You are on page 1of 26

รายงานวิชา 2100302

การฝึ กงานพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software Development Practice)


จัดทําโดย นายสิทธิ ทรัพย์ศุกล
รหัสนิสิต 4931839321
คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาการ
พัฒนาซอฟต์แวร์
หน่วยงานที่ฝึกงาน บริษทั ไทยสมาร์ทคาร์ด จํ ากัด
ชั้น 27 อาคารสีลมคอมเพลกซ์
เลขที่ 191 ถนนสีลม แขวงสีลม
เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500
ผูค้ วบคุมดูแลการฝึ กงาน นายนพ วรสารพิสุทธิ์
ช่วงระยะเวลาการฝึ กงาน เริ่ม 16 มีนาคม 2552
ถึง 15 พฤษภาคม 2552
รวมระยะเวลาการฝึ กงาน 37 วันทําการ 295 ชัว่ โมง
คํานํา
รายงานฉบับนี้ เป็ นส่ วนหนึ่ งของวิชา 2100302 การฝึ กงานพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software
Development Practice) จํานวน 3 หน่วยกิต จัดทําขึ้นเพื่อสรุ ปการฝึ กงานพัฒนาซอฟต์แวร์ การใช้
ชีวิตในการทํางานเสมือน ซึ่งเป็ นสิ่ งจําเป็ นต่อการใช้ปฏิบตั ิงานจริ งในอนาคต ทั้งนี้ นิสิตรุ่ นถัดไปที่
อาจสมัครเข้าฝึ กงานที่บริ ษทั เดียวกันนี้สามารถศึกษารายงานฉบับนี้ เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ในการ
เข้าใจลักษณะงาน ลักษณะการทํางาน และโครงสร้างของบริ ษทั
สถานที่ฝึกงานของข้าพเจ้าคือ บริ ษทั ไทยสมาร์ ทคาร์ ด จํากัด ตั้งอยูท่ ี่ช้ นั 27 อาคารสี ลม
คอมเพลกซ์ เลขที่ 191 ถนนสี ลม แขวงสี ลม เขตบางรัก กรุ งเทพฯ 10500
โดยข้าพเจ้าได้รับมอบหมายให้ทาํ งานดังต่อไปนี้
1. ทดสอบรายงานอิเล็กทรอนิกส์บน Microsoft SQL Server Reporting Service
2. สอบถามข้อมูลจากฐานข้อมูล Microsoft SQL Server ด้วยคําสัง่ SQL
3. ศึกษาการทํางานของ OLAP และทดลองทํา Pivot Table
4. นําเข้าสู่ระบบซึ่งข้อมูลของผูใ้ ช้บตั รที่ทางบริ ษทั ฯ เป็ นผูอ้ อกร่ วม ด้วยโปรแกรม TSC Data
Entry Application
5. ให้ขอ้ มูลแก่ร้านค้าที่รับบัตรสมาร์ทเพิร์สในการแก้ไขปัญหา
โดยเริ่ มฝึ กงานพัฒนาซอฟต์แวร์ ต้ งั แต่ วันที่ 16 มีนาคม 2552 และสิ้ นสุ ดในวันที่ 15 พฤษภาคม
2552 รวมทั้งสิ้ น 37 วัน 195 ชัว่ โมง
รายงานฉบับนี้แบ่งออกเป็ น 4 ส่ วนหลัก ได้แก่
1. บทที่ 1 บรรยายถึงลักษณะการทํางานโดยทัว่ ไป
2. บทที่ 2 บรรยายถึงลักษณะของที่ฝึกงาน และการบริ หารงานของหน่วยงาน
3. บทที่ 3 บรรยายรายละเอียดของที่ทาํ งาน และช่วงเวลาที่ใช้ในการทํางานแต่ละอย่าง
4. บทที่ 4 บรรยายถึงประโยชน์ที่ได้รับ ปั ญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ
ในการนี้ ข้าพเจ้าขอขอบพระคุณผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ไทยสมาร์ทคาร์ด จํากัด ที่มอบโอกาส
ให้ขา้ พเจ้าได้สัมผัสกับสภาวแวดล้อมในการทํางานจริ ง และพนักงานบริ ษทั ไทยสมาร์ ทคาร์ ด
จํากัด ทุกคน ที่ ดูแลและปฏิ บตั ิ กับข้าพเจ้าอย่างเป็ นกันเอง พร้ อมทั้งให้คาํ ปรึ กษาต่ างๆ ในการ
ฝึ กงาน ทําให้ขา้ พเจ้าได้ประสบการณ์ที่ดี ที่เป็ นประโยชน์ในการฝึ กฝน และพัฒนาตนเองให้ดียงิ่ ขึ้น

หน้า ก
1 สารบัญ
0 คํานํา................................................................................................................................................. ก 
สารบัญ ............................................................................................................................................. ข 
บทที่ 1 บทนํา .................................................................................................................................... 1 
1.1 วัตถุประสงค์ของการฝึ กงาน ....................................................................................................................1 
1.2 ช่วงเวลาในการฝึ กงาน และสภาพการทํางานในระหว่างฝึ กงาน .....................................................1 
ช่ วงเวลาในการฝึ กงาน ............................................................................................................. 1 
สภาพการทํางานในระหว่ างฝึ กงาน .......................................................................................... 1 
1.3 ผูค้ วบคุมดูแลการฝึ กงาน...........................................................................................................................2 

บทที่ 2 รายละเอียดการไปฝึ กงาน ...................................................................................................... 3 


2.1 ที่ต้ งั ................................................................................................................................................................3 
2.2 ประวัติโดยย่อ ..............................................................................................................................................4 
2.3 ขอบเขตของหน่วยงาน ..............................................................................................................................5 
ผู้ออกบัตรสมาร์ ทเพิร์ท ............................................................................................................ 5 
ผู้สนับสนุนด้ านกลยุทธ์ ............................................................................................................ 6 
เทคโนโลยีและบริ การ (Smart Loyalty).................................................................................... 6 
2.4 ระบบบริ หารของหน่วยงาน .....................................................................................................................8 

บทที่ 3 รายละเอียดของงานทีท่ าํ ....................................................................................................... 9 


3.1 ลักษณะของงานที่ทาํ .................................................................................................................................9 
ทดสอบรายงานอิเล็กทรอนิกส์ บน Microsoft SQL Server Reporting Service ......................... 9 
สอบถามข้ อมูลจากฐานข้ อมูล Microsoft SQL Server ด้ วยคําสั่ง SQL...................................... 9 
ศึกษาการทํางานของ OLAP และทดลองทํา Pivot Table.......................................................... 9 
นําเข้ าสู่ ระบบซึ่ งข้ อมูลของผู้ใช้ บัตรที่ ทางบริ ษัทฯ เป็ นผู้ออกร่ วม ด้ วยโปรแกรม TSC Data
Entry Application ................................................................................................................... 10 
ให้ ข้อมูลแก่ ร้านค้ าที่รับบัตรสมาร์ ทเพิร์สในการแก้ ไขปั ญหา ................................................ 10 

หน้า ข
3.2 เวลาที่ใช้ในแต่ละขั้นตอนของการฝึ กงาน ......................................................................................... 10 
3.3 รายละเอียดในแต่ละขั้นตอนของการฝึ กงาน ..................................................................................... 11 
ทดสอบรายงานอิเล็กทรอนิกส์ บน Microsoft SQL Server Reporting Service ....................... 11 
สอบถามข้ อมูลจากฐานข้ อมูล Microsoft SQL Server ด้ วยคําสั่ง SQL.................................... 11 
ศึกษาการทํางานของ OLAP และทดลองทํา Pivot Table........................................................ 12 
นําเข้ าสู่ ระบบซึ่ งข้ อมูลของผู้ใช้ บัตรที่ ทางบริ ษัทฯ เป็ นผู้ออกร่ วม ด้ วยโปรแกรม TSC Data
Entry Application ................................................................................................................... 13 
ให้ ข้อมูลแก่ ร้านค้ าที่รับบัตรสมาร์ ทเพิร์สในการแก้ ไขปั ญหา ................................................ 13 
บทที่ 4 สรุป ..................................................................................................................................... 15 
4.1 ประโยชน์ที่ได้รับ .................................................................................................................................... 15 
4.2 ปั ญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ ...................................................................................................... 16 

ภาคผนวก ........................................................................................................................................ 17 


สําเนาแผนที่ที่ได้ส่งให้กบั ศูนย์บริ การจัดหางานของคณะฯ ภายใน 7 วันหลังจากไปฝึ กงาน ...... 18 
ตารางเวลาที่ใช้ในแต่ละขั้นตอนของการฝึ กงาน .................................................................................... 19 

หน้า ค
บทที่ 1 บทนํา
1.1 วัตถุประสงค์ ของการฝึ กงาน
เพื่ อ ให้ นิ สิ ต ได้มี ป ระสบการณ์ ใ นลัก ษณะของงานวิ ช าชี พ มี ค วามเข้า ใจ ทราบถึ ง
ความสัมพันธ์ระหว่างเนื้ อหาวิชาของการเรี ยนในหลักสู ตรและวิชาชี พมากขึ้น ประกอบกับการ
ดําเนิ นชี วิตร่ วมกับบุคคลากรตามแต่ละวัฒนธรรมขององค์กร เพื่อความราบรื่ นในการปฏิบตั ิงาน
ร่ วมกับองค์กรนั้นๆ ด้วย โดยมีวตั ถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ดังนี้
1. เข้าใจลักษณะของงานในวิชาชีพการพัฒนาซอฟต์แวร์
2. เข้าใจถึงแนวทางการแก้ไขปัญหาทางการพัฒนาซอฟต์แวร์
3. เข้าใจแนวทางการบริ หารงานพัฒนาซอฟต์แวร์
4. สามารถทํางานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้ดีข้ ึน
5. ทราบถึงบทบาทของนักพัฒนาซอฟต์แวร์ที่มีต่อสังคม
6. เพื่อเตรี ยมความพร้อมในการนําความรู ้จากหลักสูตรเข้าประยุกต์ใช้ในงานปฏิบตั ิ

1.2 ช่ วงเวลาในการฝึ กงาน และสภาพการทํางานในระหว่ างฝึ กงาน

ช่ วงเวลาในการฝึ กงาน
ข้าพเจ้าเริ่ มการฝึ กงานที่ บริ ษทั ไทยสมาร์ ทคาร์ ด จํากัด ตั้งแต่วนั ที่ 16 มีนาคม 2552 และ
สิ้ นสุ ดในวันที่ 15 พฤษภาคม 2552 เว้นวันหยุดเสาร์ -อาทิตย์ และวันหยุดตามเทศกาล ตั้งแต่เวลา
8.30 น. ถึง 17.30 น. รวมทั้งหมด 37 วัน คิดเป็ น 295 1 ชัว่ โมง 0

สภาพการทํางานในระหว่ างฝึ กงาน


บริ ษทั ไทยสมาร์ ทคาร์ ด จํากัด เป็ นองค์กรร่ วมสมัย มีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามา
ใช้ในการทํางานระบบต่างๆ พนักงานของบริ ษทั นอกจากจะมี โต๊ะทํางานประจําแล้ว ยังได้รับ
คอมพิวเตอร์ประจําอีกคนละหนึ่งเครื่ อง
ลักษณะของสํานักงานเป็ นการเช่าชั้น 27 ของอาคารสํานักงานสี ลมคอมเพลกซ์ มีการแบ่ง
สํานักงานออกเป็ นส่ วนต่างๆ โดยแผนกที่เกี่ยวข้องกันจะถูกจัดให้ทาํ งานอยูใ่ กล้กนั พนักงานทุกคน
จะมีโต๊ะทํางานพร้อมคอมพิวเตอร์หนึ่งเครื่ อง โต๊ะทํางานถูกจัดวางไว้เป็ นแถวเรี ยงต่อกัน โดยมีการ

1
เนื่องจากในวันที่ 9 เมษายน 2552 เกิดเหตุความไม่สงบขึ้นในกรุ งเทพฯ ทําให้ทางบริ ษทั อนุญาตให้พนักงานกลับก่อนเวลาปกติ 1 ชัว่ โมง

หน้า 1
เว้นทางให้เดินและมีการกั้นด้วยฉากกั้นเพื่อความเป็ นส่ วนตัว ผูบ้ ริ หารระดับกลางขึ้นไปจึงจะมีโต๊ะ
ทํา งานที่ แ ยกต่ า งหาก บ้า งก็ เ ป็ นฉากกั้น บ้า งก็เ ป็ นห้อ งทํา งานส่ ว นตัว ตามแต่ ร ะดับ ของการ
บริ หารงาน
นิ สิตฝึ กงานทุกคนรวมถึงข้าพเจ้าก็เช่นกัน กล่าวคือ มีโต๊ะทํางาน และคอมพิวเตอร์ส่วนตัว
ไม่ต่างจากพนักงานทัว่ ไป โดยโต๊ะทํางานของนิ สิตฝึ กงานแต่ละคนจะอยู่ในแผนกที่ ได้เข้าไป
ฝึ กงาน ซึ่งโต๊ะทํางานของข้าพเจ้าอยูใ่ นส่ วนของทีม Data warehouse แผนก IT

1.3 ผู้ควบคุมดูแลการฝึ กงาน


ผู ้ค วบคุ ม ดู แ ลการฝึ กงานของข้า พเจ้า คื อ นายนพ วรสารพิ สุ ท ธิ์ ตํา แหน่ ง Deputy
Department Manager: Data Warehouse – ฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

หน้า 2
บทที่ 2 รายละเอียดการไปฝึ กงาน
2.1 ทีต่ ้งั
บริ ษทั ไทยสมาร์ทคาร์ด จํากัด ตั้งอยูท่ ี่ ชั้น 27 อาคารสี ลมคอมเพลกซ์ เลขที่ 191 ถนนสี ลม
แขวงสี ลม เขตบางรัก กรุ งเทพฯ 10500

รู ป 1 ที่ตั้ง บริ ษัท ไทยสมาร์ ทคาร์ ด จํากัด

หน้า 3
2.2 ประวัตโิ ดยย่ อ
ในทุกๆ วัน เซเว่นอีเลเว่นทุกสาขา จะต้องนําเงินไปฝากยังธนาคาร ซึ่ งถือเป็ นความเสี่ ยง
อย่างหนึ่ง เพราะอาจเกิดอาชญากรรมขึ้นได้ ในการนี้จึงมีแนวความคิดเกี่ยวกับการการใช้เงินในรู ป
อิเล็กทรอนิ กส์ และการโอนค่าสิ นค้าต่างๆ ผ่านทางธนาคาร ซึ่งมีความปลอดภัยมากกว่าการใช้เงิน
สดในการใช้จ่าย ซึ่ งถือเป็ นจุดเริ่ มต้นของบัตรสมาร์ ทเพิร์ส และนอกจากนี้ บัตรสามารถเพิร์สยัง
สามารถจัดการสนับสนุ นการขายผ่านการใช้บตั รได้ง่ายดายกว่าการใช้เป็ นคูปอง หรื อการสะสม
แสตมป์
บริ ษทั ไทยสมาร์ทคาร์ ด จํากัด ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2547 เป็ นบริ ษทั ร่ วมทุนระหว่าง บริ ษทั ซี
พี เซเว่นอีเลฟเว่น 2 จํากัด (มหาชน), บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน), ธนาคารออมสิ น,
1

ธนาคารกรุ งไทย จํากัด (มหาชน), บริ ษทั บัตรกรุ งไทย จํากัด (มหาชน), ธนาคารกรุ งศรี อยุธยา
จํากัด (มหาชน), ธนาคารนครหลวงไทย จํากัด (มหาชน), บริ ษทั ล็อกซเล่ย ์ จํากัด (มหาชน) และ
บริ ษทั เอสวีโอเอ จํากัด (มหาชน) ด้วยทุนจดทะเบียน 1,600 ล้านบาท โดยมีบริ ษทั วีซ่าอินเตอร์
เนชัน่ แนลการสนับสนุ นเรื่ องแบรนด์ และบริ ษทั ไทยสมาร์ ทคาร์ ดได้เป็ นสมาชิ กของวีซ่าในการ
ออกบัตร หาร้านค้าพันธมิตรเพื่อรับบัตร และจุดให้บริ การเติมเงิน

รู ป 2 สั ญลักษณ์ บริ ษัท ไทยสมาร์ ทคาร์ ด จํากัด

2
ปั จจุบนั คือบริ ษทั ซี พี ออลล์ จํากัด (มหาชน)

หน้า 4
รู ป 3 โครงสร้ างกลุ่มบริ ษัท ซี พี ออลล์ จํากัด (มหาชน)

2.3 ขอบเขตของหน่ วยงาน


บริ ษทั ไทยสมาร์ ทคาร์ ด จํากัด เป็ นผูด้ าํ เนินการออกแบบ วางระบบเครื อข่าย และบริ หาร
จัดการเครื อข่าย ระบบการชําระเงินในรู ปแบบสมาร์ทคาร์ด สําหรับบริ การเคลียริ่ งชําระเงิน รายการ
การรับบัตร รายการการเติมเงิน เพื่อให้ผทู ้ ี่ร่วมอยูใ่ นเครื อข่ายได้รับประโยชน์สูงสุ ด
อีกทั้งทางบริ ษทั ฯ ยังได้จดั หาองค์กร สถาบันการเงิน และบริ ษทั อื่นๆ เพื่อออกบัตร บริ การ
รับบัตรและเติมเงิ น ตลอดจนทําแผนการส่ งเสริ มการใช้บตั ร เพื่อให้ผูถ้ ือบัตรใช้บตั รได้อย่าง
กว้างขวางและได้รับประโยชน์จากการใช้บตั รอย่างสูงสุ ด

ผู้ออกบัตรสมาร์ ทเพิร์ท
บริ ษทั และหน่ วยงานที่ได้ใช้บริ การบัตรสมาร์ ทเพิร์ส ได้แก่ เซเว่นอีเลฟเว่น, เคาท์เตอร์
เซอร์วิส, ทรู คอร์ปเรชัน, โชคดีติ่มซํา, Tosit, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, ยามาฮ่า, ห้างสรรพสิ นค้า
มาบุญครอง, มหาวิทยาลัยนอร์ท (เชียงใหม่) และสถาบันกวดวิชาเจี๋ย

หน้า 5
รู ป 4 บัตรสมาร์ ทเพิร์สรู ปแบบต่ างๆ

รู ป 5 บริ ษัท ไทยสมาร์ ทคาร์ ด จํากัด ร่ วมกับ Yamaha ออกบัตร Yamaha Smart Purse

ผู้สนับสนุนด้ านกลยุทธ์
วีซ่าอินเตอร์ เนชัน่ แนล ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการให้บริ การบัตรเครดิตและบัตรเงินสด เป็ นผูใ้ ห้
การสนับสนุนเรื่ องแบรนด์ โดยบริ ษทั ไทยสมาร์ทคาร์ดได้เป็ นสมาชิกของวีซ่าในการออกบัตร การ
หาร้านค้าพันธมิตรเพื่อรับบัตร และจุดให้บริ การเติมเงิน จึงมัน่ ใจได้ว่า บัตรเงินสดดิจิทลั จากบริ ษทั
ไทยสมาร์ ทคาร์ ด จํากัด เป็ นบัต รเงิ น สดดิ จิ ทลั ที่ ไ ด้ม าตรฐานสากล ไว้ใ จได้ และควรคู่กับ การ
ครอบครอง

เทคโนโลยีและบริการ (Smart Loyalty)


จากข้อมูลการวิจ ัยของสถาบันวิจ ัยในต่างประเทศมี ขอ้ สรุ ปที่ น่าสนใจ เกี่ ยวกับการนํา
เทคโนโลยีหรื อโซลูชนั่ ทางด้านลอยัลตี้ คือเครื่ องมือทางการตลาดที่สามารถตอบสนองร้านค้าได้ดี

หน้า 6
ที่สุดด้านการเพิ่มรายได้และขยายฐานลูกค้า ดังนั้นโปรแกรมลอยัลตี้จึงเป็ นเครื่ องมือทางการตลาดที่
มีประสิ ทธิภาพเป็ นอย่างยิง่ กับการตลาดยุคใหม่
Smart Loyalty คือระบบโปรแกรมลอยัลตี้บนบัตร “สมาร์ ทเพิร์ส” ที่บริ ษทั ไทยสมาร์ ท
คาร์ ด จํากัด เป็ นผูล้ งทุนและบริ หารระบบ เพื่อให้บริ การแก่ร้านค้ารับบัตร “สมาร์ ทเพิร์ส” ในการ
จัดทําโปรแกรมส่ งเสริ มการขายต่างๆ ที่เรี ยกว่า “E-Loyaty Program” ด้วยเทคโนโลยีใหม่ล่าสุ ด
เพื่อให้ผถู ้ ือบัตรสามารถสนุกสนานกับการใช้จ่ายผ่านบัตร “สมาร์ทเพิร์ส” พร้อมรับสิ ทธิประโยชน์
ต่างๆ มากมายกับโปรแกรมสมาร์ ทพลัสรี วอร์ ด (Smart Plus Reward) ซึ่งบริ หารโดยบริ ษทั ไทย
สมาร์ ทคาร์ ด จํากัด เช่น แต้มสมาร์ ทพลัส หรื อส่ วนลดสิ นค้า หรื อบริ การ, อิเล็กทรอนิ สก์คูปอง (E-
Coupon) จากทุกร้นค้าที่เป็ นจุดรับบัตรสมาร์ทเพิร์ส และร่ วมรายการสมาร์ทพลัสรี วอร์ด
โดยแต้ม สมาร์ ท พลัส หรื อ อี เ ล็ด ทรอนิ ก ส์ คู ป อง (E-Coupon) ต่ า งๆ ในโปรแกรม
สมาร์ ทพลัสรี วอร์ ด สามารถจัดเก็บ และบันทึกไว้บนชิพภายในบัตร และระบบยังทําหน้าที่จดั เก็บ
ข้อมูลการซื้ อสิ นค้าหรื อบริ การต่างๆ ของลูกค้าไว้อย่างครบถ้วน เพื่อให้ร้านค้าสามารถจัดเก็บ
ศึกษาและบริ หารข้อมูลลูกค้าของตนเองได้อย่างรวดเร็ ว และแม่นยํามากยิ่งขึ้น เพื่อเพิ่มประโยชน์
ทางธุรกิจให้แก่ร้านค้า ทั้งในระยะสั้น และระยะยาวต่อไป
ซอฟต์แวร์ โปรแกรมลอยัลตี้ (Loyalty Application) ได้ถูกพัฒนาและติดตั้งบนเครื่ องรับ
บัตรสมาร์ ทเพิร์ส (Smart Terminal) ทุกเครื่ องของบริ ษทั ไทยสมาร์ ทคาร์ ด จํากัด เพื่อให้ร้านค้า
สามารถทํารายการเกี่ ยวกับโปรแกรมลอยัลตี้ของตนเองได้ตลอดเวลา เช่ น การจัดทําโปรแกรม
สะสมแต้ม โดยการคํานวณการให้แต้มสะสมแก่ลูกค้าโดยอัตโนมัติ
การทําโปรแกรมส่ งเสริ มการขายระยะสั้นทันที ณ จุดขาย (E-Loyalty Program) ตลอดจน
การใช้แต้มสะสมแลกของรางวัลแบบทันที (Instant Redemption) ณ ร้านค้าได้อีกด้วย

รู ป 6 เครื่ อง Smart Terminal สําหรั บรั บบัตร Smart Purse

หน้า 7
2.4 ระบบบริหารของหน่ วยงาน

หน้า 8
บทที่ 3 รายละเอียดของงานทีท่ าํ
3.1 ลักษณะของงานทีท่ าํ
เนื่ องจากข้าพเจ้าเข้ามาฝึ กงานในฝ่ าย Data Warehouse ลักษณะการทํางานจึงเกี่ยวข้องกับ
ระบบฐานข้อมูล และการทําสารสนเทศเพื่อนําเสนอต่อฝ่ ายต่างๆ เช่น ฝ่ ายการเงิน และผูบ้ ริ หาร ซึ่ ง
จะนําไปใช้ในการวิเคราะห์ และกําหนดกลยุทธ์ขององค์กรต่อไป

27 ทดสอบรายงานอิเล็กทรอนิกส์ บน Microsoft SQL Server Reporting Service


ในขณะที่ขา้ พเจ้าฝึ กงานอยูน่ ้ นั ทางฝ่ าย Data Warehouse กําลังดําเนินการถ่ายโอนข้อมูล
จากระบบเก่าไปยังระบบใหม่ เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการทํางาน และข้อมูลที่ละเอียดมากยิ่งขึ้น
จึงจําเป็ นต้องมีการทดสอบและตรวจทานข้อมูลของทั้งสองระบบว่าตรงกันหรื อไม่ และรายงานที่
อ้างอิงข้อมูลจากระบบทั้งสองนี้ ทํางานได้ผลเหมื อนกันหรื อไม่ ข้าพเจ้าจึ งได้รับมอบหมายให้
ทดสอบรายงาน (Report) บน Microsoft SQL Server Reporting Service ทั้งระบบเก่าและระบบ
ใหม่ว่ามีความสอดคล้องกันหรื อไม่ พร้อมทั้งรายงานข้อผิดพลาดให้ผูร้ ั บผิดชอบรับทราบ และ
ดําเนินการแก้ไขต่อไป

สอบถามข้ อมูลจากฐานข้ อมูล Microsoft SQL Server ด้ วยคําสั่ ง SQL


งานอีกส่ วนที่ขา้ พเจ้าได้มีโอกาสได้ทาํ คือการได้ทดลองการใช้งานโปรแกรม SQL Server
Management Studio เพื่อ query ข้อมูลจากฐานข้อมูล SQL Server และได้ทดลองการสร้าง Role
เพื่อกําหนดสิ ทธิ์ผใู ้ ช้ฐานข้อมูลแต่ละคนใน Analysis Service ของ SQL Server

29 ศึกษาการทํางานของ OLAP และทดลองทํา Pivot Table


เนื่ องจากข้อมูลการใช้บตั รสมาร์ทเพิร์สของบริ ษทั ไทยสมาร์ ทคาร์ด จํากัด ก่อนที่จะได้รับ
การนําไปประมวลผลให้เป็ นสารสนเทศนั้น ถูกเก็บอยูใ่ น OLAP ซึ่ งย่อมาจาก Online analytical
processing
OLAP คือกระบวนการตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับการวิเคราะห์แบบหลายมิติอย่างรวดเร็ ว
ถือเป็ นนวัตกรรมหนึ่ งของ Business Intelligent (BI) การที่ทางบริ ษทั ได้นาํ OLAP เข้ามาใช้ในการ
จัดเก็บข้อมูลก็เพื่อต้องการผลการ query ที่รวดเร็ ว เนื่องจากข้อมูล transaction ของบริ ษทั ในแต่ละ
วัน มีจาํ นวนมาก
Pivot Table คือเครื่ องมือในการสรุ ปข้อมูล ที่เป็ นเครื่ องหมายการค้าของบริ ษทั Microsoft
Pivot Table สามารถสร้างรายงานแบบ cross tab ได้อย่างรวดเร็ ว จึงทําให้สามารถสร้างรายงานสรุ ป

หน้า 9
ข้อมูลต่างๆ ออกมาในรู ปที่สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจน อีกทั้งยังมีเครื่ องมือในการนําค่าผลสรุ ป
ต่างๆ มาสร้างเป็ นแผนภูมิ

นํ าเข้ าสู่ ระบบซึ่ งข้ อมู ลของผู้ใช้ บัตรที่ทางบริ ษัทฯ เป็ นผู้ออกร่ วม ด้ วยโปรแกรม
30

TSC Data Entry Application


นอกจากนี้ ข้า พเจ้า ยัง ได้นํา เข้า สู่ ร ะบบซึ่ งข้อ มู ล ของผูใ้ ช้บ ัต รที่ ท างบริ ษ ัท ฯ ร่ ว มกับ
มหาวิ ท ยาลัย นอร์ ท (เชี ย งใหม่ ) ออกบัต รให้ กับ บุ ค ลากรทั้ง คณาจารย์ และนั ก ศึ ก ษา ของ
มหาวิทยาลัยฯ ด้วยโปรแกรม TSC Data Entry Application

ให้ ข้อมูลแก่ ร้านค้ าที่รับบัตรสมาร์ ทเพิร์สในการแก้ ไขปัญหา


การให้ขอ้ มูลแก่ร้านค้า เพื่อแก้ไขปั ญหาเบื้องต้นเกี่ ยวกับเครื่ องรับบัตรสมาร์ ทเพิร์ส เป็ น
หน้าที่ของฝ่ ายปฏิบตั ิการ (Operation) และ Help Desk แต่ในบางครั้งเมื่อปั ญหาเกิดขึ้นกับร้านค้า
จํานวนมาก ทางฝ่ าย Help Desk จึงร้องขอให้พนักงานฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศอื่นมาช่วงในการ
ให้ขอ้ มูลในการแก้ไขปั ญหาเบื้องต้นบางอย่าง โดยการโทรศัพท์ไปยังร้านที่เกิดปั ญหา และแนะนํา
ขั้นตอนวิธีในการแก้ไขปั ญหา เพื่อให้เครื่ องรับบัตรสมาร์ทเพิร์สใช้การได้อย่างปกติ

3.2 เวลาทีใ่ ช้ ในแต่ ละขั้นตอนของการฝึ กงาน


16 - 24 มีนาคม 2552 ทําความรู ้ จกั ผูค้ วบคุ มงาน และลักษณะของงาน, ศึ กษาการ
ทํางาน และวิธีการใช้งานของ Microsoft SQL Server
Reporting Service และ ภาษา SQL รวมถึงทดสอบรายงานบน
Reporting Service
25 – 31 มีนาคม 2552 นําข้อมูลผูใ้ ช้บตั รเข้าสู่ ระบบ ด้วยโปรแกรม TSC Data Entry
Application
1 เมษายน 2552 เข้ารับการปฐมนิ เทศพร้อมกับนิ สิต-นักศึกษาฝึ กงานคนอื่นๆ
และพนักงานใหม่ของบริ ษทั
2 เมษายน 2552 เข้ารับฟังการนําเสนอผลิตภัณฑ์ Business Object จาก บริ ษทั
สหเศรษฐสิ ริ อินเตอร์เนชัน่ แนล จํากัด
3 – 16 เมษายน 2552 ศึกษาการทํางาน และการใช้งาน Microsoft SQL Server
Integration Service
17 – 22 เมษายน 2552 ทดสอบรายงานบน Microsoft SQL Server Reporting Service

หน้า 10
23 – 29 เมษายน 2552 สร้ างแบบสอบถามข้อมูลด้วยโปรแกรม Microsoft SQL
Server Management Studio
30 เมษายน – 7 พฤษภาคม 2552 ศึกษาการทํางาน และการใช้งาน Microsoft SQL Server
Analysis Service
11 พฤษภาคม 2552 ศึกษาการทํางานของ OLAP และการโอนย้ายข้อมูลระหว่าง
ฐานข้อมูลด้วยโปรแกรม Microsoft Visual Studio
12 พฤษภาคม 2552 ศึกษาการใช้งาน Crystal Report
11 – 12 พฤษภาคม 2552 โทรศัพท์แนะนําการแก้ไขปั ญหาการส่ งข้อมูลทางธุรกรรมเข้า
เครื่ องแม่ข่ายไม่ได้ของเครื่ องรับบัตรสมาร์ ทเพิร์สแก่พนักงาน
ร้านเซเว่นอีเลเว่น
13 – 14 พฤษภาคา 2552 ทํา Pivot Table ด้วยโปรแกรม Microsoft Office Excel
15 พฤษภาคม 2552 ศึกษาการใช้งาน Crystal Report

3.3 รายละเอียดในแต่ ละขั้นตอนของการฝึ กงาน


ทดสอบรายงานอิเล็กทรอนิกส์ บน Microsoft SQL Server Reporting Service
ทางแผนกเทคโนโลยีสารสนเทศกําลังอยูใ่ นช่วงดําเนิ นการโอนย้ายข้อมูลจาก OLAP เก่า
ไปยัง OLAP ใหม่ เพื่อทําให้การสอบถามข้อมูลจากฐานข้อมูลรวดเร็ วยิง่ ขึ้น อีกทั้งยังสามารถเก็บ
ข้อมูลในระดับที่ละเอียดกว่าระบบเดิม แต่ท้ งั นี้ การโอนย้ายข้อมูลอาจเกิดความผิดพลาดขึ้นได้ อีก
ทั้งรายงานที่ใช้ขอ้ มูลจาก OLAP เก่า และ OLAP ใหม่ อาจมีความไม่สอดคล้องกัน ข้าพเจ้าจึงได้รับ
มอบหมายให้ทดสอบรายงาน เพื่อเรี ยกดูขอ้ มูลจาก OLAP เก่า และ OLAP ใหม่ โดยการสุ่ ม
ค่าพารามิเตอร์ ผ่านทาง Reporting Service ของ Microsoft SQL Server โดยใช้ระบบอินทราเน็ต
ของบริ ษทั ฯ
หลังจากตรวจสอบเป็ นที่เรี ยบร้อย ข้าพเจ้าได้ทาํ รายงานบันทึกผลการตรวจสอบส่ งให้กบั
ผูด้ ูแล เพื่อดําเนินการแก้ไขข้อมูล และ report ที่เกิดความผิดพลาดขึ้นต่อไป

สอบถามข้ อมูลจากฐานข้ อมูล Microsoft SQL Server ด้ วยคําสั่ ง SQL


ในบางครั้ง ผูด้ ูแลต้องการทราบข้อมูลบางอย่างจากฐานข้อมูล เช่น ต้องการตรวจสอบรหัส
ของบริ ษทั คู่คา้ กับชื่ อบริ ษทั คู่คา้ ว่าตรงกันหรื อไม่ ข้าพเจ้าจึ งได้รับมอบหมายให้ใช้โปรแกรม
Microsoft SQL Server Studio Management ในการสอบถามข้อมูลจากฐานข้อมูลด้วยภาษา SQL

หน้า 11
หลังจากนั้นข้าพเจ้าได้บนั ทึกข้อมูลจากการสอบถามจากฐานข้อมูลแล้วส่ งกลับไปยังผูด้ ูแล เพื่อ
นําไปดําเนินการอื่นต่อไป

ศึกษาการทํางานของ OLAP และทดลองทํา Pivot Table


เนื่ องจากข้อมูลใน OLAP ของทางบริ ษทั เป็ นสิ่ งสําคัญ จึงไม่อาจเกิ ดความเสี ยหายได้
ข้าพเจ้าจึงไม่อาจเข้าไปทํางานกับข้อมูลส่ วนนี้ ได้โดยตรง แต่ผดู ้ ูแลได้อนุ ญาตให้ขา้ พเจ้าสามารถ
เข้าไปดูขอ้ มูลใน OLAP ของฐานข้อมูลตัวอย่าง และเรี ยกดูขอ้ มูลต่างๆ ได้
การเรี ยกดูขอ้ มูลใน OLAP สามารถทําได้ดว้ ยวิธีการธรรมดา คือ การสร้างแบบสอบถาม
ไปยังฐานข้อมูลเพื่อให้ได้คาํ ตอบที่ตอ้ งการ แต่ในขณะเดียวกัน Pivot Table ของบริ ษทั Microsoft
สามารถทํารายงานสรุ ปข้อมูลต่างๆ ให้อยูใ่ นลักษณะของรายงานแบบ cross tab เพื่อให้ง่ายในการ
วิเคราะห์ขอ้ มูลของผูใ้ ช้ อีกทั้งยังสามารถนําข้อมูลสรุ ปดังกล่าว ไปสร้างเป็ นแผนภูมิ ด้วยวิธีน้ ี ผู ้
วิเคราะห์ขอ้ มูลจะเห็นความแตกต่างของข้อมูลได้อย่างชัดเจน ส่ งผลให้การวิเคราะห์ขอ้ มูลต่างๆ
เป็ นไปได้อย่างแม่นยํา
ข้าพเจ้าใช้โปรแกรม Microsoft Office Excel 2003 ในการสร้าง Pivot Table จาก OLAP
ตัวอย่างที่ผดู ้ ูแลได้อนุญาตให้ใช้งานได้

รู ป 7 ตัวอย่ าง Pivot Table ที่สร้ างด้ วยโปรแกรม Microsoft Office Excel 2003

หน้า 12
นํ าเข้ าสู่ ระบบซึ่ งข้ อมู ลของผู้ ใช้ บัตรที่ทางบริ ษัท ฯ เป็ นผู้ออกร่ วม ด้ วยโปรแกรม
TSC Data Entry Application
ทางบริ ษทั ไทยสมาร์ ทคาร์ ด จํากัด ได้ร่วมกับองค์กรอื่ น ในการออกบัตรสมาร์ ทเพิร์ส
อย่างในครั้งนี้ ได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยนอร์ ท (เชี ยงใหม่) ออกบัตรประจําตัวให้กบั บุคคลกรของ
มหาวิทยาลัย ได้แก่ อาจารย์ นักศึกษา และลูกจ้างของมหาวิทยาลัย จึงทําให้มีขอ้ มูลของผูใ้ ช้บตั รเข้า
มาพร้อมกันเป็ นจํานวนมาก ไม่อาจนําข้อมูลดังกล่าวเข้าสู่ระบบได้อย่างรวดเร็ ว ผูร้ ับผิดชอบในการ
นําเข้าข้อมูลจึ งขอให้ขา้ พเจ้าช่ วยนําข้อมูลของผูใ้ ช้บตั รเหล่านั้นเข้าสู่ ระบบ เพื่อการติดตาม และ
วิเคราะห์การใช้บตั รต่อไป
การนําเข้าข้อมูลผูใ้ ช้บตั รในครั้งนี้ ใช้โปรแกรม TSC Data Entry Application ซึ่ งเป็ น
โปรแกรมที่ทางบริ ษทั สร้างขึ้นมาเอง ในรู ปแบบ Graphic User Interface (GUI) ช่องสําหรับกรอก
ข้อมูลต่างๆ เป็ นข้อมูลที่ตรงกับใบสมัครบัตรประจําตัว ซึ่ งเป็ นข้อมูลพื้นฐานของผูใ้ ช้บตั ร และมี
การสอบถามผูใ้ ช้บตั รเกี่ยวกับความชอบส่ วนตัว ทั้งนี้เพื่อนําข้อมูลเหล่านี้ไปวิเคราะห์เพื่อเสนอสิ่ งที่
ผูใ้ ช้บตั รอาจต้องการ มีการสอบถามผูใ้ ช้บตั รเกี่ยวกับการรับข้อมูลข่าวสารที่ทางบริ ษทั จะจัดส่ งให้
ไม่ว่าจะเป็ นทาง SMS, E-mail หรื อจดหมาย หากไม่ตอ้ งการรับข่าวสารใดๆ จากทางบริ ษทั ก็
สามารถทําได้
ข้อมูลผูใ้ ช้บตั รของมหาวิทยาลัยนอร์ ท (เชี ยงใหม่) ที่ขา้ พเจ้าได้นาํ เข้าสู่ ระบบในครั้งนี้ มี
จํานวนมากกว่า 600 รายการ และใช้เวลาทั้งสิ้ น 5 วัน

ให้ ข้อมูลแก่ ร้านค้ าที่รับบัตรสมาร์ ทเพิร์สในการแก้ ไขปัญหา


ในขณะที่ขา้ พเจ้าฝึ กงานอยู่ที่บริ ษทั ไทยสมาร์ ทคาร์ ด จํากัด ทางบริ ษทั กําลังดําเนิ นการ
เปลี่ยนแอพพลิเคชันบนเครื่ องรับบัตรสมาร์ทเพิร์สเป็ นแอพพลิเคชันรุ่ นใหม่ แต่ดว้ ยความผิดพลาด
บางประการ จึ งทําให้เครื่ องรั บบัตรสมาร์ ทเพิร์สที่ ได้รับการเปลี่ ยนรุ่ นไม่สามารถส่ งข้อมูลทาง
ธุรกรรมมายังเครื่ องแม่ขายของทางบริ ษทั ได้เป็ นจํานวนมาก ทางบริ ษทั ได้ตรวจสอบความผิดปกติ
ดังกล่าว พบว่าเกิดขึ้นจากหมายเลข IP ของเครื่ องรับบัตรถูกเปลี่ยนแปลง
เนื่ องจากเกิ ด ปั ญหาดังกล่ าวเป็ นวงกว้าง ฝ่ ายที่ รับผิดชอบในการแก้ไขปั ญหา คื อ ฝ่ าย
ปฏิบตั ิการ (Operation) และฝ่ าย Help Desk มีบุคลากรไม่เพียงพอ จึงได้ขอความช่วยเหลือไปยัง
พนักงานฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศคนอื่น เพื่อโทรศัพท์ไปให้คาํ แนะนําวิธีแก้ไขปั ญหา ให้กบั
พนักงานในร้านที่เครื่ องรับบัตรสมาร์ ทเพิร์สมีปัญหา โดยให้แก้ไขหมายเลข IP และ Gateway ให้
เป็ นไปในทางที่ถูกต้อง และสามารถดําเนิ นการส่ งข้อมูลทางธุ รกรรมเข้าสู ้เครื่ องแม่ข่ายของทาง
บริ ษทั ได้อย่างเป็ นปกติ

หน้า 13
ทั้งนี้ วิธีการตั้งค่าหมายเลข IP และ Gateway ดังกล่าว อาจก่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ระบบ
หากถูกนําไปใช้ในทางที่ไม่ถูกต้อง ข้าพเจ้าจึงขอไม่กล่าวถึงขั้นตอนการปฏิบตั ิในที่น้ ี

หน้า 14
บทที่ 4 สรุป
4.1 ประโยชน์ ทไี่ ด้ รับ
จากการฝึ กงานที่ บริ ษทั ไทยสมาร์ ทคาร์ ด จํากัด เป็ นเวลา 295 ชัว่ โมง คิดเป็ น 37 วัน
ข้าพเจ้าได้รับประโยชน์มากมาย ได้แก่
1. ได้รู้จกั และทําความคุน้ เคยกับฐานข้อมูลแบบหลายมิติ จากการที่ได้ศึกษาฐานข้อมูลมาก่อน
หน้านี้ ข้าพเจ้าได้ศึกษาลงลึกเกี่ยวกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ซึ่ งแม้ว่าจะถือเป็ นพื้นฐานของ
ฐานข้อมูลแบบหลายมิติ แต่ก็ยงั ไม่เคยได้ศึกษาฐานข้อมูลแบบหลายมิติมาก่อน และทราบ
เพิ่มเติมว่าหากต้องการออกแบบฐานข้อมูลที่ตอ้ งการความเร็ วในการออกแบบสอบถาม
ฐานข้อมูลแบบหลายมิติถือเป็ นทางออกที่ดีอย่างหนึ่ง
2. ได้ทาํ ความเข้าใจเกี่ยวกับ Business Intelligent ว่ามีการทํางานอย่างไร และส่ งผลดีต่อธุรกิจ
อย่างไร ในการศึกษาหลักสู ตรการพัฒนาซอฟต์แวร์ ข้าพเจ้าได้ศึกษาเกี่ ยวกับระบบการ
จัดการระบบสารสนเทศมาบ้างแล้ว แต่ยงั เกิดความคลุมเครื อ เพราะไม่เห็นภาพในการนํา
สารสนเทศไปใช้ในเชิงธุ รกิจอย่างจริ งจัง แต่เมื่อข้าพเจ้าได้เข้ามาสัมผัสกับระบบที่จดั การ
นําข้อมูลมาแปลงให้เป็ นสารสนเทศ จึ งเข้าใจเกี่ ยวกับระดับของระบบสารสนเทศมาก
ยิง่ ขึ้น อีกทั้งยังมีแนวทางในการพัฒนาระบบ Decision Support System (DSS)
3. ได้ฝึกฝนการใช้งานภาษา SQL ให้มีความชํานาญมากยิง่ ขึ้น เพราะข้าพเจ้ามีความจําเป็ นที่
จะต้องใช้ภาษา SQL ในการสร้ างแบบสอบถามเพื่อสอบถามข้อมูลจากฐานข้อมูล
Microsoft SQL Server
4. ได้เ ห็ น วิ ธี ก ารพัฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คลของบริ ษ ัท เช่ น การส่ ง พนัก งานบริ ษ ัท ไปร่ ว ม
ฝึ กอบรมกับพนักงานบริ ษทั ในเครื อซีพีออลล์อื่น และยังมีการสนับสนุนให้พนักงานได้ทาํ
กิ จกรรมร่ วมกันโดยทางบริ ษทั จัดงบประมาณไว้ให้ มีการจัดประกวดร้ องเพลงสําหรั บ
พนักงานบริ ษทั ในเครื อซี พีออลล์ แม้ว่าประโยชน์ที่ได้รับประการนี้ จะไม่เกี่ ยวข้องกับ
การศึ ก ษาหลัก สู ต รการพัฒ นาซอฟต์แ วร์ โ ดยตรง แต่ จ ะเป็ นประโยชน์ใ นอนาคตของ
ข้าพเจ้าอย่างแน่นอน
5. ได้ประสบการณ์ในการใช้ชีวิตการทํางานเสมือนจริ ง ตั้งแต่การเข้างานในตอนเช้า และเลิก
งานในตอนเย็น อี กทั้งยังได้เห็ นถึ งระบบขั้นตอนการดําเนิ นงานของบริ ษ ทั ระดับการ
สัง่ งานตามสายการบังคับบัญชา

หน้า 15
4.2 ปัญหา อุปสรรค และข้ อเสนอแนะ
เนื่องจากข้อมูลในฐานข้อมูลของทางบริ ษทั ฯ เป็ นข้อมูลที่สาํ คัญ จะเกิดความเสี ยหายไม่ได้
ข้าพเจ้าจึงได้รับอนุญาตให้ใช้เครื่ องมือในการจัดการฐานข้อมูลได้อย่างไม่เต็มที่ และหลาย feature
ได้ศึกษาจากเพียงหนังสื อและอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ไม่ได้ลงมือปฏิบตั ิงานจริ ง
ข้าพเจ้าจึงหาทางแก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้าโดยการติดตั้งฐานข้อมูล SQL Server และ
Integration Service รวมถึงโปรแกรม SQL Server Management Studio และ SQL Server Business
Intelligence Development Studio ในรุ่ นที่มีการเปิ ดให้ดาวน์โหลดได้โดยไม่เสี ยค่าใช้จ่าย ซึ่ งใช้ใน
การจัดการกับฐานข้อมูล SQL Server และทํางานลักษณะอื่น เช่น สร้างรายงาน ตามลําดับ ไว้ที่
เครื่ องคอมพิวเตอร์ ส่วนตัว พร้อมทั้งดาวน์โหลดฐานข้อมูล Adventure Work ซึ่ งเป็ นฐานข้อมูล
ตัวอย่างที่เปิ ดให้ผศู ้ ึกษาการใช้งาน SQL Server ได้นาํ ไปศึกษาการทํางานได้โดยไม่เสี ยค่าใช้จ่ายอีก
เช่นกัน แต่รุ่นของ SQL Server ที่เปิ ดให้มีการดาวน์โหลดโดยไม่เสี ยค่าใช้จ่ายนั้นเป็ นเพียงรุ่ น
Express ซึ่งมีความสามารถในการทํางานตํ่ากว่ารุ่ นที่ใช้กนั อยูใ่ นบริ ษทั ทัว่ ไปตามองค์กร จึงทําให้
ไม่สามารถศึ กษาการทํางานได้ครบทุ กส่ วน แต่ ก็ถือว่าได้ทดลองใช้งานระบบฐานข้อมูล SQL
Server จริ ง

หน้า 16
ภาคผนวก

หน้า 17
สํ าเนาแผนทีส่ ถานทีฝ่ ึ กงาน

หน้า 18
ตารางเวลาทีใ่ ช้ ในแต่ ละขั้นตอนของการฝึ กงาน

หน้า 19
หน้า 20
หน้า 21
หน้า 22

You might also like