You are on page 1of 12

การสอนเขียน

Writing
ความหมายของการเขียน
• การเขียน ตามความหมายที่แท้จริ ง ได้แก่ การที่นกั เรี ยนสามารถถ่ายทอดความคิด
ของตนออกมาเป็ นภาษาเขียน และเขียนได้ถูกต้องทั้งในด้านกลไก (ได้แก่
ส่ วนสัดของตัวอักษร การสะกดตัว การใช้เครื่ องหมายวรรคตอน แบบแผน )
การใช้คำศัพท์ แบบสร้างตามภาษานิยมของเจ้าของภาษา
• ในการสอนเขียนภาษาอังกฤษของนักเรี ยนไทย จุดมุ่งหมายของเราน่าจะเป็ น
เพียง ให้นกั เรี ยนสามารถเลียนแบบเจ้าของภาษา เราไม่หวังให้นกั เรี ยนมีความ
สามารถถึงขนาดที่เรี ยกว่า สร้างสรรค์สำนวนใหม่ ๆ ขึ้นมา เหมือนที่เราสร้างคำ
ใหม่ หรื อสำนวนใหม่ในภาษาไทยของเราเอง
การสอนทักษะการเขียน
• 1. การเขียนแบบควบคุม (Controlled writing) เป็ น
กิจกรรมในการสอนทักษะการเขียน ที่ผสู้ อนให้เนื้ อหาและรู ปแบบ
ภาษาสำหรับผูเ้ รี ยนใช้ในการเขียน เช่น รู ปแบบประโยคที่ตอ้ งใช้
ตัวอย่างย่อหน้าสำหรับเลียนแบบ หรื อข้อความสำหรับเติมให้สมบูรณ์
กิจกรรมการเขียนแบบควบคุมอาจเป็ นข้อความให้ผเู้ รี ยนลอกข้อความ
โดยเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบบางอย่าง เช่น เปลี่ยนคำเอกพจน์เป็ น
พหูพจน์
2. การเขียนแบบมีการชี้แนะ (guided writing หรื อ
composition) เป็ นกิจกรรมเพื่อฝึ กทักษะการเขียน ที่
พัฒนามาจากการเขียนแบบควบคุม โดยผูส้ อนให้เนื้ อหาและ
รู ปแบบภาษาเพียงบางส่ วน สำหรับผูเ้ รี ยนใช้ในการเขียน ผู้
สอนอาจจะให้ประโยคเริ่ มต้น ประโยคสุ ดท้าย คำถาม หรื อ
ข้อมูลที่จำเป็ นสำหรับการเขียน กิจกรรมการเขียนแบบชี้แนะ
นี้ อาจจะใช้ขอ้ ความจากสื่ อเช่น ภาพหรื อการ์ตูน เอกสาร
แผ่นพับเกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยว โฆษณาจากหนังสื อพิมพ์
เป็ นต้น
3. การฝึ กทักษะการเขียนในลักษณะของการเขียน
แบบเสรี ( free composition)
เป็ นกิจกรรมเพื่อฝึ กทักษะการเขียน ที่พฒั นามาจากการเขียนแบบ
ควบคุม โดยผูส้ อนให้เนื้ อหาและรู ปแบบภาษาเพียงบางส่ วน
สำหรับผูเ้ รี ยนใช้ในการเขียน ผูส้ อนอาจจะให้ประโยคเริ ่ มต้น
ประโยคสุ ดท้าย คำถาม หรื อข้อมูลที่จำเป็ นสำหรับการเขียน
กิจกรรมการเขียนแบบชี้แนะนี้ อาจจะใช้ขอ้ ความจากสื่ อเช่น ภาพ
หรื อการ์ตูน เอกสารแผ่นพับเกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยว โฆษณาจาก
หนังสื อพิมพ์ เป็ นต้น
ข้ อเสนอแนะสำหรับครู
• แบบฝึ กหัดเขียนนั้นให้ทำในห้องเรี ยนน้อยที่สุด ควรจะให้ทำเป็ นการ
บ้าน เวลาส่ วนใหญ่น่าจะใช้เป็ นการฝึ ก ฟัง และอ่านที่ครู จะต้องควบคุม
อย่างใกล้ชิด
• การสอนตามคำบอกมีประโยชน์มาก จะต้องทำในห้องเรี ยนเช่นเดียวกับ
แบบฝึ กหัดเขียน ซึ่ งเป็ นส่ วนของการฝึ กความเข้าใจในการฟัง
• แบบฝึ กหัดเขียนต้องสัมพันธ์กบั เนื้อหาที่เรี ยนมาแล้วในแต่ละหน่วย เพื่อ
เสริ มความแม่นยำให้กบั ทักษะ พูด อ่าน และเขียน
กิจกรรมการสอนทักษะการเขียน
• กิจกรรมก่ อนการเขียน เป็ นการให้ความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับกลไก
ทางการเขียนในเรื่ อง ต่างๆ เช่น การสะกดคำ การใช้เครื่ องหมายวรรค
ตอน การใช้กาล (Tense) และศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อที่จะ
เขียน
• กิจกรรมระหว่ างการเขียน เป็ นกิจกรรมที่ผสู้ อนนำมาใช้ในการฝึ ก
ทักษะการเขียน เช่น นำภาพประกอบมาให้นกั เรี ยนเขียนเรื่ องจากภาพ
นำเทปบทสนทนามาเปิ ดให้นกั เรี ยนฟัง แล้วให้นกั เรี ยนเขียนเป็ นเรื่ อง
เล่า หรื อสรุ ปเรื่ องที่ได้ยนิ
กิจกรรมหลังการเขียน

• เมื่อผูเ้ รี ยนเขียนเสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว อาจนำมาอ่านในชั้น


เรี ยนผูใ้ ห้เพื่อนร่ วมชั้นฟัง ตลอดจนนำมาแสดงความคิด
เห็นและวิจารณ์วา่ ข้อเขียนนั้นดีถูกต้องในการสื่ อความ
มากน้อยเพียงไรและการใช้ภาษาถูกต้องเหมาะสมหรื อไม่
และมีขอ้ ที่ตอ้ งปรับปรุ งแก้ไขเพิม่ เติมอย่างไรบ้าง
การตรวจงานเขียน
• 1. การให้ ระดับคะแนน A, B, C หรื อ /7, /8 ,…/10 การให้คะแนน
แบบนี้เป็ นการประเมินการเขียนโดยรวม มิใช่ดูเฉพาะความถูกต้องทางไวยากรณ์
เป็ นเกณฑ์ แต่ยงั ต้องดูวา่ นักเรี ยนสามารถใช้ภาษาสื่ อความคิดได้ชดั เจนหรื อไม่
และพัฒนาความคิดและเรื่ องราวที่เขียนดี เหมาะสมมากน้อยเพียงไร
• 2. การแสดงความคิดเห็นต่ อการเขียน good, fair, needs
improvement, careless ผูส้ อนพึงตระหนักว่าการแสดงความคิด
เห็นต่องานเขียนของนักเรี ยน เป็ นการชี้ให้ผเู ้ รี ยนเห็นทั้งจุดเด่นและข้อด้อย ผูส้ อน
ควรกล่าวชมสิ่ งที่นกั เรี ยนเขียนดีแล้ว และค่อยชี้ให้เห็นจุดที่ยงั บกพร่ องให้คำ
แนะนำที่เป็ นประโยชน์ต่อการปรับปรุ งแก้ไข
3. การตรวจแก้ ไขทีผ่ ดิ
• ที่ผดิ ซึ่ งนักเรี ยนเขียนมานั้น ผูเ้ รี ยนควรวิเคราะห์ดว้ ยว่ามาจากสาเหตุใด
ผิดเพราะนักเรี ยนไม่รู้จึงใช้ผดิ เขียนผิดหรื อผิดเพราะความสะเพร่ า
การตรวจแก้ ไขทีผ่ ดิ สามารถทำได้ ด้วยวิธีต่าง ๆ เช่ น
• การตรวจแก้ ไขทีผ่ ดิ ทั้งหมด ผูส้ อนต้องใช้เวลามากในการตรวจงาน
วิธีน้ ีทำให้นกั เรี ยนไม่ได้ฝึกคิดด้วยตนเองว่าที่เขียนไปนั้นผิดอย่างไร
• การตรวจแก้ ไขทีผ่ ดิ เฉพาะบางส่ วน ครู ผสู้ อนอาจแก้ไขเฉพาะจุดที่
เห็นว่าสำคัญ นักเรี ยนควรให้ความสนใจในข้อบกพร่ องนั้นให้มาก
เช่น เรื่ อง Tense , Subject Verb Agreement
• การชี้ให้ นักเรียนเห็นทีผ่ ดิ วิธีน้ ีอาจทำได้โดยขีดเส้นใต้หรื อวงกลม
ล้อมที่ผดิ โดยมีการตกลงเรื่ องเครื่ องหมายในการใช้สญ ั ลักษณ์ต่าง ๆ
กับนักเรี ยน เช่น sp = spelling error , ss = error i
n sentence structure เป็ นต้น
• ครู อาจยกกรณีทนี่ ักเรียนทำผิดกันมาก หรื อผิดซ้ำๆ มายกตัวอย่างขึ้น
กระดานดำ แก้ไขให้ถูกต้องในชั้นเรี ยน โดยให้นกั เรี ยนทุกคนได้มี
ส่ วนร่ วมออกความเห็นในการแก้ไขที่ผดิ ให้ถูกต้อง

You might also like