวปลอย
.tu
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


10

จากนั้นคลิ๊ก Geometry > Renumber > Nodes แลวคลิ๊ก Yes แลวเลือก Ascending และ Accept
เพื่อใหเรียงจุดใหมจากนอยไปหามาก จะเห็นวาไมมีการเวนจุดเกิดขึ้นแลว

om
l.c
vi
ci

ตอนนี้ก็พรอมแลวที่จะเริ่มตนปอนขอมูลตางๆแลว กอนอื่นให Save โดยสมมติชื่อไฟลเปน Truss T1


m

ใหคลิ๊ก General ในแถบเครื่องมือของหนาควบคุม (Page Control Toolbar) หนาตางจะแสดงใหเริ่มปอนขอมูลที่


.tu

Property
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


11

สมมติวาเราจะเลือกหนาตัดเหล็กใหกับโครงขอหมุนนี้ โดยใชตารางเหล็กสําเร็จรูปของญี่ปุนที่ STAAD.Pro


เตรี ย มไว แ ล ว โดยจะเลื อ กใช เ หล็ ก กลม (PIPE) ขนาด PIP114.3X3.5 สํ า หรั บ Main member
(Top&Bottom chords) และ PIP42.7X2.3 สําหรับ Web ทั้งหมดทั้งแนวดิ่งและเอียง ดังนี้
ที่หนาตาง Properties (ทางขวามือ) คลิ๊ก Database เลือก Japanese แลว OK

om
l.c
vi
ci
m
.tu

จากนั้นใหคลิ๊ก Pipe แลวคลิ๊กที่ PIP42.7X2.3 > Add และ PIP114.3X3.5 > Add แลว Close
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


12

เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการระบุหนาตัดเหล็กของโครงขอหมุนนี้ จะเริ่มตนกําหนดใหทุกชิ้นสวนเปนขนาดของ
Web กอนแลวจะกําหนดเฉพาะ Top&Bottom chord ภายหลังดังนี้
ตองทําใหตัวชี้เปนแบบคานกอน (ซึ่งเปนอยูแลว) ใหคลิ๊กที่ PIP42.7X2.3 ในหนาตาง Property ทางขวามือ

om
l.c
vi
ci
m
.tu
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


13

หลังจากนั้นใหเลือกทุกชิ้นสวนของโครงขอหมุน แลวคลิ๊กที่ Assign และ Yes จะเห็นสัญลักษณ R1 แทน


PIP42.7X2.3 ดังนี้

om
l.c
vi
ci

จากนั้นจะกําหนด Top&Bottom chord โดยคลิ๊กที่หนาตัด PIP114.3X3.5 ในหนาตาง Property ทาง


m

ขวามือ แลวคลิ๊กเลือกทีละชิ้นสวน (โดยกดปุม Ctrl คางไว) จนครบ


.tu
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


14

แลวคลิ๊กที่ Assign และ Yes จะทําใหที่ Top&Bottom chord เปลี่ยนจาก R1 เปน R2

om
l.c
vi
ci

ลองคลิ๊กที่ PIP42.7X2.3 ในหนาตาง Property ทางขวามือ จะเห็นวา R1 จะแทน Web ทั้งหมดตามที่ตองการ


m
.tu
w
w
w

หมายเหตุ ขณะที่กําลังปอนขอมูล STAAD.Pro อาจเตือนให Save ขอมูลเปนระยะๆ

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


15

จากนั้นจะกําหนดคุณสมบัติของเสา สมมติเปนเสาคอนกรีตขนาด 0.30x0.40 m. โดยจะคลิ๊กเลือกเสาทั้งสองตน


โดยกดปุม Ctrl คางไวแลว คลิ๊ก Define ในหนาตาง Property ทางขวามือ และ คลิ๊กที่ Rectangle ปอนคา
YD = 0.4 m และ ZD = 0.3 m และที่ material เปน Concrete อยูแลวก็คลิ๊ก Assign ได

om
0.30
l.c
vi
0.40
ci
m

หลังจากกําหนดเรียบรอยอาจไดหนาตาดังนี้
.tu
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


16

ถาเราตองการ STAAD.Pro แสดงสัญลักษณอางอิง (Reference) เปน R1-R3 ไดโดยคลิ๊ก View >


Structure Diagrams… > Labels หรือคลิ๊กที่ Icon นี้

om
l.c
vi
ci

แลวเลือก None ที่ Properties แลว OK จะได


m
.tu
w
w
w

จะแลวเสร็จขั้นตอนการกําหนดคุณสมบัติตางๆของโครงสรางทั้งหมด

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


17

ตอไปจะกําหนดให STAAD.Pro รูวาชิ้นสวนใดบางที่เปน Truss member คือรับแรง(ภายใน)ไดเฉพาะใน


แนวแกนเทานั้น ซึ่งจะเปนประโยชนทําใหการคํานวณเร็วขึ้น
โดยคลิ๊กที่ Spec หรือ Specification ที่ Page Control ทางดานขางซาย จากนั้นเลือกชิ้นสวนทั้งหมดของ
โครงขอหมุน แลวคลิ๊กที่ Beam…

om
l.c
vi
ci
m
.tu

แลวคลิ๊กที่ Truss แลว Assign


w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


18

จะได

om
l.c
vi
ci

ตอไปจะเริ่มกําหนดจุดรองรับโดยคลิ๊ก Support ที่ Page Control ตัวชี้จะเปลี่ยนเปนแบบชี้จุดเอง จากนั้นให


เลือกจุดที่โคนเสาทั้งสอง อาจเลือกโดยการคลิ๊กแลวลาก
m
.tu
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


19

จากนั้นใหคลิ๊ก Create แลวเลือก Fixed (ซึ่งเปน Fixed อยูแลว) และคลิ๊ก Assign จะได

om
l.c
vi
ตอไปจะกําหนดน้ําหนักบรรทุกหรือแรงกระทํากับโครงสราง โดยคลิ๊ก Load ใน Page Control จากนั้น
STAAD.Pro จะใหสรางน้ําหนักบรรทุกหลัก (Primary Load Case) กรณีที่หนึ่ง โดยจะกําหนดใหเปน
ci

น้ําหนักบรรทุกคงที่ทั้งหมด (Total Dead Load) โดยกรอกในชอง Title แลวคลิ๊ก OK


m
.tu
w
w
w

หมายเหตุ ที่ Loading Type จะกําหนดเปน Dead ถาตองการให STAAD.Pro กําหนดตัวคูณน้ําหนักบรรทุก


(Load Factor) โดยอัตโนมัติ แตในที่นี้เราจะกําหนดเองจึงปลอยใหเปน None

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


20

จากนั้นคลิ๊ก Selfweight ในหนาตาง Load Specification ทางขาวมือ จะเห็นวา STAAD.pro ได


กําหนดใหน้ําหนักบรรทุกอยูในแกน Y เองโดยอัตโนมัติและกําหนด Factor = −1 คือมีทิศทางลง แลวคลิ๊ก
Assign

om
l.c
vi
ci

จากนั้นกําหนดน้ําหนักคงที่ของแป C150x75x20x3.2 mm. (8.01kg/m) ยาว 8 m (โดยใช SAG ROD)


m

และหลังคา 6.0 kg/m2 ระยะหางของแปในแนวเอียง 1.24 m. ลงที่จุดตอ (Node) ทั้งหมดเทากับ 8.01kg/m x


.tu

8m + 6.0 kg/m2 x (8m x 1.24 m) = 64.08 kg + 59.52 kg = 123.6 kg โดยคลิ๊กที่ Nodal…


w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


21

ตอไปใหกรอกคาน้ําหนักคงที่ของแปและหลังคา −123.6 kg ที่ Fy แลวคลิ๊ก Add (จริงๆแลวที่จุดยอดของหลังคา


ตองปอนคา Fy = −187.68 kg เนื่องจากที่ตําแหนงนี้มีแปอยู 2 ตัว แตถาใชตามนี้ผลคงไมแตกตาง)

om
l.c
vi
ci

จะกําหนดน้ําหนักกระทําที่จุด เราตองเปลี่ยนตัวชี้เปนแบบจุด หลังจากนั้นใหคลิ๊กที่จุดตอทั้งหมดโดยกดปุม Ctrl คาง


m

ไว
.tu
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


22

แลวคลิ๊ก Assign และยืนยัน Yes จะได

om
l.c
vi
ci

ถาตองการใหแสดงคาของน้ําหนักใหคลิ๊ก View > Structure Diagrams… > Labels หรือคลิ๊กที่ Icon นี้
m

แลวที่ Load Value


.tu
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


23

แลว OK

om
l.c
vi
ci

จะเห็นวาน้ําหนักมีหนวยเปน kg ซึ่งเปนหนวยเล็กเมื่อเทียบกับ Metric Ton (=1000 kg) แลวยังแสดงทศนิยม


3 ตําแหนงซึ่งไมจําเปน เราสามารถกําหนดห็ STAAD.Pro แสดงทศนิยมเพียง 1 ตําแหนงโดยคลิ๊ก View >
m

Options… หรือคลิ๊กที่ Icon Change Graphical Display Unit


.tu
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


24

แลวคลิ๊ก Force Units จากนั้นคลิ๊กลดตําแหนงทศนิยมใหเหลือ 1 ตําแหนง แลว OK

om
l.c
vi
ci

นอกจากนี้ ในหนาตาง Options… นี้เรายังสามารถกําหนดให STAAD.Pro แสดงหนวยของ Moment,


m

Shear และอื่นๆพรอมจํานวนทศนิยมเปนอยางอื่นไดอีกดวย
.tu
w
w
w

แลวเสร็จสําหรับน้ําหนักบรรทุกหลักกรณีที่ 1

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


25

ตอไปจะกําหนดน้ําหนักจร (Live Load) 30 kg/m2 เปนน้ําหนักบรรทุกหลักกรณีที่ 2 โดยแปมีระยะหางกัน 1.2


m เพราะฉะนั้นน้ําหนักบรรทุกมีคาเทากับ 30kg/m2 x 1.2m x 8m = 288 kg โดยคลิ๊กที่ New Load…
แลวปอน Live Load ที่ Title คลิ๊ก OK

om
l.c
vi
ci
m

จะเห็นวาจุดสีแดงที่จุดน้ําหนักยังคงอยู ฉะนั้นเราจะกําหนดน้ํากระทําไดทันทีโดยคลิ๊กที่ Nodal… และให Fy =


.tu

−288 kg จากนั้นคลิ๊ก Assign ไดเลยโดยไมตอง Add กอน


w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


26

จะได

om
l.c
vi
ci

จะเห็นวาขนาดของลูกศรน้ําหนักอาจยาวเกินไป เราสามารถปรับใหสั้นลงไดโดยคลิ๊กที่ View > Structure


Diagrams… > Scales หรือคลิ๊กที่ Icon Scale
m
.tu
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


27

จากนั้นคลิ๊กที่ Scales แลวปรับคาของ Point Force ใหมากขึ้นจะเห็นขนาดของน้ําหนักหดสั้นลงทันทีถามี


เครื่องหมายถูกที่ Apply Immediately ในที่นี้จะปรับใหเปน 150 นั่นก็คือถาแรงมีขนาด 150 kg จะเห็นขนาด
ยาว 1 เมตร จากนั้นคลิ๊ก Save As Default เพื่อให STAAD.Pro จําคานี้ไวใชในทุกๆที่ที่ตองแสดงแรงกระทํา
เปนจุด (Point load) แลวคลิ๊ก OK ( ... แตจริงๆแลวไมไดจําคาไวเพราะนี้คือ ... จุดหนึ่ง แตตอน Result Scales และเวอรชันใหมจะจําให)

om
l.c
vi
ci
m

ตําแหนงและแบบอักษรของตัวเลข −288 kg สามารถกําหนดไดโดยคลิ๊ก View > Options… > Load


.tu

Labels เชนกําหนดรูปแบบ การวางแนวในแนวนอนและแนวดิ่งเมื่อเทียบกับตําแหนงลูกศรของแรง


w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


28

ตอไปจะพิจารณาแรงลมที่กระทํากับหลังคาของโครงขอหมุนนี้ซึ่งมีความชัน (slope) 14.06º ซึ่งเราสามารถหาได


จากขอมูลที่มีอยูโดยคลิ๊กที่ Geometry ในแถบเครื่องมือของหนาควบคุม (Page Control Toolbar) ดานซายมือ
แล ว เปลี่ ย นตั ว ชี้ใ ห เ ปน แบบชี้ จุ ดแล ว ไปคลิ๊ก จุ ด บนสุ ด ของโครงข อ หมุน ในตําแหน ง เสาซ ายมื อ จะพบว า ตาราง
Nodes ทางขวามือจะ highlight บอกวาจุดนี้คือจุด 2 มีคาพิกัด (−0.000,6.345) เมตร จากนั้นใหคลิ๊กที่จุดยอด
ของโครงจะไดจุดและพิกัดคือ 11 (11.800,9.050)

om
l.c
vi
ci
m
.tu

   9.050 − 6.345 
ทําใหไดคาความชันจากสูตร m = tan −1  y2 − y1  = tan −1  º
 = 14.06
 x2 − x1   10.800 − (−0.000) 
w

แรงลมตามขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2522 สําหรับความสูงของอาคารไมเกิน 10 เมตร กําหนดใหใชความเร็ว


w

ลม v = 90 กม./ชม.
w

ทําใหเกิดแรงลมดันแบบไดนามิค q = 0.004826v2 = 0.004826(90)2 = 39.1 กก./ตร.ม.


ความชันของหลังคาดานปะทะลม (windward) นอยกวา 20º จะสอนที่มา
จะทําใหเกิดแรงลมดูดหลังคาขึ้น wW = 0.7q = 0.7(39.1) = 27.4 กก./ตร.ม. ภายหลัง
สวนดานหลบลม (leeward) จะเกิดแรงลมดูดหลังคาขึ้นเสมอ wL = 0.7q = 27.4 กก./ตร.ม.
v = 90 kph wW wL
q = 39 ksm
windward leeward

Y
Z X

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


29

แตละจุดตอ (node) มีระยะหางกันตามแนวเอียง 1.24 เมตรและระยะหางของโครงขอหมุนเทากับ 8 เมตร


ฉะนั้นแรงลมกระทําที่แตละจุดตอเทากับ 27.4x1.24x8 = 271.8 kg ตั้งฉากกับหลังคา (ทั้งสองดาน)
ตองแยกสวนประกอบ (component) ของแรงลมดูดออกเปนแกนตามแกน X และ Y ไดเปน wx และ wy ดังนี้
º
wx = 271.8 sin 14.06 = 66.0 kg
º
wy = 271.8 cos 14.06 = 263.7 kg

โดยดานปะทะลม (windward) ดานหลบลม (leeward)


Fx = −66.0 kg Fx = +66.0 kg
Fy = +263.7 kg Fy = +263.7 kg

จะใชคาเหลานี้ทั้งหมด แมวาสวนที่ยื่นออกจากเสาทั้งสองดานจะมีความยาวมากกวา 1.24 เมตรก็ตามเพราะไมทําให


ความถูกตองผิดไป (เพื่อความสะดวกรวดเร็วเชนในกรณีของน้ําหนักจร แตถาจะคํานวณหาคาที่ถูกตองก็ดี) ยกเวนที่
จุดยอดของหลังคาจะมีแต wy= +263.7 kg

om
ตอไปเริ่มทําการกําหนดแรงลมกระทําเองที่จุดตอ โดยเริ่มกลับไปที่เดิม...คลิ๊ก General และตอดวย Load ทางดาน
l.c
ซายมือจากนั้นใหเลือกที่ Create New Primary Load Case และพิมพ Wind Load from Left ที่ Title
แลว OK
vi
ci
m
.tu
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


30

จะเห็นวาในชอง Active Load แสดงใหเห็นวาขณะนี้อยูในขั้นตอนของน้ําหนักบรรทุกหลักกรณีที่ 3 และใน


Load Specification ยังคงวางอยู ตอไปจะกําหนดคาแรงลมดานปะทะลมกอนแลวคอยกําหนดตําแหนงที่แรง
กระทําภายหลัง ดังนี้

om
l.c
vi
ci
m

คลิ๊ก Nodal… พิมพคา −66 ที่ Fx และ 263.7 ที่ Fy แลว Add
.tu
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


31

จะเห็นวาใน Load Specification กําลัง highlight คานี้ เราก็จะกําหนดให STAAD.Pro รูวาคาแรงนี้กระทํา


ที่จุดใดบาง ดังนี้...ตองแนใจวาตัวชี้เปนแบบจุด จากนี้ก็คลิ๊กทุกจุดบนดานปะทะลมโดยกด Ctrl คางไว จากนั้น
Assign แลวยืนยัน Yes จะได

om
l.c
vi
ci
m

ตอไปคลิ๊กที่จุดยอดแลวคลิ๊ก Nodal… พิมพ 263.7 ที่ Fy แลว Assign จะได


.tu
w
w
w

จะเห็นวาแรงและตําแหนงของแรงจะแสดงเฉพาะที่แถบแสง highlight ไวเทานั้น

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


32

(จะเห็นวาการกําหนดมี 2 วิธีคือ กําหนดขนาดกอนแลวคอยกําหนดตําแหนง และ กําหนดจุดกอนคอยกําหนด


ตําแหนงทีหลัง) ตอไปใหคลิ๊กทุกจุดบนดานหลบลมแลวคลิ๊ก Nodal… พิมพ 66 ที่ Fx และ 263.7 ที่ Fy แลว
Assign จะแลวเสร็จน้ําหนักบรรทุกหลักสุดทาย ดังนี้

om
l.c
vi
ci
m

ตอไปจะทําการกําหนดการรวมน้ําหนักบรรทุก (Load Combination) เทาที่สามารถเปนไปได


สําหรับการออกหลังคาแบบยืดหยุน (Elastic design)
.tu

o Load Combination : DL & LL DL + LL


DL & WL 0.75(DL + WL)
w

สําหรับการออกหลังคาแบบพลาสติค (Plastic design)


w

o Load Combination : DL & LL 1.7(DL + LL)


w

DL & WL 1.3(DL + WL)

ในที่นี้เราจะออกแบบโครงหลังคาขอหมุนนี้แบบยืดหยุน ดวยวิธีหนวยแรงที่ยอมให (Allowable Stress


Design) ฉะนั้น
o Load Combination 4 : DL & LL 1.00DL + 1.00LL
o Load Combination 5 : DL & WL 0.75DL + 0.75WL

คา Load Factor

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


33

เริ่มดวยการคลิ๊กที่ New Load… ทางขวามือแลวเลือก New Load Combination (Manual) จะเห็นวา


STAAD.Pro จะนับกรณีของน้ําหนักบรรทุกรวมตอเนื่องจากน้ําหนักบรรทุกหลักที่มีอยูแลว ที่ Title ปอน Dead
and Live Load

om
l.c
vi
ci

แลว OK จะเห็นวา STAAD.Pro จะกําหนด Load Factor เทากับ 1 ไวกอน


m

สําหรับ Load Combination 4 : ทั้ง Dead Load และ Live Load ใชคา Factor = 1 เหมือนกัน ฉะนั้นให
.tu

คลิ๊กเลือกที่ Total Dead Load แลวกด Ctrl คางไวแลวคลิ๊กเลือก Live Load


w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


34

จากนั้นใหคลิ๊ก > เพื่อให STAAD.Pro จําไวและนําไปแสดงไว

om
l.c
vi
ci

จากนั้นจะกําหนดน้ําหนักบรรทุกรวมที่ 5 ตอเลยโดยคลิ๊กที่ New จากนั้นใหพิมพที่ Title : Dead and Wind


Load แลว OK
m
.tu
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


35

ใหพิมพคา Load Factor = 0.75 แลวเลือก Total Dead Load และ Wind Load โดยกด Ctrl คางไว

om
l.c
vi
ci

แลวคลิ๊ก > จะได


m
.tu
w
w
w

แลว OK เปนอันเสร็จขั้นตอนการกําหนดน้ําหนักบรรทุกทั้งหมด

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


36

จะได

om
l.c
vi
ci

ตอไปใหคลิ๊กหัวขอตอไปเรื่อยๆ คลิ๊ก Material จะเห็นวาชิ้นสวนใดบางเปน STEEL หรือ Concrete


m
.tu
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


37

ถาคลิ๊กที่ STEEL จะเห็นทุกชิ้นสวนที่เปน STEEL อยางชัดเจน

om
l.c
vi
ci

ถึงขั้นตอนนี้แสดงวาขอมูลที่ตองกําหนด (Input) ครบสมบูรณแลวตอไปจะกําหนดการวิเคราะหโดยการคลิ๊ก


Analysis/Print จะปรากฏหนาตาง Analysis/Print Commands มีวิธีการวิเคราะหที่ซับซอนเพิ่มขึ้น แต
m

สําหรับขณะนี้ตองการออกแบบโครงหลังคาเทานั้น ตัวเลือก Perform Analysis ที่แสดงอยูตรงตามความตองการ


.tu

แลว ตอไปใหคลิ๊กที่ All เพื่อสั่งการให STAAD.Pro พิมพขอมูลทั้งหมดของ Input data เพื่อตรวจสอบความ


ถูกตอง หรือ ถาไมตองการตรวจสอบก็ใหคลิ๊ก Add ไดเลย
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


38

ถาเลือก All จะเห็นบรรทัดคําสั่งเพิ่มเขามา

om
l.c
vi
ci

ให Close จะได


m
.tu
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


39

ตอจากนี้ STAAD.Pro พรอมที่จะทําการวิเคราะหแลวโดยการคลิ๊ก Analyze แลวคลิ๊กตอจะปรากฏหนาตางเพิ่ม


ใหคลิ๊ก Run Analysis หรือ Enter เพื่อเริ่มวิเคราะห

om
l.c
vi
ci

หลังจากวิเคราะหแลวเสร็จ STAAD.Pro จะถามวาจะอยูตอในโหมดจําลอง (Modeling Mode) โครงสรางตอ


m

หรือไม ถาตองการแกไขหรือตองการออกแบบตอใหคลิ๊ก Done


.tu
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


40

ถาตองการดูผลการวิเคราะหเพื่อตรวจสอบความถูกตองใหเลือก View Output File แลว Done จะได

om
l.c
vi
ci

ในหนาตางทางซายมือจะคอยเตือนหากเกิดความผิดปกติขึ้น (ซึ่งในที่นี้ไมมีปญหา แตเพราะ STAAD.Pro มีความ


ไวในการตรวจสอบ) สวนการตรวจสอบขอมูลและผลการวิเคราะหสามารถใช mouse คลิ๊กแถบเลื่อนดูหรือใช
m

PgUp/PgDn ได นอกจากนี้เรายังสามารถตรวจสอบไดจาก Graphic แตตองปดหนาตาง STAAD Output


.tu

Viewer กอน แลวคลิ๊กที่ Post Processing


w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


41

จะพบหนาตางใหเลือกวาจะแสดงผลของ Load Case ใดบาง และเลือก (Range) อะไรบาง และตัวเลือกการ


แสดงผล (Result View Options) อยางไร โดย STAAD.Pro เบื้องตนจะเลือก Load Case ใหแลวทั้งหมด
ถาไมตองการ Case ไหนใหเลือกแลวคลิ๊ก < แตเราจะเลือกทั้งหมดและอื่นๆตาม Default โดยคลิ๊ก OK

om
l.c
<< หมายถึงไมเลือกทั้งหมด
vi
ci
m

จะไดภาพการเสียรูป (deformation) ของ Load Case 1 ตารางดานขวามือจะแสดงผลการเสียรูปของแตละ


.tu

node แตละชิ้นสวน Beam ของแตละ Load Case


w
w
w

เสนสีเขียวแสดงการเสียรูปของ
Load Case นั้นๆ

คลิ๊กเลือกการเสียรูปของ Load
Case อื่น

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


42

ใหเลือก Load Case 4 : DL + LL แลวตองการดูวาจุด node ใดเกิดการเสียรูปใน Case นี้เทาไร และเกิดเสีย


รูปมากสุดนอยสุดไดโดยเอาตัวชี้(แบบจุด)ไปชี้ที่จุดนั้น คาตางๆจะแสดงใหเห็น ดังนี้

om
l.c
vi
ci
m

ถาตองการดูคาการเสียรูปที่จุดใดแบบละเอียดใหคลิ๊กที่จุดนั้น จะปรากฏคาที่ตารางทางขวามือ
.tu
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


43

ภาพการเสียรูปจะไมชัดเจน สามารถขยายไดโดยคลิ๊ก Results > Scales…

om
l.c
vi
ci

จากนั้นใหปรับคา Scale ของ Displacement ลดลงเรื่อยๆจนเปนที่พอใจ ปกติจะประมาณ 5-10 cm per m


m

แลว OK
.tu
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


44

ลองดูการเสียรูปของ Load Case 5 : 0.75DL + 0.75WL

om
l.c
vi
ci

จะเห็ น ว า กรณี นี้ จ ะเกิ ด การเสี ย รูปน อ ยกว า แต ส ามารถให แ ว น ขยายดู เ พิ่ ม ได อี ก โดยการคลิ๊ ก ที่ Magnigfying
m

Glass แลวตัวชี้จะเปนแบบแวนขยายแลวไปคลิ๊กคางไวแลวลากดูได
.tu
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


45

ถาตองการดู BMD ใหคลิ๊กยกเลิกการเสียรูป แลวคลิ๊กที่ Mz จากนั้นคลิ๊กที่ Beam เพื่อดูผลของชิ้นสวนตางๆและ


เปลี่ยนตัวชี้เปนแบบ Beam แลวคลิ๊กที่เสาตนทางซายมือ ผลจะแสดงในตารางขวามือ (Load case: 4)

om
l.c
vi
ci

จะเห็นวา BMD จะแสดงสําหรับทุกชิ้นสวนในสวนของ truss member คาโมเมนตจะเปนศูนยทั้งหมดเสนสีแดง


m

จึงทับที่เดิมเราสามารถใหแสดงคาของโมเมนตดัดเฉพาะของเสาลงในภาพไดโดยคลิ๊ก Results > View


.tu

Value…
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


46

จากนั้นคลิ๊กที่ Property แลวเลื่อนลงเลือก R3: Rect 0.40x0.30

om
l.c
vi
ci

แลวคลิ๊ก Beam Results เลือก Ends ที่ Bending > Annotate > Close
m
.tu
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


47

จะเห็นคาโมเมนตที่แสดงออกมาที่ปลายชิ้นสวนเฉพาะชิ้นสวนที่เราตองการซึ่งเราเลือกจาก Property โดยไมได


คลิ๊กเลือกทีละชิ้นสวน

om
l.c
vi
ci

แสดง Bending Moment รอบแกน z ของ Load Case 4 พรอมบอกหนวย


m

ถาตองการดูเฉพาะ Graphic ไมเนนคาในตารางใหคลิ๊กขยายจอภาพ


.tu
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


48

หนวยของ Bending Moment Mz ที่แสดงอยูที่มุมลางขวาจะเปนไปตามที่เคยกําหนดไวกอนหนานี้ (เปน


MTon-m) และสามารถเปลี่ยนได โดยคลิ๊กที่ Icon – Change Graphical Display Unit หรือคลิ๊ก View
> Options… > Force Units จะปรากฏหนาตางที่ใหแกไขหนวยและจํานวนทศนิยมที่ตองการใหแสดง

om
l.c
vi
ci
m

ถาคลิ๊กเลือกหนวยของ Moment เปน kg-m และจํานวนทศนิยมเปน 0 แลวคลิ๊ก Apply ก็จะเห็นทันทีวา


.tu

Graphic ที่ไดเปนตามที่ตองการหรือไม หลังจากเสร็จแลวให OK


w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


49

ทางดานซายมือในแถบเครื่องมือของหนาควบคุม (Page Control Toolbar) ตอไปจะเปน Animation ซึ่งจะแสดง


ใหเห็นการไหวตัวของโครงสรางสําหรับ Load Case ปจจุบัน ใหเห็นการเสียรูปไดชัดเจนขึ้นโดยคลิ๊ก
Animation หนาตาง Diagrams จะปรากฏขึ้นใหคลิ๊กเลือก Deflection

om
l.c
vi
ci
m

จากนั้นคลิ๊ก OK จะเห็นภาพการเคลื่อนไหวของการเสียรูป ถาตองการหยุดใหกดปุม Esc


.tu
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


50

ในหนาตาง Diagrams ยังมีจุดที่นาสนใจอีกสามารถเขาไปไดอีกทางโดยคลิ๊ก View > Structure Diagrams


แลวเลือก Structure จะปรากฏหนาตางเกี่ยวกับโครงสรางหลายอยางใหคลิ๊ก Full Sections ใน 3D Sections

om
l.c
vi
ci
m

จากนั้น OK จะเห็นวา STAAD.Pro แสดงหนาตัดจริงของแตละชิ้นสวนออกมา


.tu
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


51

เพื่อใหไดเห็นภาพ 3 มิติใหคลิ๊กที่มุมมอง Isometric View จากนั้นลองขยายภาพใหเห็นหนาตัดของชิ้นสวนเพื่อ


ตรวจสอบความถูกตองหรือเปนการตรวจสอบวาขอมูลที่ปอนตรงตามความตองการหรือไม โดยคลิ๊กที่ Icon –
Zoom Window แลวเอาตัวชี้ไปคลิ๊กคางไวแลวลากเพื่อกําหนดตําแหนงที่ตองการขยายภาพ

om
l.c
vi
ci
m

หลังจากลากแลวปลอยจะเห็นภาพคราวๆ โดยเห็นวาชิ้นสวนโครงขอหมุนเปนทอกลมและหนาตัดของเสาดานยาว
.tu

(0.40 m) อยูในแนวที่ตองการ เพื่อสรางความมั่นคงใหกับโครงสรางโดยรวม


w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


52

ตอไปจะยอนกลับไปกําหนดให STAAD.Pro ทําการออกแบบตรวจสอบวาขนาดหนาตัดที่กําหนดมีความ


ปลอดภัยหรือไม โดยคลิ๊กที่ Icon - Modeling, Display Whole Structure และ View From + Z
จากนั้นคลิ๊กที่ Design จะเห็นวา STAAD.Pro พรอมสําหรับการออกแบบหนาตัดเหล็กและ Code ที่จะใชซึ่ง
กําหนดเปน AISC ASD ตรงตามตองการฉะนั้นไมตองเปลี่ยน

om
l.c
vi
ci
m

ตอไปตองกําหนดกอนวาจะให STAAD.Pro ออกแบบตรวจสอบสําหรับ Load Case ใดบาง ซึ่งในที่นี้คือกรณี


.tu

ที่ 4 และ 5 โดยเอาตัวชี้ไปคลิ๊กขวาที่คําสั่ง FINISH แลวคลิ๊กเลือก Insert Command Before


w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


53

จากนั้นพิมพ Load list 4 5 ในหนาตางที่ปรากฏแลว OK

om
l.c
vi
จะเห็นวาคําสั่ง Load list 4 5 เพิ่มเขาไปในหนาตาง Steel Design เรียบรอยแลว ตอไปพิจารณาหนาตัดที่ใชคือ
ci

หนาตัดเหล็กกลมกลวงที่กําหนดตามมาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก. ๑๐๗-๒๕๑๗)


m

เกรด HS41 fy = 2400 ksc.


เกรด HS50 fy = 3200 ksc.
.tu

เกรด HS51 fy = 3600 ksc.


w

กอนที่จะปอนขอมูลที่ใชในการออกแบบควรเปลี่ยนหนวยที่ปจจุบันเปน kg และ m ใหเปน kg และ cm กอนโดย


w

คลิ๊กที่ Icon – Input Units หลังจากเปลี่ยนเรียบรอยแลว ตอไปเริ่มโดย(ในที่นี้)จะกําหนดใหใชทอกลมกลวงเกรด


w

HS41 fy = 2400 ksc. โดยคลิ๊ก Define Parameters

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


54

จะปรากฏหนาตาง Design Parameters ใหปอนคา 2400 ที่ Yield strength of steel อยาลืมดูหนวยดวยวา
เปน kg/cm2 ตอไปคลิ๊ก Add และ Close

om
l.c
vi
ci

จะเห็นวาในหนาตาง Steel Design มีคําสั่ง FYLD 2400 แตมีสัญลักษณ ? อยูขางหนาแสดงเปนการเตือนวายัง


m

ไมมีการกําหนดวาชิ้นสวนใดบางที่ใชคานี้
.tu
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


55

จะเริ่มกําหนด คลิ๊กแลวลากเพื่อเลือกทุกชิ้นสวนของโครงขอหมุนแลวคลิ๊กที่คําสั่ง ? FYLD 2400 แลว Assign


และ Yes

om
l.c
vi
ci
m
.tu

จะได
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


56

หลังจากนั้นใหคลิ๊กที่ Commands… แลวหนาตาง Design Commands จะปรากฏขึ้นใหเลือก Check


Code (ซึ่งปกติจะขึ้นมา) และคลิ๊ก Assign (ถาชิ้นสวนของโครงขอหมุนทั้งหมดที่ตองการ Check Code ถูก
เลือกไวแลว) หรือคลิ๊ก Add (ถาชิ้นสวนของโครงขอหมุนยังไมไดเลือกไว เพื่อกําหนดทีหลัง) ในที่นี้คลิ๊ก Assign

om
l.c
vi
ci
m

แลว Close จะเห็นวาคําสั่ง CHECK CODE เพิ่มเขาไปในหนาตาง Steel Design เรียบรอยแลว


.tu
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


57

ถึงจุดนี้ถือวาจบขั้นตอนปอนขอมูลสําหรับการวิเคราะหและออกแบบขั้นแรก ตอไปสั่งให STAAD.Pro ทํางาน


โดยคลิ๊ก Analyze > Run Analysis หลังจากคํานวณเสร็จแลวเลือก View Output File และ Done
หนาตาง STAAD Output Viewer จะแสดงใหเห็นผลซึ่งเก็บไวในไฟล Truss T1.anl ดังนี้และใหคลิ๊กที่
**WARNING บรรทัดแรก จะปรากฏสิ่งที่เตือนคือที่ JOINT 1 2 และ 22 เกิดผิดพลาดแตจริงๆแลว
STAAD.Pro นาจะมีความไวในการเตือนมากกวา ซึ่งไดตรวจสอบแลวจากการเสียรูปของโครงสรางที่ Joint
ดังกลาวไมปรากฏสิ่งผิดปกติ (หนา 41-44) ฉะนั้นคําเตือนบรรทัดแรกถือวาผาน

om
l.c
vi
ci
m
.tu

ตอไปใหเอาตัวชี้ไปที่คําเตือนบรรทัดที่ละบรรทัด(ไมตองคลิ๊ก) จะแสดงวาใหเห็นวามีความไมปลอดภัยที่ชิ้นสวน 56
w

58 60 62 64 และ 66 ซึ่งแสดงดวย * อยูดานหนา


w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


58

สามารถดูผลการตรวจสอบไดงายๆจาก Graphic โดยใหปดหนาตาง STAAD Output Viewer แลวคลิ๊กที่


Icon - Post Pocessing ถาหนาตาง Results Setup ขึ้นมาใหคลิ๊ก OK แลวคลิ๊กที่ Beam (ตัวชี้จะกลายเปน
Beams Cursor) จากนั้นคลิ๊กปด Icon - Mz และคลิ๊กดูผลที่ Result > Utilization Ratio…

om
l.c
vi
ci
m

จะแสดงคาอัตราสวน (ratio) ของแรงภายในและแรงปลอดภัยของแตละชิ้นสวนสําหรับกรณีที่วิกฤติที่สุดตาม


Load list ที่กําหนด คา ratio ของชิ้นสวนใดมีคามากกวา 1 แสดงวาชิ้นสวนนั้นไมมีความปลอดภัยและชิ้นสวน
.tu

นั้นจะแสดงเปนสีแดง ตามภาพขางลางนี้จะเห็นวาขนาดหนาตัดที่กําหนดสําหรับ Main member มีความปลอดภัย


ทั้งหมดและมีคา ratio สูงสุดเทากับ 0.838 ถาเอาตัวชี้ (Beams Cursor) ไปชี้ที่ชิ้นสวนนั้นจะทราบวาเปน
w

ชิ้นสวนที่ 7 และ 14 แตคา ratio = 0.838 มีคานอยกวา 1 มากเกินไป ฉะนั้นขนาดหนาตัดของ Main member
w

ควรปรับใหเล็กลงอีก สวนขนาดหนาตัดของ Web member มีคา ratio สูงสุดเทากับ 1.77 ที่ชิ้นสวนที่ 60 และ
w

62 แสดงวาหนาตัดเล็กมากเกินไปตองเลือกหนาตัดใหใหญขึ้นอีก

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


59

ที่หนาตางหลักนี้หากตองการใหชิ้นสวนใดแสดงรายละเอียดออกมาสามารถทําไดโดยคลิ๊กที่ชิ้นสวนนั้น เชนคลิ๊กที่
ชิ้นสวนที่ 7 และคลิ๊กขวาแลวเลือก Properties…

om
l.c
vi
ci

หนาตางของชิ้นสวนนี้จะแสดงออกมา ถาตองการดูผลการออกแบบใหคลิ๊ก Steel Design จะเห็นผลการคํานวณ


m

อยางละเอียดและจะทราบวาชิ้นสวนนี้วิกฤติที่ Load case 4 มีคาแรงตามแนวแกน Fx = 11723.4 kg, KL/R


= 31.57 และ Ratio = 0.7251 โดยคุณสมบัติของหนาตัดใช Fy = 235.35 N/mm2 ความยาวของชิ้นสวน
.tu

123.708 cm สามารถรับหนวยแรงดึงได 141.21 N/mm2 และรับหนวยแรงอัดได 130.17 N/mm2


w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


60

ใหปดหนาตางรายละเอียดของชิ้นสวนที่ 7 โดยคลิ๊ก Close นอกจากนี้ที่หนาตางหลักในสวนควบคุม (Page


Control) ทางซายมือยังมีอะไรที่นาสนใจอีก ลองคลิ๊กที่ Graphs และเลือก Load case ที่ 4 จะเห็นตารางทาง
ขวามือที่แสดง BMD SFD และ AFD ของชิ้นสวนที่ 7 ซึ่งไดเลือกไวกอนหนานี้ สําหรับคาแรงเฉือนใน SFD
ควรมีคาเปนศูนย (เพราะชิ้นสวนนี้เปน Truss member จะมีเฉพาะแรงตามแนวแกนเทานั้น) แตเนื่องจากการปด
เศษในการคํานวณและคาที่เกิดมีคานอยมากเมื่อเทียบกับแรงตามแนวแกน (0.042%) ถือวาปกติ

om
l.c
vi
ci
m
.tu

สําหรับผลการคํานวณของ STAAD.Pro สามารถเรียกดูไดโดยคลิ๊กที่ Icon - STAAD Output หรืออาจเปด


w

ไฟลผล Truss T1.anl ไดดวยซอฟแวร editor ทั่วไปเชน Notepad หรือ Microsoft Word และอื่นๆ
w

นอกจากไฟล Output แลว ไฟลขอมูลที่ STAAD.Pro เก็บขอมูลตางๆที่ไดปอนเขาไปจะอยูในไฟล Truss


w

T1.std ซึ่งสามารถเปดไดดวย Icon - STAAD Editor หรือเปดดวยซอฟแวร editor ทั่วไปเชนกัน

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


61

ที่ผานมาใชคําสั่ง CHECK CODE เพื่อวิเคราะหวาขนาดหนาตัดที่กําหนดเบื้องตนปลอดภัยหรือไม ตอไปจะสั่ง


ให STAAD.Pro (ออกแบบ)เลือกหนาตัดที่เหมาะสมใหโดยตองบอก STAAD.Pro วาชิ้นสวนใดบางใหใชหนา
ตัดเดียวกัน โดยกลับไปเริ่มที่โหมดการจําลองคลิ๊กที่ Modeling > Design > Commands… จากนั้นใหเลือก
Select Optimized และ Add เพื่อให STAAD.Pro เลือกหนาตัดที่เหมาะสมใหโดย STAAD.Pro จะทํา
การวิเคราะหและออกแบบใหมซ้ําๆจนกระทั่งน้ําหนักรวมของทั้งโครงขอหมุนนอยที่สุด

om
l.c
vi
ci
m
.tu

ตอไปเลือก Fixed Group และ Add


w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


62

แลวเลือก Group คลิ๊กที่ Property Specification เลือก Ax แลว Add 2 ครั้งแลว Close

om
l.c
vi
ci

จะเห็นวามี ? GROUP AX MEMB ขึ้นมา 2 ครั้งซึ่งจะใชกําหนดกลุมของชิ้นสวนทั้งสองกลุมหนาตัดโดย


m

STAAD.Pro จะทําตามที่สั่งใหแตละกลุมมีขนาดหนาตัด AX เทากัน (ถาเปนการออกแบบหนาตัดคานเหล็กจะใช


.tu

SZ แทน AX)
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


63

ใหคลิ๊กที่ Icon - Property Page จะปรากฏหนาตาง Properties ขึ้นแลวคลิ๊กที่ PIP42.7X2.3 จะเห็นสีแดง


ขึ้นที่ชิ้นสวนที่ใชหนาตัดนี้แลวคลิ๊กที่แถบบนของหนาตางหลักแลวคลิ๊กที่ ? GROUP AX MEMB บรรทัดแรก
จากนั้นคลิ๊ก Assign แลวยืนยัน Yes

om
l.c
vi
ci
m

ตอไปทําแบบเดียวกันกับหนาตัด PIP114.3X3.5 และ? GROUP AX MEMB บรรทัดที่สองจะได แลวปด


.tu

หนาตาง Properties โดยคลิ๊ก Close


w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


64

เรียบรอย ตอไปให STAAD.Pro คํานวณใหมอีกครั้งหนึ่งโดยคลิ๊ก Analyze แลวคลิ๊กตอจะปรากฏหนาตางเพิ่ม


ใหคลิ๊ก Run Analysis หรือ Enter จะปรากฏหนาตางเพื่อเตือนวา STAAD.Pro จะคํานวณใหมผลของหนา
ตัดใหมที่ไดอาจไมเหมือนเดิม ให Yes

om
l.c
vi
ci
m

หลังจากคํานวณซ้ําหลายรอบแลวเสร็จใหเลือก Go to Post Processing Mode และ Done เพื่อดูผลและคลิ๊ก


Beam และ Utility Check แลวคลิ๊กขยายจอภาพ และอาจใชปุมกลางของ mouse เพื่อเลื่อนใหภาพใหญขึ้น จะ
.tu

เห็นวาทุกชิ้นสวนไมมีสีแดงปรากฏแสดงวาปลอดภัยทั้งหมดแลว และหนาตัดที่ไดนาจะประหยัดดวยเพราะคา
Ratio ของ Main member และ Web เขาใกล 1
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


65

ใหไปดูผลการคํานวณที่แสดงอยูในไฟล Truss T1.anl โดยคลิ๊กที Icon - STAAD Output แลวคลิ๊กที่คํา


เตือนบรรทัดสุดทายซึ่งเตือนวาในการคํานวณครั้งสุดทายมีการเปลี่ยนขนาดหนาตัด และแนะนําใหทําการเปลี่ยนหนา
ตัดเดิมใหเปนหนาตัดใหมตามที่ STAAD.Pro เลือกใหแลวคํานวณใหมโดยยกเลิกคําสั่ง GROUP และ/หรือ
SELECT

om
l.c
vi
ci
m
.tu

ปดหนาตาง STAAD.Pro จากนั้นคลิ๊กที่ Icon - STAAD Editor แลวเลื่อนแถบดานขางลงไปจนกระทั่งเห็น


บรรทัด MEMBER PROPERTIES จากนั้นใหพิมพ PIP101.6X3.2 แทน PIP114.3X3.5 และ
w

PIP48.6X2.8 แทน PIP42.7X2.3


w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


66

หลังจากนั้นใหเลื่อนแถบดานขางลงไปจนสุด แลวพิมพเครื่องหมายดอกจันที่ดานหนาของบรรทัดที่เกี่ยวของคําสั่ง
GROUP และ SELECT ทั้งหมด เพื่อยกเลิกบรรทัดคําสั่งเหลานี้ทําใหเปนบรรทัดหมายเหตุ แลวบันทึกและปด
หนาตาง

om
l.c
vi
สั่งให Run แลวเสร็จใหเลือก Go to Post Processing Mode และ Done เพื่อดูผลและคลิ๊ก Beam และ
ci

Utility Check จะเห็นวาที่ Top chord ยังคงมีชิ้นสวนที่คา Ratio > 1.00 ฉะนั้นควรกําหนดให Main
ใหญขึ้นอีกหนึ่งเบอร(เสมอ หลังจาก STAAD.Pro เลือกขนาดหนาตัดดวยคําสั่ง Select
m

member
Optimized) และเพื่อเปนการชดเชยกับน้ําหนักคงที่ของโครงขอหมุนที่ตองใชยึดดานขาง (bracing) ของ Truss
.tu

T1 นี้ซึ่งยังไมไดกําหนด (สวนนี้มีรายละเอียดที่สําคัญอีกมากซึ่งจะกลาวเพิ่มเติมในหองเรียน)
w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


67

นอกจากนี้ที่หนาตาง Design Commands ยังมีคําสั่งที่นาสนใจ ใหกลับไปที่ Modeling และ Design แลว


คลิ๊กเขาไปที่ Commands… แลวคลิ๊ก Take off เพื่อสั่งให STAAD.Pro ถอดจํานวนวัสดุที่ใช ตอไปใหลอง
คลิ๊ก Add แลว Close

om
l.c
vi
ci
m

จะเห็นวาในหนาตาง Design Commands จะปรากฏ ? STEEL TAKE OFF ขึ้น ใหเลือกชิ้นสวนโครงขอ


หมุนทั้งหมด(จะแสดงสีแดง) แลวคลิ๊กที่ ? STEEL TAKE OFF แลวคลิ๊ก Assign เพื่อกําหนดใหถอดจํานวน
.tu

แลวยืนยัน Yes และ Close


w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


68

หลังจากเปลี่ยนหนาตัดจาก PIP101.6X3.2 เปน PIP101.6X4.0 สวน Web มีคา Ratio = 0.983 ควร
เปลี่ยน PIP48.6X2.8 เปน PIP48.6X3.2 แลวสั่งให Run แลวเสร็จใหเลือก Go to Post Processing
Mode และ Done เพื่อดูผลและคลิ๊ก Beam และ Utility Check จะเห็นวาที่ Top chord และ Web มีคา
Ratio มากที่สุดมีคาเทากับ 0.862 และ 0.914 ตามลําดับ

om
l.c
vi
ci
m
.tu

ดูผลของการวิเคราะหและออกแบบ พรอมกับปริมาณวัสดุที่ใชตอโครงขอหมุน Truss T1 หนึ่งโครงดังนี้


w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


69

หมายเหตุ
ไฟลขอมูล Truss T1.std นี้สามารถเขียนขึ้นมาเองหรือแกไขได โดยดูรูปแบบการเขียนไดจาก Help ของ
STAAD.Pro โดยกดปุม F1 หรือคลิ๊ก Help > Contents… และสามารถลงรายละเอียดในแตละบรรทัดคําสั่ง
ในไฟลขอมูลได โดยคลิ๊กที่ Technical Reference

om
l.c
vi
ci
m

> Commands and Input Instructions และลองคลิ๊กที่ Joint Coordinate Specification จะเห็นคําสั่ง
.tu

เกี่ยวกับการกําหนดตําแหนงของจุด และใหดูเปรียบเทียบกับขอมูลในไฟล เปนตน


w
w
w

การใชงาน STAAD.Pro 2004 เบื้องตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

You might also like