You are on page 1of 7

AI Press Release: Thailand: Military must halt

reckless use of lethal force

แอมเนสตีอ
้ ินเตอร์เนชันแนล

แถลงการณ์

17 พฤษภาคม 2553

ประเทศไทย: ทหารต้อง หยุดการใช้กำาลังอาวุธปราบปรามอย่างเกิน


ขอบเขต

ทหารไทยจะต้องยุติการยิงกระสุนจริงเข้าใส่กลุ่มผ้้ชุมนุมประท้วง
รัฐบาลซึง่ รวมตัวในหลายพืน
้ ทีเ่ ป็ นวงกว้างในกรุงเทพฯ แอมเนสตีอ
้ ินเตอร์เน
ชันแนลกล่าวในวันนี ้

“จากปากคำาของพยานผ้้เห็นเหตุการณ์ และวิดีโอปรากฏชัดเจนว่า
ทหารใช้กระสุนปื นจริงยิงเข้าใส่ประชาชน ซึง่ ไม่มีอาวุธและไม่เป็ นภัยคุกคาม
อย่างใดต่อทหารหรือผ้้อืน
่ ” Benjamin Zawacki ผ้้เชีย
่ วชาญด้านประเทศไทยของ
แอมเนสตีอ
้ ินเตอร์เนชันแนลกล่าว “สิง่ นีเ้ ป็ นการละเมิดอย่างรุนแรงต่อสิทธิ
มนุษยชนซึง่ สำาคัญ สุด นัน
่ คือสิทธิทีจ
่ ะมีชีวิต”

“การจงใจใช้กระสุนปื นจริงยิงเข้าใส่ป ระชาชนผ้้ไม่มีอาวุธ ไม่ว่าจะเป็ น


ผ้้ประท้วงหรือบุคคลใด ๆ ก็ตาม ทัง้ ๆ ทีไ่ ม่ได้แสดงท่าทีเป็ นภัยคุกคามต่อผ้้
ใด เป็ นสิง่ ทีไ่ ม่ชอบด้วยกฎหมาย” Benjamin Zawacki กล่าว
นับแต่วันที ่ 13 พฤษภาคม เมือ
่ รัฐบาลเริม
่ ปฏิบัติการปิ ดล้อมราช
ประสงค์ ทหารใช้กระสุนยางและกระสุนจริงยิงภายในและโดยรอบพืน
้ ที ่
ประท้วง หลายพืน
้ ทีข
่ องกรุงเทพฯ รัฐบาลอ้างว่ามี “ผ้้กอ
่ การร้าย” ประมาณ
500 คนแฝงตัวอย่้ในบรรดาผ้้ประท้วง

มีผ้ประท้วงซึง่ ไม่มีอาวุธถ้กสังหารอย่างน้อย 35 คน รวมทัง้ เจ้าหน้าที ่


หน่วยก้้ภัยและพยาบาลสองคนซึง่ สวมชุดของแพทย์ ฉุกเฉินสีขาวติดตรา
กาชาดสีแดงอย่างเห็นได้ชัด ซึง่ ถ้กยิงในวันที ่ 15 และ 16 พฤษภาคม และมีเด็ก
ชายอายุ 17 ปี ถ้กยิงในวันที ่ 15 พฤษภาคม พลตรีขัตติยะ สวัสดิผล (หรือเสธฯ
แดง) ทหารซึง่ เป็ นทีป
่ รึกษาของผ้้ชุมนุมประท้วงถ้กลอบยิงเมือ
่ วันที ่ 14
พฤษภาคม และเสียชีวิตเมือ
่ วันที ่ 17 พฤษภาคม เป็ นนายทหารอีกคนหนึง่ ทีถ
่ ้ก
สังหาร

มีผ้ได้รับบาดเจ็บกว่า 200 คน รวมทัง้ ผ้้สือ


่ ข่าวไทยและต่างประเทศ และ
เด็กผ้้ชายอายุ 10 ขวบ

“รัฐบาลไม่อาจปล่อยให้ทหารไล่ยิงใคร ก็ตามในพืน
้ ทีใ่ ดพืน
้ ทีห
่ นึง่ ที ่
ต้องการเข้าควบคุม” Benjamin Zawacki กล่าว

ตามกฎการใช้กำาลังทีศ
่ ้นย์อำานวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.)
ซึง่ เป็ นของรัฐบาลอธิบายเมือ
่ วันที ่ 14 พฤษภาคม ระบุว่า การใช้กระสุนจริง
อาจกระทำาได้กรณีทีเ่ ป็ นการยิง เตือนขึน
้ ไปบนฟ้า เพือ
่ ป้ องกันตัว และเมือ
่ เจ้า
หน้าทีเ่ ห็นได้ชัดเจนว่าฝ่ ายตรงข้ามเป็ นบุคคลทีถ
่ ือ ได้ว่าเป็ น “ผ้้ก่อการร้าย”
ในวันที ่ 16 พฤษภาคม ศอฉ.มีคำาสัง่ ประกาศหลายพืน
้ ทีใ่ กล้เคียงกับพืน
้ ที ่
ประท้วงให้เป็ น “พืน
้ ทีใ่ ช้กระสุนจริง”
พยานผ้้เห็นเหตุการณ์หลายคนบอกกับแอมเนสตีอ
้ ินเตอร์เน ชันแนลว่า
พวกเขาเห็นทหารยิงเข้าไปในพืน
้ ทีโ่ ดยใช้ปืนยิงระยะไกล ซึง่ เป็ นระยะทีผ
่ ้ทีต
่ ก
เป็ นเป้ าหมายไม่น่าจะสามารถก่อให้เกิดอันตราย ใด ๆ ได้

พันเอกสรรเสริญ แก้วกำาเนิด โฆษกศอฉ.กล่าวในวันที ่ 14 พฤษภาคม


ว่า ทหารพยายามรักษาระยะห่างจากผ้้ประท้วง และจะใช้กระสุนจริงเพือ
่ หยุด
ยัง้ ไม่ให้ใครเข้ามาใกล้ และเมือ
่ มีการยิงผ้้หยุดผ้้ประท้วง ทหารจะเล็งยิง
บริเวณใต้หัวเข่า และจะยิงทีละนัด

“การปฏิบัติเช่นนีไ้ ม่อาจยอมรับได้ ตามกฎหมายและมาตรฐานระหว่าง


ประเทศ ซึง่ กำาหนดให้ใช้อาวุธปื นได้เป็ นวิถีทางสุดท้าย ในกรณีทีผ
่ ้ต้องสงสัย
ว่ากระทำาผิดตอบโต้ด้วยอาวุธ หรือพยายามทำาร้ายชีวิตผ้้อืน
่ และในกรณีที ่
มาตรการรุนแรงอย่างอืน
่ ไม่เพียงพอทีจ
่ ะควบคุมหรือสยบ ตัวผ้้ต้องสงสัยว่า
กระทำาผิด นอกเหนือจากสถานการณ์ทีเ่ ป็ นการป้ องกันตัวอย่างชัดเจนแล้ว
การควบคุมจลาจลควรเป็ นหน้าทีข
่ องเจ้าหน้าทีต
่ ำารวจซึง่ ได้รับการ ฝึ กฝนให้
ใช้อุปกรณ์ทีไ่ ม่เป็ นอันตรายต่อชีวิต ไม่ใช่เป็ นหน้าทีข
่ องทหารซึง่ ใช้กระสุน
จริง” Benjamin Zawacki กล่าว

ข้อมูลพื้นฐาน

กลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จ การแห่งชาติ (นปช.) หรือที ่


เรียกกันทัว
่ ไปว่า “เสือ
้ แดง” เนือ
่ งจากสีของเสือ
้ ทีส
่ วมใส่ เริม
่ การประท้วงที ่
กรุงเทพฯ เมือ
่ วันที ่ 12 มีนาคม

สมาชิกจำานวนหนึง่ เป็ นพันธมิตรกับนายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายก


รัฐมนตรีไทย ซึง่ ถ้กขับออกจากตำาแหน่งเนือ
่ งจากการทำารัฐประหารเมือ
่ ปี
2549 และอย่้ระหว่างการลีภ
้ ัยโดยสมัครใจ พวกเขาเรียกร้องให้มีประชาธิปไต
ยทีด
่ ีขึน
้ และทีผ
่ ่านมาได้กดดันให้มีการยุบสภาและจัดการเลือกตัง้ ใหม่ ใน
หลายครัง้ ยังเรียกร้องให้นายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ ์ เวชชาชีวะลาออกและลีภ
้ ัยไป
ต่างประเทศ นายอภิสิทธิ ์ ได้เสนอแผนปรองดองห้าข้อเมือ
่ วันที ่ 3 พฤษภาคม
ซึง่ รวมถึงการยุบสภาและจัดให้มีการเลือกตัง้ ใหม่ในวันที ่ 14 พฤศจิกายน
2553 ในเบือ
้ งต้นผ้้ประท้วงเห็นชอบในหลักการกับแผนดังกล่าว แต่ต่อมาได้
เสนอ “แผนแดง” กลับไปทีร
่ ัฐบาลและปฏิเสธทีจ
่ ะออกจากพืน
้ ทีช
่ ุมนุม ซึง่ ได้
ยึดครองมาตัง้ แต่วันที ่ 3 เมษายน

พระราชบัญญัติการรักษาความมัน
่ คงภายในราช อาณาจักร ได้ถก

ประกาศใช้นับแต่มีการประท้วง และมีการประกาศใช้พระราชกำาหนดการ
บริหารราชการในสถานการณ์ฉก
ุ เฉิน เมือ
่ วันที ่ 7 เมษายน กฎหมายทัง้ สอง
ฉบับให้อำานาจมากมายต่อทหาร และในภายหลังยังมีการประกาศ
พรก.ครอบคลุมเกือบครึง่ ประเทศไทย

รัฐบาลไทยลงนามในกติการะหว่างประเทศว่าด้วย สิทธิพลเมืองและสิทธิ
ทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights-ICCPR) ซึง่
กำาหนดไว้ว่า ไม่อาจมีการละเมิดสิทธิทีจ
่ ะมีชีวิตได้ แม้ “ในภาวะฉุกเฉิน
สาธารณะซึง่ คุกคามความอย่้ รอดของชาติ” (ข้อ 4)

การใช้อาวุธร้ายแรงปราบปรามอย่างเกินขอบเขตเป็ น การละเมิด
กฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยการใช้กำาลัง หลักการพืน
้ ฐานว่าด้วยการใช้
กำาลังและอาวุธปื นของเจ้าพนักงานผ้้ บังคับใช้กฎหมายขององค์การ
สหประชาชาติ (2533) (United Nations Basic Principles on the Use of Force and
Firearms by Law Enforcement Officials (1990)) และหลักการพืน
้ ฐานว่าด้วยการ
ป้ องกันและการสอบสวนการสังหารนอกกระบวน การกฎหมายและการ
สังหารโดยพลการให้เป็ นผล (2532) (United Nations Principles on the Effective
Prevention and Investigation of Extra-Legal, Arbitrary and Summary Executions
(1989)) แม้จะไม่มีผลผ้กพันตามกฎหมายในกรณีทัว ่ ไป แต่ก็ถือเป็ นความตกลง
ระดับโลกระหว่างรัฐต่าง ๆ ถึงวิธีการดีสุดทีจ
่ ะนำาข้อบัญญัติด้านสิทธิมนุษย
ชนระหว่างประเทศ มาใช้ ระหว่างทีม
่ ีปฏิบัติการบังคับใช้กฎหมายโดยไม่
เป็ นการละเมิดต่อ สิทธิทีจ
่ ะมีชีวิต กฎหมายทัง้ สองฉบับเป็ นข้อบัญญัติชัดเจน
ว่า การใช้กำาลังอาวุธทีม
่ ุ่งหมายชีวิตอาจใช้ได้เฉพาะในกรณีเพือ
่ คุ้มครอง ชีวิต
และไม่มีหนทางอืน
่ หลีกเลีย
่ ง

ติดต่อ Benjamin Zawacki - +66 811 381 912

จบ

AMNESTY INTERNATIONAL
PRESS RELEASE

17 May 2010

Thailand: Military must halt reckless use of lethal force

Thai soldiers must immediately stop firing live ammunition into several large areas in
Bangkok where anti-government protesters are gathered, Amnesty International said
today.

“Eye-witness accounts and video recordings show clearly that the military is firing live
rounds at unarmed people who pose no threat whatsoever to the soldiers or to others,”
said Benjamin Zawacki, Amnesty International’s Thailand specialist. “This is a gross
violation of a key human right—the right to life”.

“Deliberately firing live ammunition at unarmed people, whether they be protesters or


otherwise and who pose no credible threat to anyone else, is unlawful”, said Zawacki.

Since 13 May, when the government began “Operation Rachaprasong”, soldiers have fired
rubber and live rounds in and around protest sites in several parts of Bangkok. The
government claims that there are around 500 “terrorists” hiding among the protesters.

At least 35 unarmed protesters have been killed. The dead include two medics who were
wearing white medical uniforms with visible red crosses, shot on 15 and 16 May; and a 17
year-old boy, shot on 15 May. Maj. Gen. Khattiya Sawatdiphon (known as “Seh Daeng”), a
military advisor for the protesters, was struck by a sniper’s bullet on 14 May and died on 17
May. In addition another soldier has been killed.

Over 200 people have been injured, including several Thai and foreign journalists, and a 10
year-old boy.

“The government cannot allow soldiers to essentially shoot at anyone within an area it
wishes to control”, said Zawacki.

The government’s Rules of Engagement, as articulated by its Center for Resolution of


Emergency Situation (CRES) on 14 May, state that live rounds may only be used as warning
shots fired into the air, in self-defense, or when forces can clearly see those the security
forces consider as “terrorists”. On 16 May, CRES declared several areas just adjacent to
the protest site as “live fire zones”.

Several eye-witnesses told Amnesty International that they witnessed soldiers shooting into
the area using long-range rifles—at a distance from which the victims were not likely to
present any danger.

CRES Spokesperson Col. Sansern Kaewkamnerd said on 14 May that troops would keep a
distance from the protesters, and would use live ammunition to stop people from coming
closer. When shooting to stop protesters, troops would aim below the knee and fire only
one bullet at a time.

“This is unacceptable under international law and standards, which provide that firearms
may be used only as a last resort, when a suspected offender offers armed resistance or
otherwise jeopardizes the lives of others, and less extreme measures are not sufficient to
restrain or apprehend the suspected offender. Outside of clear situations of self-defence,
riot control should be performed by trained police using non-lethal equipment, not by
soldiers using live ammunition,” said Zawacki.

Background

The United Front for Democracy against Dictatorship (UDD), commonly known as "Red
Shirts" for the colour of their clothing, began their protests in Bangkok on 12 March.

Many of them are allied with former Thai Prime Minister Thaksin Shinawatra, deposed in a
2006 coup d’état and currently in voluntary exile. They are calling for greater democracy
and have consistently demanded the dissolution of Parliament, followed by new elections.
They have also at times demanded the resignation and exile of Prime Minister Abhisit
Vejjajiva, who on 3 May proposed a five-point Reconciliation Plan, which included the
dissolution of Parliament and new elections on 14 November 2010. The protesters initially
accepted the plan in principle, but then countered with a "Red Plan" and refused to vacate
their protest site, which they have occupied since 3 April.
The Internal Security Act has been in force since the protests began and an Emergency
Decree was declared on 7 April; both confer enormous powers on the military, while the
latter has been extended to cover nearly half of Thailand.

Thailand has acceded to the International Covenant on Civil and Political Rights (ICCPR),
which provides that the right to life cannot be restricted even “in time of public emergency
which threatens the life of the nation (Art. 4).”

Using lethal force recklessly violates international law on the use of force. The United
Nations Basic Principles on the Use of Force and Firearms by Law Enforcement Officials
(1990) and the United Nations Principles on the Effective Prevention and Investigation of
Extra-Legal, Arbitrary and Summary Executions (1989), while not legally binding per se,
represent global agreement by states on how to best implement international human rights
provisions during law enforcement operations without violating the right to life. Both are
clear that intentional lethal force can only be used when strictly unavoidable to protect life.

Contact: Benjamin Zawacki - +66 811 381 912

Naowarat Suesa-ard

Office Manager

Amnesty International Thailand

90/24, Soi Duangporn, Ladprao Soi 1,

Jomphol, Chatuchak, Bangkok 10900

Tel. 02-513-8745, 02-513-8754

Fax. 02-939-2534

e-mail : admin@amnesty.or.th

www.amnesty.or.th

You might also like