You are on page 1of 24

˜Åѧ§flÚ

คารบอนเครดิต
Čfl§àÅÒŸ∑
à˜Ò蟟ÚflÃć
เรือ่ ง : ดร.สุกมล หิญชีระนันทน

กับภาวะโลกรอน
ป จจุบนั ประเทศไทยมีความตองการใชพลังงานในอัตรา
ทีเ่ พิม่ ขึน้ จากอดีตเปนอยางมาก เนือ่ งจากการขยายตัว
ของประชากร และการขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยในป 2549
 ⌫ ⌫
    ⌦ 

การขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ อยู ที่ ร อ ยละ 5 เพิ่ ม ขึ้ น จาก 
รอยละ 4.5 ในป 2548 ทำใหสัดสวนการนำเขาเชื้อเพลิง   
เพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง ⌫⌫ 
             ⌫ 
   ⌫  ⌦
⌦⌫   ⌫   ⌫ ⌦
            ⌫           
  ⌫
⌫  ⌫
⌦⌫  ⌫ ⌫⌦
  ⌫⌫

15
 ⌫    ⌫ ⌫ 
 ⌫⌫⌫
  ⌫
                 
  ⌫ ⌫ ⌫
⌦⌫⌫
  
           
⌫
  

 ⌦
⌫       ⌫ 
⌫    ⌫
  ⌦              
              ⌦    ⌫     ⌫ 
  
  ⌫ ⌫ ⌦⌫
⌫  ⌦⌫  
  ⌫ ⌫     ⌧  ⌫   
 ⌫⌫ ⌫   ⌫     
⌦ ⌫     
  ⌫
⌫ ⌫  ⌫ ⌫ ⌧  
⌫   ⌫    ⌫ ⌫
⌫ ⌫    
 ⌫⌫⌫
กาซเรือนกระจก ศักยภาพในการทำใหเกิดภาวะโลกรอน 
(เทาของคารบอนไดออกไซด)         
1. คารบอนไดออกไซด (CO2) 1         
2. มีเทน (CH4) 21  
3. ไนตรัสออกไซด (N2O) 310
4. ไฮโดรฟลูออโรคารบอน (HFCs) 140 -11,700
5. เปอรฟลูออโรคารบอน (PFCs) 6,500 - 9,200
6. ซัลเฟอรเฮกซาฟลูโอไรด (SF6) 23,900

16
  ⌫
   
   
⌫ ⌫
⌫⌫
 ⌦⌫
  ⌫  ⌫  
⌫ ⌫
 
⌫ 
    ⌦               ⌦ ⌫ ⌫      
 ⌦  ⌦
      ⌫        ⌫ 
⌫⌫ 
  ⌫ ⌫    ⌫          ⌫⌫⌫
    ⌫        
   ⌫   
   ⌫   ⌫ ⌫
  ⌫⌫
⌫ ⌫    ⌫  
⌦ ⌫  ⌫⌫
⌫    ⌫  
  ⌫ 
      คารบอนเครดิต เปนผลประโยชนอีกรูปแบบหนึ่ง
⌫⌫  ที่ ภ าคเอกชนจะได รั บ นอกเหนื อ จากการสนั บ สนุ น ของ
 ภาครัฐ ซึ่งชวยใหภาคเอกชนเกิดความคุมคาในการลงทุน
   ด า นพลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานที่ ส ามารถลด
 ⌫      ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม และชวยใหประเทศไทยสามารถ
 บรรลุถึงยุทธศาสตรความมั่นคงดานพลังงานที่กำหนด
           ให มี สั ด ส ว นการใช พ ลั ง งานทดแทนในเชิ ง พาณิ ช ย เ ป น
⌫  รอยละ 8 ในป 2554 ไดรวดเร็วยิง่ ขึน้

17
ศักยภาพในการดําเนินโครงการ CDM

กิจกรรมของมนุษยมีผลกระทบโดยตรงทําใหความเขมขนของกาซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศเพิ่มขึ้น ใน
การดําเนินโครงการเพื่อลดการปลอยกาซเรือนกระจกนั้นสามารถดําเนินการได 15 ประเภท ดังนี้
1. อุตสาหกรรมพลังงาน (จากแหลงพลังงานหมุนเวียน/ไมหมุนเวียน) Energy industries (renewable - /
non-renewable sources)
2. การจัดสงพลังงาน (Energy distribution)
3. ความตองการพลังงาน (Energy demand)
4. อุตสาหกรรมการผลิต (Manufacturing industries)
5. อุตสาหกรรมเคมี (Chemical industries)
6. การกอสราง (Construction)
7. การขนสง (Transport)
8. เหมืองแรและการถลุงแร (Mining/ mineral production)
9. การผลิตโลหะ (Metal production)
10. การรั่วไหลของกาซเรือนกระจกจากเชื้อเพลิง (ของแข็ง น้ํามัน และ กาซ) {Fugitive emissions from
fuels (solid, oil and gas)}
11. การรั่วไหลของกาซเรือนกระจกจากการผลิตและการใชสาร halocarbons และ SF6 (Fugitive
emissions from production and consumption of halocarbons and sulphur hexafluoride)
12. การใชสารละลาย (Solvent use)
13 .การจัดการขยะและการกําจัด (Waste handling and disposal)
14. การปลูกปาและการฟนฟูปา(Afforestation and reforestation)
15. การเกษตรกรรม (Agriculture)

ซึ่งแตละประเภทโครงการมีตนทุนตอตันคารบอนไดออกไซดที่ลดไดแตกตางกัน ดังนั้นในการประเมิน
ศักยภาพจะตองวิเคราะหขอมูลทั้งในสวนของประเภทโครงการ ศักยภาพในการลดการปลอยกาซเรือน
กระจก และตนทุนของโครงการ

ตนทุนของโครงการ CDM มีความหมายแตกตางจากตนทุนของโครงการโดยทั่วไป คือหมายถึงสวนตาง


ของคาใชจายในการทําโครงการ CDM เทียบกับคาใชจายของโครงการที่เปน baseline หรือโครงการที่จะ
เกิดขึ้นเองอยูแลวและใหผลลัพธของโครงการเทากัน โดยมากแลวโครงการ CDM จะมีคาใชจายในการ
ดําเนินการสูงกวาโครงการที่เปน baseline ดังนั้นราคาการซื้อขาย CERs ในตลาดโลก จึงเปนปจจัยสําคัญ
ในการกําหนดศักยภาพการดําเนินโครงการ ซึ่งจะเกิดขึ้นไดเมื่อมีตนทุนตอตันคารบอนไดออกไซดที่ต่ํากวา
ราคาที่มีการตกลงซื้อขายกัน นอกจากนี้ยังมีประเด็นอื่นๆที่ตองพิจารณาคือ มิติของการพัฒนาอยางยั่งยืน
ซึ่งรวมถึงประเด็นดานสังคมและสิ่งแวดลอมเขาไปดวย

ประเภทของโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด
แบงออกเปนสามประเภทคือ

1. โครงการ CDM ทั่วไป


2. โครงการ CDM ดานปาไม
3. โครงการ CDM ขนาดเล็ก

โดยโครงการที่เกี่ยวของกับกระทรวงพลังงานคือโครงการ CDM ทั่วไปซึ่งตองปฏิบัติตามระเบียบที่ไดกลาว


มาแลวและโครงการขนาดเล็กซึ่งมีการออกกฎระเบียบเพิ่มเติมเพื่อชวยลดคาใชจายในการดําเนินการและ
รนระยะเวลาในการขอขึ้นทะเบียนโครงการ

โครงการ CDM ขนาดเล็ก


กิจกรรมโครงการขนาดเล็กภายใตกลไกการพัฒนาที่สะอาด มีขอบเขตการดําเนินงานในขอตกลง
ดังตอไปนี้
• กิจกรรมโครงการพลังงานหมุนเวียนที่มีกําลังการผลิตสูงสุดหรือเทียบเทากับ 15 เมกะวัตต
• กิจกรรมโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงาน ซึ่งชวยลดใชพลังงานทั้งดานอุปสงคและอุปทาน
โดยลดการใชพลังงานไดเทียบเทากับ 60กิกะวัตต-ชั่วโมงตอป
• โครงการอื่นๆ ที่ชวยลดการปลอยกาซเรือนกระจกจากแหลงกําเนิดและกอใหเกิดการปลอยกาซเรือน
กระจกนอยกวา 60 กิโลตันเทียบเทากาซคารบอนไดออกไซดตอป
18
โครงการ CDM ขนาดเล็ก จะไดรับสิทธิพิเศษ ดังนี้
• ใชเอกสารประกอบโครงการ วิธีการคํานวณการลดกาซเรือนกระจกและวิธีการติดตามตรวจสอบปริมาณ
การลดกาซเรือนกระจกที่งายขึ้น
• คาธรรมเนียมในการขึ้นทะเบียนต่ํากวาโครงการทั่วไป
• ระยะเวลาในการพิจารณาโครงการเพือ ่ ขึ้นทะเบียนสั้นกวา
• สามารถใช DOE รายเดียวกันในการตรวจสอบเอกสารประกอบโครงการ (Validation) และการยืนยันการ
ลดกาซเรือนกระจก (Verivication)

โครงการขนาดเล็ก สามารถแบงออกเปนประเภทตางๆ ไดดังตอไปนี้

ประเภท I โครงการพลังงานหมุนเวียน
(Renewable energy projects)

I.A. การผลิตไฟฟาเพื่อใชเอง (Electricity generation by the user)


I.B. การผลิตพลังงานกลใหแกผูใช (Mechanical energy for the user)
I.C. การผลิตพลังงานความรอนใหแกผูใช (Thermal energy for the user)
I.D. การผลิตไฟฟาเชื่อมตอกับระบบสายสง
(Grid connected renewable electricity generation)

ประเภท II โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงาน
(Energy efficiency improvement projects)

II.A. การปรับปรุงประสิทธิภาพในการผลิต – การสงจายกระแสไฟฟา


(Supply side energy efficiency improvements – transmission and distribution)
II.B. การปรับปรุงประสิทธิภาพในการผลิต – การผลิตไฟฟา
(Supply side energy efficiency improvements – generation)
II.C. การปรับปรุงประสิทธิภาพในการใชพลังงานสําหรับเทคโนโลยีเฉพาะบางประเภท
(Demand – side energy efficiency programmes for specific technologies)
II.D. มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงานและการปรับเปลี่ยนชนิดเชื้อเพลิง ในภาคอุตสาหกรรม
(Energy efficiency and fuel switching measures for industrial facilities)
II.E. มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงานและการปรับเปลี่ยนชนิดเชื้อเพลิง ในอาคาร
(Energy efficiency and fuel switching measures for buildings)
II.F. มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงานและการปรับเปลี่ยนชนิดเชื้อเพลิง ในการเกษตร
(Energy efficiency and fuel switching measures for agricultural facilities and activities)

ประเภท III โครงการอื่นๆ

III.A. การเกษตรกรรม (Agriculture)


III.B. การปรับเปลี่ยนประเภทเชื้อเพลิงฟอสซิล (Switching fossil fuels)
III.C. การลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากพาหนะที่มีอัตราการปลอยกาซเรือนกระจกต่ํา
(Emission reductions by low-greenhouse gas emitting vehicles)
III.D. การหลีกเลี่ยงการเกิดกาซมีเทนและการนํากลับคืน (Methane recovery )
III.E. การหลีกเลี่ยงการเกิดกาซมีเทนจากการเนาเปอยของชีวมวลโดยควบคุมการเผาไหม
(Avoidance of methane production from biomass decay through controlled combustion)
III.F. การหลีกเลี่ยงการเกิดกาซมีเทนจากการเนาเปอยของชีวมวลโดยการหมัก
(Avoidance of methane production from biomass decay through composting)
III.G. การนํากลับคืนกาซมีเทนจากหลุมฝงกลบ (Landfill methane recovery)
III.H. การนํากลับคือกาซมีเทนจากระบบบําบัดน้ําเสีย (Methane recovery in wastewater treatment)
III.I. การหลีกเลี่ยงการเกิดกาซมีเทนในระบบบําบัดน้ําเสียโดยการเปลี่ยนจากระบบ
anaerobic lagoons เปน aerobic systems (Avoidance of methane production in wastewater
treatment through replacement of anaerobic lagoons by aerobic systems)

19
ปญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เนื่องจากการปลอยกาซเรือนกระจกจากกิจกรรมการดํารงชีวิตของประชากรโลก
ในปจจุบัน ทั้งจากภาคคมนาคมขนสง ภาค อุตสาหกรรม และภาคเกษตรกรรม เปนปญหารวมกันของนานาชาติ แนวทางหนึ่ง
ในการรวมกันแกปญหาดังกลาวคือ การใหสัตยาบันตออนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United
Nations Framework Convention on Climate Change – UNFCCC) ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อใหประเทศภาคีสมาชิกรวมกันรักษา
ระดับความเขมขนของกาซเรือนกระจกในบรรยากาศใหคงที่ เพื่อบรรลุเปาหมายของการแกไขปญหา ภาวะโลกรอน โดยแบง
ประเทศภาคีสมาชิกประกอบดวยกลุมประเทศตางๆ 3 ประเภท คือ

1. Annex I หมายถึง กลุมประเทศพัฒนาแลวในกลุม Organization for Economic Co-operation and Development (OECD) และ
ประเทศในกลุมยุโรปกลาง ยุโรปตะวันออก และรัสเซีย ที่เรียกวา "กลุมประเทศกําลังเปลี่ยนแปลงโครงสรางเศรษฐกิจเปนระบบ
ตลาดเสรี” หรือ EIT (Economic in Transition) ซึ่งมีพันธะกรณีในการจํากัดและการลดปริมาณกาซเรือนกระจกใหอยูในระดับ
เดียวกับป พ.ศ. 2533
2. Annex II หมายถึง กลุมประเทศ OECD ที่เปนสมาชิกใน Annex I มีพันธะพิเศษในการกระจายเงินทุนเพื่อชวยประเทศที่กําลัง
พัฒนาในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ดานการถายทอดเทคโนโลยีและวิธีการปฏิบัติ
3. Non-Annex I หมายถึง ประเทศกําลังพัฒนาทั้งหมด ไมมีพันธกรณีในการลดกาซเรือนกระจก
โดยประเทศไทยไดเขารวมใหสัตยาบันในพิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2545 เนื่องจากประเทศ
ไทยไมไดอยูในกลุมภาคผนวกที่ 1 จึงไมมีพันธกรณีในการลดการปลอยกาซเรือนกระจก อยางไรก็ดีประเทศไทยสามารถรวม
ในการลดการปลอยกาซเรือนกระจกได จากการดําเนินโครงการภายใตกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development
Mechanism: CDM)

พิธีสารเกียวโต
ภายใต UNFCCC ไดกําหนดกลไกดําเนินการเพื่อลดการปลอยกาซเรือนกระจก Flexibility mechanisms) ไว 3 กลไก เพื่อลด
ภาระคาใชจายในการลดกาซเรือนกระจกของประเทศในภาคผนวกที่ I ไดแก

1. การซื้อขายกาซเรือนกระจก (Emission Trading: ET)


เปนการซื้อขายแลกเปลี่ยนปริมาณการลดการปลอยกาซเรือนกระจกที่ประเทศในกลุมภาคผนวกที่ II ไดรับ โดยสิทธิที่
ไดรับการปลอยกาซเรือนกระจกที่จะซื้อขายกันเรียกวา Assigned Amount Units (AAUs)
การดําเนินการรวม (Joint Implementation: JI) เปนการดําเนินการรวมกันระหวางประเทศในกลุมภาคผนวกที่ I
2. การดําเนินการรวม (Joint Implementation: JI)
เปนการดําเนินการรวมกันระหวางประเทศในกลุมภาคผนวกที่ I ดวยกันเองเพื่อลดการปลอยกาซเรือนกระจกเพิ่มเติมจาก
มาตรการที่จะเกิดขึ้นอยูแลวในสภาวะธุรกิจปกติ โดยปริมาณกาซเรือนกระจกที่ลดไดเรียกวา Emission Reduction Units
(ERUs)
3. กลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism: CDM)
เปนการดําเนินการรวมกันระหวางประเทศในกลุมภาคผนวกที่ I และประเทศนอกภาคผนวกที่ I เพื่อลดการปลอยกาซเรือน
กระจกเพิ่มเติมจากมาตรการที่จะเกิดขึ้นอยูแลวในสภาวะธุรกิจปกติ โดยปริมาณกาซเรือนกระจกที่สามารถลดไดและผานการ
ตรวจวัดแลวเรียกวา Certified Emission Reductions (CERs)

ในปจจุบันมีประเทศตางๆ เปนภาคีสมาชิกพิธีสารเกียวโตถึง 163 ประเทศ โดยประเทศไทยไดเขารวมใหสัตยาบันในพิธีสาร


เกียวโต (Kyoto Protocol) เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2545 เนื่องจากประเทศไทยไมไดอยูในกลุมภาคผนวกที่ 1 จึงไมมี

1
พันธกรณีในการลดการปลอยกาซเรือนกระจก อยางไรก็ดีประเทศไทยสามารถรวมในการลดการปลอยกาซเรือนกระจกได จาก
การดําเนินโครงการภายใตกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism: CDM)

รูปที่ 1 กลไกการซื้อขายปริมาณการปลอยกาซในรูปของ ET, JI และ CDM

รูปแบบการดําเนินโครงการ CDM ในปจจุบัน

Multilateral CDM co-operation


การรวมมือในรูปแบบ Multilateral CDM นั้นเปนการจัดสรรเงินกองทุนที่ไดจากผูรวมลงทุนไปยังผูพัฒนาโครงการ ไดแก
World Band Carbon Finance Unit, Italy BioCarbon Fund, Netherlands Community Development Fund, CAF เปนตน
Bilateral CDM co-operation
ความรวมมือในแบบ Bilateral CDM นั้น ผูลงทุนหรือประเทศในกลุม Annex 1 จะรวมกับประเทศที่ดําเนินโครงการหรือ Non-
Annex 1 เพื่อพัฒนาโครงการ ราคาของคารบอนเครดิตอยูที่การตกลงระหวางกันทั้งนี้ขึ้นกับความเสี่ยงและขั้นตอนของการ
ดําเนินโครงการ
Unilateral CDM co-operation
ผูดําเนินโครงการเปนเอกชนของประเทศกําลังพัฒนาที่เปนที่ตั้งของโครงการดําเนินโครงการดวยตนเองทั้งหมด

ขอกําหนดสําหรับโครงการ CDM (Marrakech Accords)


เขารวมโครงการโดยสมัครใจ
ประเทศที่รวมโครงการตองใหสัตยาบันตอพิธีสารเกียวโตแลจัดตั้งองคกรกํากับดูแลการดําเนินงานดาน
CDM (Designated National Authority: DNA)
ตองจัดทําการวิเคราะหผลกระทบดานสิ่งแวดลอม
ตองไดรับจดหมายเห็นชอบจาก DNA ของแตละประเทศที่รวมโครงการ
ประเทศเจาบานตองยืนยันวาโครงการชวยในการพัฒนาอยางยั่งยืน
กาซเรือนกระจกที่ลดไดเปนสวนที่นอกเหนือจากที่จะเกิดขึ้นอยูแลว

2
เอกสารที่จําเปนในการยื่นขออนุมัติโครงการ
แบบฟอรม
ความเห็นชอบจากกระทรวงที่เกี่ยวของ
Project Design Document (PDD)
คุณสมบัติของผูพัฒนาโครงการ
การคํานวณปริมาณการปลอยกาซจากการดําเนินงานตามปกติ
กําหนดระยะเวลาในการแลกเปลี่ยน CERs
รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบื้องตน Initial Environmental Evaluation: IEE
คาธรรมเนียมในการวิเคราะหโครงการ

เอกสารประเมินศักยภาพเบื้องตนสําหรับผูประกอบการ
ในการดําเนินโครงการ CDM ผูประกอบการควรประเมินศักยภาพเบื้องตนของโครงการกอนวามีความเหมาะสมที่จะเปน
โครงการ CDM หรือไม โดยใชแบบประเมินเบื้องตนหรือ Project Idea Note (PIN) ซึ่งจะทําใหผูประกอบการสามารถเห็น
ภาพรวมของการโครงการที่จะพัฒนาเปนโครงการ CDM ไดงายขึ้น และเปนขอมูลพื้นฐานสําหรับกรอกเอกสารประกอบ
โครงการ Project Design Document (PDD) เพื่อเสนอขอขึ้นทะเบียนเปนโครงการ CDM กับ CDM-Executive Board

การดําเนินโครงการ CDM สามารถแบงการดําเนินการออกเปน 2 ระยะ คือ ระยะเตรียมการเพื่อขอขึ้นทะเบียนเปนโครงการ


CDM และระยะดําเนินโครงการ โดยทั้งสองระยะนี้ สามารถแบงออกเปน 7 ขั้นตอน ไดแก
1. ออกแบบโครงการ (Project Design)
ผูดําเนินโครงการจะตองออกแบบลักษณะของโครงการและจัดทําเอกสารประกอบโครงการ (Project Design Document: PDD)
โดยมีการกําหนดขอบเขตของโครงการ วิธีการคํานวณการลดกาซเรือนกระจก วิธีการในการติดตามผลการลดกาซ การวิเคราะห
ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม เปนตน
2. การตรวจสอบเอกสารประกอบโครงการ (Validation) ประกอบดวย 2 สวน คือ
ผูดําเนินโครงการจะตองจางหนวยงานกลางที่ไดรับมอบหมายในการปฏิบัติหนาที่แทนคณะกรรมการบริหารฯ (CDM
Executive Board: CDM EB) หรือที่เรียกวา Designated Operational Entity (DOE) ในการตรวจสอบเอกสารประกอบโครงการ
วาเปนไปตามขอกําหนดตางๆ หรือไม
ผูดําเนินโครงการจะตองไดรับหนังสือเห็นชอบในการดําเนินโครงการจากประเทศเจาบาน โดยหนวยงาน Designated National
Authority (DNA) ซึ่งเปนการยืนยันวาโครงการที่เสนอนั้น เปนโครงการที่ดําเนินการโดยสมัครใจ และโครงการมีสวนชวยใน
การพัฒนาอยางยั่งยืนของประเทศเจาบานที่โครงการนั้นตั้งอยู
3. ขึ้นทะเบียนโครงการ (Registration)
เมื่อ DOE จัดสงรายงานไปยังคณะกรรมการบริหารฯ เพื่อขอขึ้นทะเบียนโครงการที่ผานขอกําหนดตางๆครบถวน
4. ติดตามการลดการปลอยกาซเรือนกระจก (Monitoring)
เมื่อโครงการไดรับการขึ้นทะเบียนเปนโครงการ CDM แลว ผูดําเนินโครงการจึงดําเนินโครงการตามที่เสนอไว และทําการ
ติดตามการลดการปลอยกาซเรือนกระจก
5. การยืนยันการลดกาซเรือนกระจก (Verification)
ผูดําเนินโครงการจะตองจางหนวยงาน DOE ใหทําการตรวจสอบและยืนยันการติดตามการลดกาซเรือนกระจก
6. การรับรองการลดกาซเรือนกระจก (Certification)

3
เมื่อหนวยงาน DOE ไดทําการตรวจสอบการลดการปลอยกาซเรือนกระจกแลว จะทํารายงานรับรองตอคณะกรรมการบริหารฯ
เพื่อขออนุมัติใหออก CERs ใหผูดําเนินโครงการ
7. ออกคารบอนเครดิต (Issuance)
เมื่อคณะกรรมการบริหารฯ ไดรับรายงานรับรองการลดกาซเรือนกระจก จะไดพิจารณาออก CERs ใหตอไป

รูปที่ 2 รางขั้นตอนการดําเนินโครงการ CDM จาก สผ.

คาใชจายในการดําเนินกระบวนการขอขึ้นทะเบียนโครงการ
คาใชจาย (US$)
การศึกษาขอมูล (Baseline study) 18,000 - 23,000
การจัดทําแผนการติดตามผล (Monitoring Plan) 7,000 – 15,000
การตรวจเอกสารประกอบโครงการ (Validation) 15,000 – 30,000
การเตรียมสัญญาซื้อขาย (ERPA preparation) 23,000 – 38,000
คาธรรมเนียมการขึ้นทะเบียนโครงการ (Registration) 10,000 – 30,000

4
การตรวจสอบความถูกตองการลดกาซ (Verification) 7,000 per
Total 143,000 – 206,000
ที่มา: การศึกษากําหนดกรอบและหลักเกณฑการดําเนินงานดานกลไกการพัฒนาที่สะอาด (CDM) สําหรับภาคพลังงานของประเทศ (2548)

ศักยภาพในการดําเนินโครงการ CDM
กิจกรรมของมนุษยมีผลกระทบโดยตรงทําใหความเขมขนของกาซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศเพิ่มขึ้น ในการดําเนินโครงการ
เพื่อลดการปลอยกาซเรือนกระจกนั้นสามารถดําเนินการได 15 ประเภท ดังนี้
1. อุตสาหกรรมพลังงาน (จากแหลงพลังงานหมุนเวียน/ไมหมุนเวียน) Energy industries (renewable - / non-renewable sources)
2. การจัดสงพลังงาน (Energy distribution)
3. ความตองการพลังงาน (Energy demand)
4. อุตสาหกรรมการผลิต (Manufacturing industries)
5. อุตสาหกรรมเคมี (Chemical industries)
6. การกอสราง (Construction)
7. การขนสง (Transport)
8. เหมืองแรและการถลุงแร (Mining/ mineral production)
9. การผลิตโลหะ (Metal production)
10. การรั่วไหลของกาซเรือนกระจกจากเชื้อเพลิง (ของแข็ง น้ํามัน และ กาซ) {Fugitive emissions from fuels (solid, oil and
gas)}
11. การรั่วไหลของกาซเรือนกระจกจากการผลิตและการใชสาร halocarbons และ SF6 (Fugitive emissions from production and
consumption of halocarbons and sulphur hexafluoride)
12. การใชสารละลาย (Solvent use)
13 .การจัดการขยะและการกําจัด (Waste handling and disposal)
14. การปลูกปาและการฟนฟูปา(Afforestation and reforestation)
15. การเกษตรกรรม (Agriculture)

ซึ่งแตละประเภทโครงการมีตนทุนตอตันคารบอนไดออกไซดที่ลดไดแตกตางกัน ดังนั้นในการประเมินศักยภาพจะตอง
วิเคราะหขอมูลทั้งในสวนของประเภทโครงการ ศักยภาพในการลดการปลอยกาซเรือนกระจก และตนทุนของโครงการ
ตนทุนของโครงการ CDM มีความหมายแตกตางจากตนทุนของโครงการโดยทั่วไป คือหมายถึงสวนตางของคาใชจายในการทํา
โครงการ CDM เทียบกับคาใชจายของโครงการที่เปน baseline หรือโครงการที่จะเกิดขึ้นเองอยูแลวและใหผลลัพธของโครงการ
เทากัน โดยมากแลวโครงการ CDM จะมีคาใชจายในการดําเนินการสูงกวาโครงการที่เปน baseline ดังนั้นราคาการซื้อขาย CERs
ในตลาดโลก จึงเปนปจจัยสําคัญในการกําหนดศักยภาพการดําเนินโครงการ ซึ่งจะเกิดขึ้นไดเมื่อมีตนทุนตอตัน
คารบอนไดออกไซดที่ต่ํากวาราคาที่มีการตกลงซื้อขายกัน นอกจากนี้ยังมีประเด็นอื่นๆที่ตองพิจารณาคือ มิติของการพัฒนาอยาง
ยั่งยืนซึ่งรวมถึงประเด็นดานสังคมและสิ่งแวดลอมเขาไปดวย

ประเภทของโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด
แบงออกเปนสามประเภทคือ
1. โครงการ CDM ทั่วไป
2. โครงการ CDM ดานปาไม
5
3. โครงการ CDM ขนาดเล็ก

โดยโครงการที่เกี่ยวของกับกระทรวงพลังงานคือโครงการ CDM ทั่วไปซึ่งตองปฏิบัติตามระเบียบที่ไดกลาวมาแลวและ


โครงการขนาดเล็กซึ่งมีการออกกฎระเบียบเพิ่มเติมเพื่อชวยลดคาใชจายในการดําเนินการและรนระยะเวลาในการขอขึ้นทะเบียน
โครงการ
โครงการ CDM ขนาดเล็ก
กิจกรรมโครงการขนาดเล็กภายใตกลไกการพัฒนาที่สะอาด มีขอบเขตการดําเนินงานในขอตกลงดังตอไปนี้
• กิจกรรมโครงการพลังงานหมุนเวียนที่มีกําลังการผลิตสูงสุดหรือเทียบเทากับ 15 เมกะวัตต
• กิจกรรมโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงาน ซึ่งชวยลดใชพลังงานทั้งดานอุปสงคและอุปทาน โดยลดการใช
พลังงานไดเทียบเทากับ 60กิกะวัตต-ชั่วโมงตอป
• โครงการอื่นๆ ที่ชวยลดการปลอยกาซเรือนกระจกจากแหลงกําเนิดและกอใหเกิดการปลอยกาซเรือนกระจกนอยกวา 60 กิโล
ตันเทียบเทากาซคารบอนไดออกไซดตอป
โครงการ CDM ขนาดเล็ก จะไดรับสิทธิพิเศษ ดังนี้
• ใชเอกสารประกอบโครงการ วิธีการคํานวณการลดกาซเรือนกระจกและวิธีการติดตามตรวจสอบปริมาณการลดกาซเรือน
กระจกที่งายขึ้น
• คาธรรมเนียมในการขึ้นทะเบียนต่ํากวาโครงการทั่วไป
• ระยะเวลาในการพิจารณาโครงการเพื่อขึ้นทะเบียนสั้นกวา
• สามารถใช DOE รายเดียวกันในการตรวจสอบเอกสารประกอบโครงการ (Validation) และการยืนยันการลดกาซเรือนกระจก
(Verivication)
โครงการขนาดเล็ก สามารถแบงออกเปนประเภทตางๆ ไดดังตอไปนี้
ประเภท I โครงการพลังงานหมุนเวียน (Renewable energy projects)
I.A. การผลิตไฟฟาเพื่อใชเอง (Electricity generation by the user)
I.B. การผลิตพลังงานกลใหแกผูใช (Mechanical energy for the user)
I.C. การผลิตพลังงานความรอนใหแกผูใช (Thermal energy for the user)
I.D. การผลิตไฟฟาเชื่อมตอกับระบบสายสง
(Grid connected renewable electricity generation)

ประเภท II โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงาน (Energy efficiency improvement projects)


II.A. การปรับปรุงประสิทธิภาพในการผลิต – การสงจายกระแสไฟฟา
(Supply side energy efficiency improvements – transmission and distribution)
II.B. การปรับปรุงประสิทธิภาพในการผลิต – การผลิตไฟฟา
(Supply side energy efficiency improvements – generation)
II.C. การปรับปรุงประสิทธิภาพในการใชพลังงานสําหรับเทคโนโลยีเฉพาะบางประเภท
(Demand – side energy efficiency programmes for specific technologies)
II.D. มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงานและการปรับเปลี่ยนชนิดเชื้อเพลิง ในภาคอุตสาหกรรม
(Energy efficiency and fuel switching measures for industrial facilities)
II.E. มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงานและการปรับเปลี่ยนชนิดเชื้อเพลิง ในอาคาร
(Energy efficiency and fuel switching measures for buildings)

6
II.F. มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงานและการปรับเปลี่ยนชนิดเชื้อเพลิง ในการเกษตร
(Energy efficiency and fuel switching measures for agricultural facilities and activities)

ประเภท III โครงการอื่นๆ


III.A. การเกษตรกรรม (Agriculture)
III.B. การปรับเปลี่ยนประเภทเชื้อเพลิงฟอสซิล (Switching fossil fuels)
III.C. การลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากพาหนะที่มีอัตราการปลอยกาซเรือนกระจกต่ํา
(Emission reductions by low-greenhouse gas emitting vehicles)
III.D. การหลีกเลี่ยงการเกิดกาซมีเทนและการนํากลับคืน (Methane recovery )
III.E. การหลีกเลี่ยงการเกิดกาซมีเทนจากการเนาเปอยของชีวมวลโดยควบคุมการเผาไหม
(Avoidance of methane production from biomass decay through controlled combustion)
III.F. การหลีกเลี่ยงการเกิดกาซมีเทนจากการเนาเปอยของชีวมวลโดยการหมัก
(Avoidance of methane production from biomass decay through composting)
III.G. การนํากลับคืนกาซมีเทนจากหลุมฝงกลบ (Landfill methane recovery)
III.H. การนํากลับคือกาซมีเทนจากระบบบําบัดน้ําเสีย
(Methane recovery in wastewater treatment)
III.I. การหลีกเลี่ยงการเกิดกาซมีเทนในระบบบําบัดน้ําเสียโดยการเปลี่ยนจากระบบ
anaerobic lagoons เปน aerobic systems
(Avoidance of methane production in wastewater treatment through replacement of anaerobic lagoons by aerobic systems)
วิธีการคิดกรณีฐานและการติดตามผล (Baseline and Monitoring Methodology)

ในการคํานวณปริมาณกาซเรือนกระจกที่ลดไดจากการดําเนินโครงการนั้น ตองใชวิธีที่ไดรับการเห็นชอบจากคณะ
กรรมการบริหารฯ (EB) หรือผูดําเนินโครงการสามารถยื่นเสนอวิธีการคํานวณที่เหมาะสมเพื่อขอความเห็นชอบจากคณะ
กรรมการบริหารฯ ซึ่งวิธีการคํานวณการลดกาซเรือนกระจกที่ไดรับการอนุมัติแลวแสดงใน UNFCCC website
(http://cdm.unfccc.int)

หลักการพื้นฐานของการคํานวณคือ emission ที่ลดไดคือ emission ที่โครงการสามารถลดไดเมื่อเทียบกับกิจการที่ไมมีการ


ดําเนินโครงการ ซึ่งจะมีประโยชนในการนําไปคํานวณเปนคา CERs

ตัวอยางการคํานวณ Emission reduction สําหรับ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพพลังงานในประเทศไทย


การปลอย CO2 จากเชื้อเพลิงทุกชนิดที่ใชในการผลิตกระแสไฟฟาสายสงสามารถคํานวณไดโดยใชขอมูลในตารางดานลาง
การประเมินการผลิตไฟฟาสายสงของประเทศในป 2006 โดย EGAT
Type of generation Grid Fuel Consumption
Hydroelectric 4,372 GWh
Natural gas 1,810 MMSCFD
Heavy oil 257 MLitres
7
Diesel oil 76 MLitres
Lignite 18.33 Mtons
Imported coal 5.342 Mtons
Other purchases
SPP 13,786 GWh
Lao PDR 2,810 GWh
NEW IPP 0 GWh
Total for the year 140,415 GWh

ตัวอยางการคํานวณการปลอย CO2 จากการใชลิกไนตเปนเชื้อเพลิง สามารถคํานวณไดตามสูตร ที่แสดงดานลาง

NCV = Net Calorific Values - http://www.ipcc-nggip.iges.or.jp/public/gl/invs6.htm


CEF = Carbon Emission Factor - http://www.ipcc-nggip.iges.or.jp/public/gl/invs6.htm
MCF = Mass Conversion Factor (tCO2/tC) = 44/12
สามารถแทนคาลงในสูตรเพื่อหาการปลอย CO2 จากการใชลิกไนตเปนเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟาไดดังนี้

จากนั้นคํานวณคาการปลอย CO2 จากเชื้อเพลิงชนิดตางๆ ที่แสดงในตารางของ EGAT จะไดวามีการปลอย CO2 จากการผลิต


ไฟฟาในป 2006 ประมาณ 87,700,079 ตัน ซึ่งสามารถนําไปคํานวณเปน CO2 emission factor ของการผลิตไฟฟาไดดังนี้

หมายความวาทุกๆ 1 MWh ของการผลิตไฟฟาจะเกิดกาซ CO2 เทากับ 0.624 ตัน ซึ่งคาดังกลาวนําไปใชประโยชนในการ


คํานวณ Emission reduction ของโครงการ CDM ได

ตัวอยางที่ 1 โครงการเปลี่ยนหลอดไฟฟาเพื่อประหยัดพลังงาน
โครงการตัวอยางจะทําการเปลี่ยนชนิดของหลอดไฟฟาเพื่อประหยัดการใชไฟ

8
การปลอย CO2 จากการใชหลอดไฟฟา (มาจากการปลอย CO2 ในกระบวนการผลิตกระแสไฟฟาของ EGAT)

โดย CEF ที่ใชมาจากการคํานวณการปลอย CO2 จากเชื้อเพลิงชนิดตางๆ ที่ EGAT ผลิตไฟฟาในป 2006 คือ CEF = 0.624 สวน
technical loss in the grid หมายถึงการสูญเสียไฟฟาไปในระบบสายสง

ดังนั้นโครงการนี้จะสามารถลดการปลอย CO2 ได 109.62 เมกกะตันตอป ซึ่งจะสามารถนําไปซื้อขายเปน CERs ได

ตัวอยางที่ 2 โครงการพลังงานหมุนเวียน
โครงการตัวอยางตองการนํากาซชีวภาพจากบอบําบัดน้ําเสียมาใชในการผลิตกระแสไฟฟา ซึ่งเปนวิธีที่ชวยลดการปลอยกาซ
มีเทนซึ่งเปนกาซเรือนกระจกสูบรรยากาศ อีกทั้งชวยลดการใชเชื้อเพลิงฟอสซิลจากการใชไฟฟาของ EGAT อีกดวย
การปลอย CO2 จากการดําเนินงานปกติ โรงงานผลิตแปงมันจะมีน้ําเสียจากกระบวนการผลิตซึ่งโรงงานจะนําไปบําบัดในบอ
เปดกอนปลอยสูแหลงน้ําธรรมชาติ ซึ่งมีแผนผังการดําเนินงานดังนี้

9
ขอมูลการดําเนินงานงานปกติ
COD Data
COD of waste influent to lagoons 16 KgCOD/M3 of wastewater
Wastewater generation rate 2,800 M3/day
NO. of operating days 210 days/year
Fuel Substitution
Energy content of biogas 57.09 GJ/tCH4
Carbon content of fossil fuel 21.1 TC/TJ

ในการคํานวณการปลอย CO2 จากการดําเนินงานปกติ แหลงที่ปลอย CO2 จะมาจาก 2 แหลงคือ


• จากบอบําบัดน้ําเสียแบบเปด (Emissions from Open Lagoon)
การปลอยกาซเรือนกระจกจากบอบําบัดน้ําเสียแบบเปดจะขึ้นกับ
- คา COD (Chemical Oxygen Demand) ของน้ําเสียที่เขาสูระบบ
- คา Bo (Maximum Methane Producing Capacity)
จาก AM0013 Version 2 กําหนดให B0 = 0.21 kg CH4/kg COD
- คา MCF (Methane Conversion Factor) เปนสัดสวนของน้ําเสียที่สามารถถูกยอยสลายดวยกระบวนการไรออกซิเจนในระบบ
เปด

10
จาก AM0013 Version 2 กําหนดให MCF = 0.738

• จากการใชเชื้อเพลิงฟอสซิล
ในการคํานวณจะคิดจากการทดแทน เชื้อเพลิงฟอสซิลดวยเชื้อเพลิงจากกาซชีวภาพเพื่อใชในประบวนการผลิตของโรงงาน

พารามิเตอรที่ใชในสมการดานบนมาจาก IPCC Reference Approachมีคาดังนี้


Energy content of Biogas : 24.5 MJ/Nm3
Carbon content of fuel oil : 21.1 tC/TJ

การปลอย CO2 จากการดําเนินโครงการ


การดําเนินโครงการเพื่อนํากาซมีเทนจากบอบําบัดแบบเปดนั้น โรงงานจะทําการติดตั้งถังหมักน้ําเสียจากกระบวนการผลิตแบบ
UASB กาซมีเทนที่ไดจากถังหมักจะนําไปใชในการผลิตกระแสไฟฟาทดแทนการใชน้ํามันของโรงงาน น้ําเสียที่ผานระบบ
UASB จะมีคุณภาพดีขึ้นและปลอยกาซเรือนกระจกนอยลง สามารถนําไปบําบัดในบอบําบัดแบบเปดกอนปลอยสูแหลงน้ํา
ธรรมชาติ ซึ่งมีแผนผังการดําเนินงานดังนี้

11
ขอมูลการดําเนินโครงการ
Methane emission from lagoon
COD of effluent from digester 3.2 KgCOD/M3 wastewater
Wastewater generation rate 2,800 M3/day
NO. of operating days 210 days/year
Emissions from electricity consumption in digester
Electricity consumption per year 231 MWh

Emission factor for grid electricity 0.624 (from previous case study)

ในการคํานวณการปลอย CO2 จากการดําเนินงานปกติ แหลงที่ปลอย CO2 จะมาจาก 3 แหลงคือ


• จากบอบําบัดน้ําเสียแบบเปด

12
• จากการรั่วไหลออกจากระบบบําบัดแบบปด
จากขอกําหนดของ IPCC version 2 คิดการรั่วไหลของกาซเรือนกระจกจากระบบบําบัดแบบปดเปน 15% ของกาซชีวภาพที่ผลิต
ได

• จากการใชไฟฟาในการเดินระบบบําบัดน้ําเสียแบบปด
โดยคิดวาการใชไฟฟาจาก EGAT ในการเดินระบบบําบัดน้ําเสียทําใหเกิดการปลอย CO2 ในการผลิตไฟฟา

ตารางสรุปการปลอย CO2 ในการดําเนินงานปกติและการดําเนินโครงการ


Baseline Emission Unit (tCO2/yr)
1. Emission from Open Lagoon 30,619
2. Emission from Fossil fuel combustion 912
Total Baseline Emission 31,531
Project Emission Unit (tCO2/yr)
1. Emission from Open Lagoon 6,123
2. Emission from Digester Leakage 3,673
3. Emission from Digester’s aux. equip. 144

13
Total Project Emission 9,940
Emission Reduction Unit (tCO2/yr)
Baseline Emission – Project Emission 21,591

การดําเนินงานของประเทศไทย
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มีหนาที่รับผิดชอบในฐานะหนวยงานกํากับดูแลการดําเนินงานตามกลไกการ
พัฒนาที่สะอาด โดยสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (สผ.) เปนหนวยงานหลักในการ
ประสานงานดานการปฏิบัติโครงการ CDM โดยศูนยประสานการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เปนหนวยงานที่ทํา
หนาที่อํานวยความสะดวกและใหการสนับสนุนภาคเอกชนและหนวยงานของรัฐที่ประสงคจะดําเนินโครงการ CDM ดังแสดง
ในรูปที่ 3

รูปที่ 3 โครงสรางของหนวยงานที่เกี่ยวของในการอนุมัติโครงการ (คลิกเพื่อดูรูปใหญ)

ศักยภาพของประเทศไทย

รูปที่ 4 สัดสวนของกาซเรือนกระจกรายสาขาเศรษฐกิจ ป 2546.

ที่มา:การศึกษากําหนดกรอบและหลักเกณฑการดําเนินงานดานกลไกการพัฒนาที่สะอาด (CDM) สําหรับภาคพลังงานของ


ประเทศ (2548)
จากภาพแสดงสัดสวนการปลดปลอยกาซเรือนกระจกตามสาขาเศรษฐกิจจะเห็นไดวาสาขาพลังงานปลดปลอยกาซเรือนกระจก
มากที่สุด และพบวาสาขาพลังงานเปนสาขาที่มีศักยภาพและความพรอมในการลดกาซเรือนกระจกรวมถึงการลดการปลอยกาซ

14
มีเทนจากของเสียเพื่อใชเปนพลังงานมากที่สุด โดยแบงโครงการในสาขาพลังงานออกเปน 3 ประเภทหลัก คือ

1. การผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน
โรงไฟฟาชีวมวล
พลังงานลม
พลังงานแสงอาทิตย
เชื้อเพลิงชีวภาพ

2. การผลิตและใชเชื้อเพลิงชีวภาพ
กาซชีวภาพ
เอทานอล
ไบโอดีเซล

3. การปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงาน
ภาคอุตสาหกรรม (เพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิต)
ภาคธุรกิจ (ลดการใชพลังงาน)

การวิเคราะหศักยภาพของประเทศไทยในการดําเนินโครงการ CDM ดานพลังงาน


จากการที่กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงานไดมอบหมายใหบริษัท อีอารเอ็ม-สยาม จํากัด ดําเนินการศึกษาการ
ดําเนินงานดานกลไกการพัฒนาที่สะอาดของประเทศ ไดผลการศึกษาศักยภาพของประเทศไทยในการดําเนินโครงการ CDM
ภาคพลังงาน โดยคํานวณจากตนทุนหนวยสุดทายในการลดกาซเรือนกระจก ดังแสดงในรูปที่ 5

รูปที่ 5 เสนตนทุนหนวยสุดทายในการดําเนินโครงการ CDM ดานพลังงานของประเทศไทย

เสนตนทุนหนวยสุดทายในการลดกาซเรือนกระจก หรือ Marginal Abatement Curve (MAC) ซึ่งสามารถสรางขึ้นโดยนํา


ศักยภาพการดําเนินโครงการ CDM ทุกโครงการมาเรียงกันตามลําดับตนทุนจากที่มีมูลคาต่ําที่สุดไปยังโครงการที่มีมูลคาสูงสุด
โดยแกนตั้งเปนราคาตอหนวยและแกนนอนเปนปริมาณ CERs ของแตละประเภทโครงการ เสนตนทุนดังกลาวมีความสําคัญใน
การพิจารณาศักยภาพการลดกาซเรือนกระจกของประเทศไทย เนื่องจากสามารถระบุไดวา ณ ราคาหนึ่ง จะมีโครงการ CDM ที่มี

15
ตนทุนในการลดกาซเรือนกระจกต่ํากวาราคานั้นจํานวนเทาใด (เทียบเปนตันคารบอนไดออกไซดเทียบเทา) เนื่องจากในการ
ดําเนินโครงการนั้นผูดําเนินโครงการควรสามารถขาย CERs ในราคาที่สูงกวาตนทุนที่ใชในการลดกาซเรือนกระจก ดังนั้นถา
ราคาตลาดเพิ่มสูงขึ้นจํานวนโครงการที่มีศักยภาพจะเพิ่มขึ้นดวย
ราคาซื้อขาย CERs ในป พ.ศ. 2547 เฉลี่ยอยูที่ประมาณ 5 – 6 เหรียญสหรัฐตอตัน ดังนั้นเมื่อพิจารณาความเปนไปไดในอนาคตที่
ราคาประมาณ 12 เหรียญตอตัน พบวาควรพิจารณาโครงการที่มีตนทุนไมเกิน 10 เหรียญตอตันเปนหลัก โดยประเทศไทยมี
ศักยภาพในการดําเนินโครงการดังกลาวในภาคพลังงานที่ประมาณ 34.7 ลานตันหรือคิดเปนรอยละ 10.2 ของปริมาณการปลอย
กาซเรือนกระจกของประเทศไทยในป พ.ศ. 2546 ประเภทโครงการเหลานี้ ไดแก

• การปรับปรุงประสิทธิภาพการเผาไหมและหมอตมไอน้ํา
• การผลิตไบโอดีเซลจากน้ํามันพืชที่ใชแลว
• การปรับปรุงประสิทธิภาพไฟสองสวางและระบบปรับอากาศ
• การผลิตไฟฟาจากเหงามันสําปะหลัง ซังขาวโพด ทะลายปาลม ใบออย เสนใย ปาลม กะลาปาลม
• การลดการปลอยกาซมีเทนจากขยะและน้ําเสียจากฟารมสุกร อุตสาหกรรมน้ํามันปาลม น้ํามันพืช แปงมัน น้ําตาล กระดาษ
และ อุตสาหกรรมนม

อยางไรก็ดี โครงการที่มีตนทุนต่ําซึ่งมีความเปนไปไดในทางธุรกิจสูงไมไดแสดงถึงการเปนโครงการพัฒนาอยางยั่งยืนของ
ประเทศเสมอไป ดังนั้น ในการพิจารณาสนับสนุนโครงการตองพิจารณาทั้งความเปนไปไดทางธุรกิจและการพัฒนาอยางยั่งยืน
ของโครงการดวย
กระทรวงพลังงาน
ภาคพลังงานเปนภาคหลักในการปลดปลอยกาซเรือนกระจก จึงเปนสาขาที่มีศักยภาพมากที่สุดในการเขารวมกลไกการพัฒนาที่
สะอาด กระทรวงพลังงานจึงมีบทบาทสําคัญในการสงเสริมโครงการดังกลาวที่ตองดําเนินไปพรอมกับการพัฒนาพลังงานอยาง
ยั่งยืนของประเทศ โดยบทบาทของกระทรวงพลังงานสามารถแบงไดเปน 3 สวน คือ
- บทบาทในคณะกรรมการบริหารองคการบริหารจัดการภาวะเรือนกระจก หรือ Designated National Authority (DNA) ของ
ประเทศไทย ทําหนาที่พิจารณาอนุมัติโครงการ CDM ที่สงเสริมการพัฒนาอยางยั่งยืนภายในประเทศ
- บทบาทตามที่ไดรับมอบหมายจากองคการบริหารจัดการภาวะเรือนกระจกในการพิจารณาโครงการ
- บทบาทเพื่อสงเสริมกลไกการพัฒนาที่สะอาดในประเทศไทย

16
รูปที่ 6 รางขั้นตอนการพิจารณาอนุมัติโครงการกรณีมีองคกรการบริหารจัดการภาวะกาซกระจกที่จัดทําโดย สผ.

• หลักเกณฑในการประเมินและพิจารณาโครงการ
การพิจารณาโครงการของกระทรวงพลังงาน จะเนนการพัฒนาพลังงานอยางยั่งยืน ดังตอไปนี้
- สอดคลองกับนโยบายและแผนยุทธศาสตรพลังงานของประเทศ
- กอใหเกิดความยั่งยืนในดานเทคโนโลยี
- กอใหเกิดความยั่งยืนดานเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดลอม

รางหลักเกณฑในการพิจารณาความยั่งยืนดานพลังงานของโครงการ
หลักเกณฑในการพิจารณาโครงการ CDM
รายละเอียด
ภาคพลังงาน
1. มีความสอดคลองกับนโยบาย ยุทธศาสตรพลังงาน
และการพัฒนาพลังงานอยางยั่งยืน
• สงเสริมการลด energy elasticity จาก 1.4 เปน1
• เนนการอนุรักษพลังงานทางภาคขนสง อุตสาหกรรม ครัวเรือน และ
การคา
• ยุทธศาสตรพลังงานของประเทศ
• สงเสริมการใชพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก
• สงเสริมการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ
• ลดการนําเขาพลังงาน
2. ความยั่งยืนในดานเทคโนโลยี
• เปนเทคโนโลยีสะอาด
• ลักษณะของเทคโนโลยีที่จะนํามาใชในโครงการ • ในกรณีที่ผูพัฒนาโครงการเปนชาวตางประเทศและมีการรวมลงทุน
• ลักษณะการถายทอดเทคโนโลยีสูผูประกอบการชาว กับผูประกอบการชาวไทย ตองมีการถายทอดเทคโนโลยีมายัง
ไทย ผูประกอบการชาวไทย
• ยินดีเผยแพรความรูและเทคโนโลยีตอสาธารณชนในขอบเขตที่

17
เปดเผยได
3. กอใหเกิดความยั่งยืนในมิติของเศรษฐกิจ สังคม และ
สิ่งแวดลอม
• ลดการนําเขาพลังงานจากตางประเทศ
• เศรษฐกิจ
• สงเสริมการจางงาน
• สิ่งแวดลอม • ตามขอกําหนดของกระทรวงทรัพยากรฯ
• มีแนวทางในการกระจายรายไดจาก CERS สูสงั คมในพื้นที่โครงการ
• สังคม
อยางชัดเจน

ศักยภาพของโครงการ CDM ที่ไดรับการจัดลําดับความสําคัญสูง คือ โครงการเพิ่มหรือปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงานและ


โครงการดานการสับเปลี่ยนเชื้อเพลิงทั้งในภาคอุตสาหกรรม ภาคขนสง และภาคการไฟฟา โครงการพลังงานหมุนเวียนใน
ภาคอุตสาหกรรมและภาคการผลิตไฟฟา โครงการดานการกักเก็บชีวมวลและโครงการดานการผลิตพลังงานจากการเผาขยะใน
ภาคการจัดการของเสีย ประเภทโครงการที่กระทรวงพลังงานเกี่ยวของ สามารถสรุปไดดังนี้

ประเภทของกิจกรรมภายใตกลไกการพัฒนาที่สะอาด
ประเภทของโครงการ ตัวอยาง
พลังงานชีวมวล พลังงานชีวภาพ (เอทานอลและไบโอดีเซล)
พลังงานทดแทน (Renewable Energy Projects) พลังน้ํา พลังแสงอาทิตย พลังงานลม พลังงานความรอนใต
พิภพ
การเปลี่ยนเชื้อเพลิงจากถานหินเปนกาซธรรมชาติ การนํากาซ
โรงไฟฟา (Power Projects)
มีเทนจากขยะมาผลิตไฟฟา
ประสิทธิภาพการใชพลังงาน (Energy Efficiency Projects) ปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการเพื่อลดการใชพลังงาน
การใชเครื่องยนตที่สะอาด เชน Fuel cell การใชระบบขนสง
ภาคการขนสง (Transport Projects)
มวลชนเพื่อทดแทนการใช รถยนตสวนบุคคล
อื่นๆ (Others) Geological sequestration, landfill methane recovery
ที่มา: UNEP and Baker & McKenzie (2004)

เอกสารสําหรับการเสนอโครงการตอองคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก
โดยมีรายละเอียดดั้งนี้
• ผูใดประสงคขอคํารับรองโครงการ ใหยื่นคําขอตอองคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (อบก.) โดยจัดเตรียมเอกสาร
ประกอบดังนี้
• หนังสือแสดงความจํานงขอใหองคการพิจารณาใหคํารับรอง พรอมทั้งระบุชื่อโครงการที่ประสงคจะไดรับการรับรอง
• เอกสารขอเสนอโครงการ (Project Design Document : PDD) พรอมทั้งสรุปสาระสําคัญของโครงการ และเอกสารขอมูลอื่นๆ
ที่เกี่ยวของ โดยจัดสงเปนรูปเลม และแผนบันทึกขอมูล จํานวน 40 ชุด โดยบรรจุในกลองขนาดกระดาษ A4

18
• รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมเบื้องตน และหากเปนโครงการที่เขาขายจะตองมีการวิเคราะหผลกระทบ
สิ่งแวดลอมตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ ผูยื่นคําขอจะตองเสนอรายงานการวิเคราะห
ผลกระทบสิ่งแวดลอมที่ไดรับความเห็นชอบจากสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมาพรอมกับคํา
ขอดวย
• ผลการประเมินขอเสนอโครงการโดยผูพัฒนาโครงการ ตามแบบการประเมิน (Self-Assessment Form) ที่องคการกําหนด
สามารถ Download ไดที่ www.onep.go.th/cdm
• สามารถสงเอกสารไดที่องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม 60/1 ซอยพิบูลวัฒนา 7 (ซอยพระรามที่หก 32) ถนนพระรามที่ 6 แขวงสามเสนใน พญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0
2265 6500 ตอ 6783 โทรสาร 0 2265 6602

19

You might also like