You are on page 1of 9

การสอบสั มภาษณ์

อะไรคือสิ งทีผู ้ เข้ าสอบสั มภาษณ์ คาดหวังไว้


1. ได้ รับการปฏิบ ั ติอย่างสุ ภาพ
2. มีโอกาส และเวลามากพอทีจะพูดในสิ งทีต้ องการพูด
3. ข้ อดีและข้ อเสี ยจะถูกบั นทึกไว้ เพือการให้ คะแนน
4. อาจจะต้ องใช้เวลา และความคิดอย่างมาก เมือถูกถามด้วยคํ าถามยากๆ
5. ผู ้ สัมภาษณ์ไม่ควรตั ดสิ นใจอะไร จนกว่ าจะเสร็ จสิ นการสัมภาษณ์

ในขณะเดียวกันผู ้ สัมภาษณ์ก็จะคาดหวังจากผู ้ สมัครดังนี


1. ผู ้ สมั ครมีความตั งใจทีจะทํ างานในตํ าแหน่งนั นจริ ง และตั งใจจะทํ าการสอบสัมภาษณ์
เป็ นอย่างดี
2. ผู ้ สมั ครมีความซื อตรงต่อคํ าถามทีถูกถาม ไม่พูดเท็จ
3. ผู ้ สมั ครมีความสุ ภาพเรี ยบร้อย และตั งใจฟังคําถาม
4. ผู ้ สมั ครมีความสามารถตอบคํ าถามอะไรก็ได้ ทีผู ้ สัมภาษณ์จะถาม

การหาความรู ้ เกียวกับงาน
วิธีหาความรู ้ ง่าย ๆ คือ หาเอกสารต่าง ๆ ทีเกี ยวข้ องมาอ่าน ติดตามเรืองของ (บริ ษ ั ท) ที
ปรากฏในหนังสื อพิมพ์ รายงานประจํ าปี ความเห็นของคนทีอยู่ในสาขางานนั น ๆ รวมทั งคู่แข่งด้ วย
และในปั จจุบ ั นนี ยิ งสะดวกง่ายดายขึ นโดยการค้นหาจากเว็ บไซต์ของบริ ษ ั ท หรื อหน่วยงานนั นๆ

การเตรียมพูดถึงความสามารถของผู ้ สมัคร
เป็ นเรื องทีสําคั ญทีสุ ดทีผู ้ สมั ครต้ องทํ า โดยอาจจะทํ าการ์
ดขนาด 3" x 5" ด้ านหนึ งให้เขียน
สิ งทีผู้สมั ครต้ องการให้นายจ้ างรู ้ เกียวกั บตั วผู ้สมั คร 5 อย่าง อีกด้ านหนึ งให้จดคํ าถามทีผู้สมั คร
ต้ องการถามนายจ้ างในระหว่างการสัมภาษณ์เอาไว้ 5 คํ าถาม เอาไว้ ให้พร้อม และซ้อมถาม ซ้อม
ตอบคํ าถามต่าง ๆ ทั ง10 ข้ อนี ให้คล่องแคล่ว ให้บิดามารดาหรื อคนในครอบครัวและเพือนสนิทฟัง
การถาม-ตอบ ของผู ้ สมัคร และแก้ไขตามทีเขาวิจารณ์

หัวข้ อประเมินผู ้ เข้ าสั มภาษณ์


1. สุขภาพและสภาพร่ างกาย ดูจากความแข็งแรง สภาพร่ างกายทีปรากฏ กริ ยา ท่าทาง
ความสามารถในการฟัง สายตา การแต่งกาย นํ าเสี ยง ฯลฯ แต่มิใช่ว่าจะสําคั ญไปหมดทุก ๆ อย่าง
ขึ นอยู่กั บว่าตํ าแหน่ งงานทีเปิ ดรับ ว่าต้ องการคุณลั กษณะทางกายเป็ นพิเศษอย่างไรบ้ าง

กองกิ จการนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์


2. ความสํ าเร็จ ดูจากผลการศึ กษา และประสบการณ์ทีผ่านมา
3. ความฉลาดและไหวพริ บ เป็ นสิ งทีดูก ันยาก อาจใช้ทดสอบเชาว์ ปัญญา แต่ส่วนใหญ่แล้ว
จะดูจากความสามารถเข้าใจ การเรี ยนรู ้สิ งใหม่ ๆ ได้ และแนวโน้มเรี ยนรู้ งานว่าเร็ วหรื อช้าเพียงใด
4. ความถนั ด ดูจากความสามารถทีจะพั ฒนาทั กษะทางด้ านต่าง ๆ ทีเกี ยวกั บงาน เช่น การ
ใช้เครื องมือ เครื องกลในการทํ างาน การคํ านวณ ฯลฯ
5. ความสนใจ ดูจากประสบการณ์แ ละทั กษะทีผู ้ สมั ครมี ผูสมั ้ ครอาจรู ้ สึกว่ าความสนใจของ
ตนไม่เกียวกับเรื องงาน แต่ผู ้ สัมภาษณ์กลั บสนใจทีจะดูสิ งนั น ด้วยเหตุผลหลายอย่าง เช่ น ต้องการดู
ว่ามีท ั กษะทีจะเป็ นประโยชน์ก ับงานหรื อเปล่า ยกตั วอย่างหากผู ้ สมั ครเคยสนใจเข้ าร่ วมกิจกรรม
นั ก ศึกษา มีหน้าทีดูแลทรัพย์ สินให้สโมสรนักศึกษา ก็อาจทํ างานเกี ยวกั บงานพั สดุ หรื อทํ าบั ญชีได้ ดี
เป็ นต้ น
6. กิจกรรมในยามว่าง ดูจากวิ ธีการหาความสมดุลในชีวิตประจํ าวั น เช่ น การกี ฬา และงาน
อดิเรก ว่ามีผลต่องานเพียงใด เช่น หากผู้สมั ครเป็ นนั กกีฬาทีมชาติต้ องไปฝึ กซ้อมบ่อย ๆ แต่งานที
ผู ้ สมั ครไว้ ไม่เกี ยวข้ องกับงานกีฬา ก็เป็ นเรื องผู้สัมภาษณ์ต ้ องคิด
7. เหตุการณ์ สําคัญในชีวิต เป็ นเรื องยากเรื องหนึ งทีจะใช้ว ั ดคน แต่ก็เป็ นประโยชน์แก่ผู ้
สัมภาษณ์มากทีเดียว เช่น ผู ้ สมั ครอาจเคยทํ าความสําเร็ จความล้ มเหลวปั ญหาทีเคยประสบหรื อ
เหตุการณ์ทีสําคั ญในชีวิต สิ งเหล่านี อาจมีผลเกียวโยงต่องานทีจะให้ผู ้ สมั ครรับผิดชอบด้วย

นอกจากนี แล้ว ผู ้ สัมภาษณ์จะพิจารณา อายุ แหล่งทีอยู่ สภาพครอบครัว สิ งแวดล้อมรอบ ๆ


ตั ว อารมณ์ ความเครี ยด และความก้าวร้ าว ซึ งเป็ นตั วชี ว่าผู ้ สมั ครสามารถทํ างานกั บผู ้ อืนได้ ดีหรื อไม่
เพียงใด มาเป็ นเครื องพิจารณาด้วย อาจจะไม่มีค ํ าถามเฉพาะในเรื องนี แต่ผู ้ สัมภาษณ์อาจวั ดความ
เหมาะสมได้จากสิ งอืนๆ ทีผู ้ ตอบแสดงออกมาประกอบด้ วย

การปฏิบั ติตัวหน้ าห้ องสอบ


การตรงต่ อเวลาเป็ นเรื องสํ าคัญ ต้องแน่ใจว่าท่านถึงห้องสอบทั นเวลา หากมาให้ท ั นเวลา
ไม่ได้ ให้โทรศัพท์แจ้ งผู ้ สัมภาษณ์โดยด่วน อธิ บายเพียงสั นๆ ว่าเกิดอะไรขึ น จะสายไปนานเท่าไร
ขณะทีผู ้ สมั ครนั งคอยเจ้ าหน้าทีเรี ยกตั วเข้าสอบ ให้มองดูรอบๆ ตั วอาจได้ ข้อมูลทีเกี ยวข้ อง
กั บหน่วยงานได้มากขึ น เช่น บรรยากาศในการทํ างาน ระเบียบวิน ัย การประชาสัมพั นธ์ เป็ นต้ น อย่า
พยายามชวนเจ้ าหน้าที หรื อเลขานุก าร หรือใครต่อใครในสํานั กงานคุยนานเกินไป เขาอาจยุ่งไม่มี
เวลาว่างและรู ้สึกรําคาญ อย่าตื อสอบถามเกี ยวกั บตั วผู ้ สัมภาษณ์ สิ งทีผู ้ สมั ครทํ าไปอาจถูกรายงาน
ให้ผู ้ สัมภาษณ์ทราบ ควรสุ ภาพอ่อนน้ อมต่อทุก ๆ คนทีพบ พนั กงานท่าทางใจดีทีเจอในลิฟท์และ
ช่วยกดลิฟท์ให้ท่านอาจเป็ นประธานบริ ษ ั ท แทนทีจะเป็ นพนักงานประจํ าลิฟท์ก็ได้

กองกิ จการนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์


หากผู ้ สมั ครสมั ครงานทางจดหมาย ในวั นนั ดสัมภาษณ์เจ้ าหน้าทีอาจยืนใบสมั ครให้กรอก
ใหม่ กรณีเช่นนี ถ้ าผู ้ สมั ครได้ เตรี ยมสาระสําคัญทีต้ องกรอกใบสมั ครเอาไว้ ก่อนล่วงหน้าตามทีได้
ทํ าแบบฝึ กหั ดเอาไว้ แล้ว จะทํ าให้ผู ้ สมั ครกรอกได้ายและไม่
ง่ เสี ยเวลา และเป็ นภาพทีดีแก่ตัวผู ้สมั คร
เองด้วย

ภาษากายในการสอบสั มภาษณ์
ภาษากายมีความสําคั ญในการสอบสัมภาษณ์มาก ในปั จจุบ ั นหลั กสู ตรการฝึ กอบรมด้านการ
บริ หารและการสัมภาษณ์มั กบรรจุเนื อหาเกียวกั บ "ภาษากาย" และการแปลความหมายเอาไว้ ด้วย
ฉะนั น
1. ผู ้ เข้าสอบสัมภาษณ์ อย่าพูดโกหก หรื อเสแสร้ งใดๆ
2.ผู ้ สัมภาษณ์ต ้องการเห็นผู ้ สมั ครมีความเชือมั น เพราะผู ้ มีความเชือมั นย่อมตอบคํ าถามและ
ให้ข ้ อมูลแก่ผู ้สัมภาษณ์ด้วยการแสดงความคิดริ เริ มสร้างสรรค์ และโต้ ตอบปัญหาต่างๆ
วิธีลดความตืนเต้ นและสร้ างความเชือมั น คือหาความรูเกี้ ยวกั บคนในหน่วยงานนั น และ
ซ้อมการถามตอบสัมภาษณ์ก ั บเพือนสนิท ถ้าไม่สามารถหาเพือนมาช่วยได้ ให้ใช้เทปอั ดเสี ยงพูด
ของผู ้ สมั คร อย่าหยุดแม้จะพูดได้ ไม่ดี อย่าลบเทปทิ ง แล้ วอั ดใหม่ครั งแล้วครั งเล่า เพราะฟั งแล้วไม่
ชอบใจ แต่ให้ฟังเหมือนกั บว่าผู ้ สมั ครฟั งเสี ยงใครอยู่ก็ไม่รู้ ลองวิ จารณ์ว่านํ าเสี ยงน่าสนใจและเชือ
ได้ หรื อไม่ ให้ ฝึ กจนกว่าจะพอใจ และไม่ว่าจะฝึ กกั บเพือน หรื อฝึ กกั บเทป อย่าใช้บทพูด คนเราไม่
จําเป็ นต้ องพูดเหมือนกั นทุกครั ง ทุกครั งทีท่านพยายามพูดเหมือนเดิมแต่ใช้ ค ํ าพูดแตกต่างออกไป
จะทํ าให้ผู ้สมั ครเพิ มความมั นใจขึ น
3. การแต่งกายในวั นสอบสัมภาษณ์ เสื อผ้ าทีใช้แต่งในการเข้าสัมภาษณ์ควรเป็ นชุ ดทีสุ ภาพ
สะอาด ดูว่าผู้ สมั ค รให้ความเอาใจใส่ ต ั งแต่หัวจรดเท้ า ทั งรู ปแบบและสี สันควรเข้ ากั นได้ก ั บ
วั ฒนธรรมการแต่งกายของพนั กงานในหน่วยงานทีท่านเข้ ารับการคิดเลือก
4. ยกมือไหว้ท ั กทาย ถ้ าผู ้ สัมภาษณ์จั บมือ ให้จ ั บอย่างกระชั บอย่างจั บนานเกินไป ขณะจั บ
มือให้มองหน้าและยิ มให้ ก่อนอืนผู ้ สมั ครต้องให้เวลากั บตั วเองทีจะทํ าให้ต ั วให้สบาย การมอง
รอบๆ ห้องจะทํ าให้รู้สึกผ่อนคลายได้บ้ าง สบตากับผู ้ สัมภาษณ์หายใจลึกๆ เว้ นระยะ และ
เตรี ยมพร้ อมทีจะฟั งผูส้ ัมภาษณ์
5. ท่าทางการนั งในขณะสอบสัมภาษณ์ให้น ั งสบาย ๆ ไม่ยืนตั ว ไม่ค ํ าโต๊ะ นั งมั นคง ก้นชิด
หนั ก วางแขนไว้ ข ้างลํ าตั ว อย่านั งแบบพั กผ่อน วางศีรษะนิ ง อย่าหลบตา แต่อย่าถึงกับจ้ องเขม็ง
ขณะผู ้ สัมภาษณ์พูด ให้มองผู ้พูด ขณะตอบ ให้กวาดสายตามองกรรมการสอบทุก ๆ คน
6. ขณะตอบให้สังเกตว่ าผู้สัมภาษณ์สนใจฟั งผู ้ สมั ครหรื อไม่ ถ้าไม่ฟังให้ เปลียนจั งหวะการ
พูด คํ าแนะนํ าให้ใช้โดยความระมั ดระวั ง ถ้ าตอบไปแล้วผู ้ สัมภาษณ์มีท่าทางสงสัย ให้พิจารณาดูว่า
ผู ้ สมั ครได้ พูดอะไรไป และเรี ยนถามผู ้ สัมภาษณ์ว่าต้ องการข้อมูลอะไรเพิ มเติมอีก

กองกิ จการนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์


เทคนิคในการพู ด
1. พูดช้าๆ อย่าเอามือป้ องปากขณะพูด
2. อย่ากั งวลกั บการออกเสี ยงตะกุกตะกั กของตั วเอง
3. ตอบง่ายๆ อย่ายาวมาก พูดเนื อหาสําคั ญๆ ควรอ้ างข้ อมูลทีตนเองเคยประสบมา
สนั บสนุนคํ าตอบ
4. ในตอนแรกๆ ให้พูดช้าๆ ระมั ดระวั ง จนกว่าได้ผ่อนคลายเต็มทีแล้วจึงพูดจาโต้ตอบไป
ตามธรรมชาติ
5. พูดให้มีระดั บเสี ยงสู งตํ า เน้นความหนั กเบาให้มีชีวิตชี วา หรื อคอยสังเกตผู ้ สัมภาษณ์ ถ้า
เขามีท่าทีเห็นคล้ อยตาม เช่น พยั กหน้าให้เปลียนนํ าเสี ยง เน้นความสนใจของเขาอีกครั งหนึ ง หรื อ
ไม่เช่ นนั นก็ให้เว้ นระยะหนึ งก่อนพูดต่อ
6. ใช้เวลาในการคิดหาคํ าตอบ แต่อย่านานจนกรรมการทนรอฟั งไม่ได้ จนต้ องพูดแทรกขึ น
7. อย่าพูดเร็ ว ผู ้ สัมภาษณ์จะเกิดความรําราญ และเป็ นผลเสี ยต่อเราเอง เพราะการพูดเร็ วขาด
การควบคุม อาจทํ าให้พูดเปิ ดเผยมากกว่ าทีตั งใจพูด
8.ระมั ดระวั งในการพูดถึงงานอดิเรกหรื องานพิเศษของผู ้ สมั คร อย่าให้ผู ้ ฟังเข้
าใจว่าผู ้
สมัครสนใจงานอดิเรก สนใจรายได้ พิเศษมาก จนอาจใช้ เวลาทํ างานไปสนใจกับงานเหล่านั น จน
งานในหน้าทีต้ องเสี ยหาย
9. ในการตอบคํ าถามแต่ละครั งควรมีความยาวอยู่ในระหว่ าง20 วินาที ถึง 2 นาที

ก่อนทีจะสิ นสุดการสอบสั มภาษณ์


ผู ้ สมั ครสามารถจะแสดงออกถึงความรู ้สึกบางอย่าง ในขณะทีผู ้ สอบสัมภาษณ์กํ าลั งจะ
แสดงสัญญาณบางอย่างออกมา ทีมีความหมายถึงการสิ นสุ ดการสอบสัมภาษณ์ได้ แต่ห้ามแสดง
ความรู ้ สึกในเชิงต่อต้านออกไป ผู ้ สมั ครจะต้องมีเทคนิคและความรู ้สึกทีดี ในการรู ้ถึงเวลาว่ า การ
สอบสัมภาษณ์ได้หมดเวลาลงแล้ ว ผู้สอบสัมภาษณ์อาจจะนัดหมายกํ าหนดการสอบสัมภาษณ์อีก
ครั งหนึ งก็ได้ หรื ออาจจะให้ข ้ อมูลว่า ขั นตอนต่อจากการสอบสัมภาษณ์ จะเป็ นขั นตอนอย่างไร
และขั นตอนต่อไปนั น ผู ้ สมั ครจะต้ องใช้เวลานานเท่าไร

แนวคําถามและตอบในการสอบสั มภาษณ์
ผู ้ สมั ครควรศึกษาแนวคํ าถาม และตอบอย่างคร่ าวๆ ว่ า คํ าถามในการสอบสัมภาษณ์จะเป็ น
อย่างไรได้บ้ าง และเมือเผชิญกับคํ าถามประเภทนี จะต้องตอบในลั กษณะใดจึงจะเหมาะสมและมี
นํ าหนั กพอทีจะทํ าให้เรามีความโดดเด่นกว่าผู้ สมั ครรายอืนๆ ได้

กองกิ จการนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์


1. ชีวประวัติเบืองต้ น
แนวถาม: บางครั งทีผู ้ สัมภาษณ์ถามคํ าถามเหล่านี ก็เพือตรวจสอบดูว่าผู ้ สมั ครเป็ นอย่างไร ในขณะ
ทีมีพืนฐานและโอกาสแตกต่างกัน เช่ น ผู ้ สมั ครสองคนอาจสอบได้ คะแนนดีท ั งคู่ แต่พืนฐานและ
โอกาสอาจจะมีไม่เท่ากั น เป็ นต้ นว่า คนแรกอาจจะมาจากครอบครัวทีมีฐานะดี มีผู ้ ปกครองคอย
ช่วยเหลือ ถึงจะพลาดงานนี ก็ไม่เดือดร้อนเรื องสถานภาพทางด้านการเงิน จึงอาจไม่ค่อย
กระตือรื อร้ นแต่ในทางกลั บกั น ผู ้สมั ครคนทีสองมาจากครอบครัวทียากจน และต้ องคอยช่วยเหลือ
พ่อ แม่ในการทํ างาน แต่มีความตั งใจจริ งและอยากได้งานทํ าเพราะต้ องการแบ่งบาภาระของบุ
เ พการี
ในลั กษณะเช่นนี ผู ้ สัมภาษณ์ ก็อาจจะให้คะแนนผู ้ สมั ครคนทีสองมากกว่า เพราะมีความ
กระตือรื อร้ นและตั งใจจริ งมากกว่า ถึงแม้จะเรี ยนดีด้ วยกันทั งคู่ แต่องค์ประกอบอืน ๆ ก็น ั บเป็ นตั ว
แปรทีสําคั ญอีกด้ วย
แนวตอบ: ความจริ งแล้ วคํ าถามประเภทนี เป็ นคํ าถามประเภทตรงไปตรงมา สามารถคาดการณ์ไว้
ล่วงหน้าได้ และยั งง่ายต่อการตอบอีกด้ วย แต่ผู้สมั ครบางคนก็อาย ไม่กล้าทีจะเปิ ดเผยพื นเพ
ครอบครัวของตนเอง เพราะเกรงว่าจะถูกหั วเราะเยาะ ทีจริ งแล้วผู ้ สมั ครไม่ ควรอายทีจะตอบ หรื อ
พยายามปกปิ ดข้ อเท็จจริ ง และทีสําคั ญคือไม่ควรพูดเท็จ และควรตอบตามความเป็ นจริ ง

2. การศึกษาและการฝึ กงาน
แนวถาม: คํ าถามลั กษณะนี จะมุ่งไปยั งการหาข้ อมูลเกี ยวกั บการเรี ยนและคะแนนทีผู ้ สมั ครได้ รับ
โดยเฉพาะอย่างยิ งในกรณีทีผู ้ สมั ครไม่มีประสบการณ์การทํ างานมาก่ อนเลย หรื อมีบ้างนิดหน่อย ผู ้
สัมภาษณ์ก็จะเน้ นไปยั งจุดนี และนอกจากนี ก็อาจจะรวมคํ าถามเกียวกับกิจกรรมนอกหลั กสู ตร เข้ า
ไว้ ด้วย เช่ น การเป็ นสมาชิกของชมรมต่างๆ ระหว่ างเรี ยน ข้ อมูลเหล่านี จะช่ วยให้ผู ้ สัมภาษณ์ท ํ าการ
ประเมินผลการให้คะแนนได้ ง่ายขึ น เพราะพอจะมองออกว่าผู ้ สมั ครเป็ นคนเช่นไร
แนวตอบ: ในทํ านองเดียวกัน คํ าถามเกียวกั บการศึ กษาและการฝึ กงานก็ง่ายต่อการตอบเช่ นกั น นอก
เสี ยจากผู ้ สมั ครไม่ได้ เตรี ยมการไว้ ล่วงหน้า ในกรณี ทีผู ้ สมั ครทํ าคะแนนได้ ไม่ดี ผู ้ สัมภาษณ์ก็อาจจะ
ถามถึงสาเหตุทีทํ าให้เขาได้ คะแนนไม่ดีน ั น แต่ผู ้ สมัครก็ไม่ควรจะแก้ตั วไปเสี ยทุกกรณี ไป ควร
ยอมรั บในจุดด้อยของตนเองบ้ าง เพราะความจริ งแล้ ว ผู้ สัมภาษณ์อาจไม่ต ้ องการถามลึกไปถึง
เหตุผลของการทํ าคะแนนได้ ดีหรื อไม่ดี แต่ทีถามเพราะต้ องการทีจะทดสอบว่า ผู ้ สมั ครมี
ความสามารถในการแสดงออกได้ ดีแค่ไหนเพียงใดเมือต้ องเผชิ ญกั บคํ าถามในลั กษณะนี

3. ประสบการณ์ ในการทํางาน
แนวถาม: ทีจริ งแล้ วในจดหมายสมั ครงาน และประวั ติย่อก็จะให้รายละเอียดเกี ยวกั บประวั ติการ
ทํ างานอยู่แล้ว แต่ทีต้ องถามลึกลงไปอีก ก็เพือดูรายละเอียดอืนๆ เป็ นต้นว่า ความสามารถในการ
ทํ างานเป็ นอย่างไร การทํ าตั วเข้ ากั บเพือนร่ วมงานเป็ นอย่างไร และทํ าไมจึงออกจากงานทีว่านี

กองกิ จการนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์


นอกจากนี ก็เพือเป็ นการทดสอบดูว่า ผู ้สมั ครจะตอบคํ าถามตรงกั บข้อมูลทีให้ ไว้ ก่อนหน้านี ใน
จดหมายสมั ครงานและประวั ติย่อหรื อไม่ งานประเภทใดทีเหมาะสมกับผู ้ สมั ครนี
ถึงแม้ ว่าคํ าถามนี อาจจะใช้ไม่ได้ กับนั กศึกษาจบใหม่ๆ แต่บางรายก็มีประสบการณ์ในการ
ทํ างานนอกเวลามาก่อนก็มี แต่ก็จะถามได้ ไม่ละเอียดเหมือนกับผู ้ ทีเคยทํ างานเต็มเวลาก่อนอยู่ดี
นั นเอง
แนวตอบ: คํ าตอบทีควรเตรี ยมไว้ ล่วงหน้าเกียวกับประสบการณ์ในการทํ างาน ก็คือ
- เหตุผลทีออกจากงานเก่า
- ทํ าไมจึงต้องการทํ างานทีนี
- เคยทํ างานอะไร ในตํ าแหน่ งใด เป็ นงานทีมีส่วนช่วยส่ งเสริมงานทีสมั ครนี หรื อไม่
- เคยประสบความสําเร็ จในการทํ างานประเภทใดมาก่อนบ้ างหรื อไม่
- เคยมีปัญหาอะไรบ้ างและแก้ ไขปั ญหานั นอย่างไร
- เข้ ากั บเพือนร่ วมงานได้ ดีหรื อ ไม่เพียงใด
สําหรับสองข้อแรก ก็อาจจะตอบได้ ว่า เพือต้ องการเพิ มประสบการณ์ หาความก้าวหน้า
หรื องานทีมีความรับผิดชอบมากขึ น หรื อไม่ก็บริ ษ ั ททีสมั ครนี มีชือเสี ยง หรื อให้สวั สดิการดี

4. สิ งกระตุ้นและแรงดลใจ
แนวถาม: ผู ้ สัมภาษณ์อ าจต้ องการทราบสิ งกระตุ ้ นใจ และความกระตือรื อร้ นของผู ้ สมั ครว่าสนใจ
งานประเภทใดเป็ นพิเศษ ซึ งก็อาจจะถามคํ าถามประเภท เช่น ทํ าไมเลือกสมัครตําแหน่งนี คํ าถามใน
ลั กษณะนี ผู ้ สัมภาษณ์สามารถตรวจสอบได้ ว่าผู ้ สมัครมีความทะเยอทะยานสู งหรื อตํ าไป และมีทาง
เป็ นไปได้หรื อไม่ หรื อเป็ นแค่เพียงความฝั นเท่านั น
แนวตอบ: ผู ้ สมั ครควรรู ้ต ั วเองว่ า เราต้องการทํ าอะไรในขณะนี มีแผนการอะไรบ้ าง และในอนาคต
มีแผนการอะไร ไม่ควรตอบว่า ยั งไม่มีแผนการทีแน่นอน เพราะจะทํ าให้ดูเหมือนว่า เป็ นคนหลั ก
ลอย และไม่สามารถรับผิดชอบตั วเองได้
ควรแสดงความกระตือรื อร้ นและความทะเยอทะยานแต่พอดี ไม่มากหรื อน้ อยเกินไป และ
ผู ้ สมั ครไม่ควรแสดงออกถึงความเป็ นผู ้มีความทะเยอทะยานจนเกินไป เพราะจะทํ าให้พลาดโอกาส
ได้ ทีเป็ นเช่นนี ก็เพราะว่าผู้สัมภาษณ์อาจมองว่ าผู ้สมั ครมีความทะเยอทะยานมาก อาจไม่ค่อยจะ
พอใจกั บอะไรได้ง่าย ๆ และอาจจะอยู่ทํ างานได้ ไม่นานก็ออกไปหางานใหม่ทํ า ซึ งจะทํ าให้บริ ษ ั ท
เสี ยเงินและเสี ยเวลาในการคั ดเลือกผู ้ สมัครประเภทนี ไปโดยเปล่าประโยชน์
คํ าถามว่ า “ถ้ าคุณต้องไปทํ างานต่างจั งหวั ดคุณจะไปได้หรื อไม่” ก็ไม่ควรด่วนตั ดสิ นใจ
ปฏิเสธ ควรคิดดูให้รอบคอบเสี ยก่อน หรื อถ้ าไม่มีปัญหาอะไร ก็ควรแสดงให้เห็นว่า เรามีความ
ต้ องการทํ างานนี จริ งๆ แต่ท ั งนี ผู ้ สมั ครก็ควรเตรี ยมให้พร้ อมว่าสามารถปฏิบ ั ติตามนั นได้ หรื อไม่

กองกิ จการนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์


5. ความสนใจยามว่าง และงานอดิเรก
แนวถาม: คํ าถามเกียวกั บเรื องนี ส่ วนใหญ่จะเป็ นคํ าถามแบบกว้ าง ๆ เช่น ใช้ เวลาว่ างทํ าอะไรบ้าง
หรื อมีงานอดิเรกบ้ างหรื อไม่ คํ าถามประเภทนี จะช่วยให้ผู ้ สัมภาษณ์ทราบได้ว่ า ผู ้สมั ครมี
ความสามารถในการแสดงออกอย่างไร มีความชั ดเจนเพียงพอหรื อไม่ ทั งยั งเป็ นการตรวจสอบดูว่า
งานอดิเรกของผู ้ สมั ครมีผลดีต่องานทีสมั ครนั นอย่างไร
แนวตอบ: ในการตอบคํ าถามเกียวกับความสนใจยามว่ าง ระวังอย่ าพูดเท็จ แล้ วก็อย่ าตอบเพียงเพือ
เอาใจผู ้ สัมภาษณ์เป็ นอั นขาด ถ้ าจะบอกว่างานอดิเรกของเราคืออะไรแล้ว ก็ต้ องมีความมั นใจว่าเรา
ทํ าในสิ งนั นบ่อย ๆ จนเป็ นนิสัย และสามารถพูดคุยให้รายละเอียดเกียวกั บงานอดิเรกประเภทนั นได้
เป็ นอย่างดี เพราะมิฉะนั น จะทํ าให้เราเสี ยเครดิต ซึ งอาจจะมีผลทํ าให้ผู ้ สัมภาษณ์หมดความเชือถือ
ในตั วเราเกือบทุก ๆ เรื องทีเราตอบไปแล้วก็ได้

6. ความชํานาญพิเศษ
แนวถาม: งานประเภททีต้องอาศั ยชํ านาญพิเศษ เช่น ทางด้านวิ ทยาศาสตร์ หรื องานประเภทวิ ชาชี พ
ต่าง ๆ ซึ งในการทดสอบผู ้ สมั ครนั น นอกจากจะให้ผู ้ สมั ครทํ าข้อสอบข้ อเขียนแล้ ว ผู ้ สัมภาษณ์
อาจจะต้ องการรายละเอียดเพิ มเติม โดยเรี ยกเข้ ารับการสอบสัมภาษณ์อีกครั งหนึ ง ก่ อนตั ดสิ นใจรับ
ผู ้ ใดผู ้ หนึ งเข้าทํ างาน และการให้มีก ารสอบสัมภาษณ์ด้ วยนี ยั งจะสามารถทดสอบได้ว่ า ผู ้ สมั ครมี
ความฉับไวในการตอบข้ อซักถามได้ ดีเพียงใด โดยเฉพาะอย่างยิ งในช่วงเวลา เร่ งด่วน จะแก้
สถานการณ์เฉพาะหน้ าได้ดีเพียงใด เป็ นต้ น
แนวตอบ: ควรติดตามข่าว และความเคลือนไหวในเหตุการณ์รอบๆ ตั วเรา โดยผ่านสื อต่าง ๆ เช่น
โทรทั ศน์ วิ ทยุ และหนั งสื อพิมพ์ หรื อนิตยสารต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ ง ความเคลือนไหวและ
กิจการของบริ ษ ั ทหรื อหน่วยงานทีเราต้ องการสมั คร เข้าทํ างานนั น ให้มากทีสุ ดเท่าทีจะมากได้

7. สุ ขภาพ
แนวถาม: โดยมากเกี ยวกั บเรื องสุ ขภาพนี ผู ้ สัมภาษณ์สามารถดูได้จากใบรับรองแพทย์ทีแนบมา
ด้ วย แต่บางครั งทีต้องถามเกียวกับเรื องสุ ขภาพอีก ก็เพราะว่างานบางอย่างก็ต้ องการทราบ
รายละเอียดเกียวกั บสุ ขภาพเป็ นพิเศษ
แนวตอบ: เกี ยวกั บเรื องสุ ขภาพนี ก็คงไม่ต้ องเตรี ยมตั วอะไรมาก เพียงแต่ตอบไปตามความจริ ง และ
ควรพิจารณาดูวา่ สุ ขภาพของเราเป็ นอย่างไร เป็ นอุปสรรคต่องานทีจะทํ าหรื อเปล่า และงานนั นระบุ
คุณสมบั ติของผู ้ สมั ครไว้ อย่างไร

ความจริ งแล้ ว เราไม่สามารถเดาใจผู ้ สัมภาษณ์ได้ ท ั งหมด ว่าเขาจะถามเราอย่างไร เพราะเขา


มีสิ ทธิ เลือกถามได้ ท ั วไป ผู ้สมั ครได้ แต่เพียงเตรี ยมตั วไว้ ล่วงหน้าสํหรัา บคํ าถามหลั กเท่านั น ดั งนั น

กองกิ จการนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์


วิธีทีดีทีสุ ดคือผู ้สมั ครไม่ควรแสดงอาการตืนเต้ น เมือเจอคํ าถามทีไม่ได้ คาดการณ์ไว้ ล่วงหน้าควร
อยู ่ ในอาการสงบและตั งใจตอบคําถามให้ ดีทีสุ ดเท่ าทีจะทําได้
ถ้ าไม่เข้ าใจคําถาม ก็อย่ าพยายามดันทุรังตอบ เมือไม่เข้ าใจก็ควรบอกผู้สัมภาษณ์ตามตรงว่ า
“ดิฉัน/ผมไม่ค่อยจะเข้าใจความหมาย” หรื อ “ดิฉัน/ผมไม่ค่อยจะแน่ใจว่าดิฉันจะเข้ าใจคํ าถาม” และ
ขอความกรุ ณาให้ถามหรื ออธิ บายอีกครั ง

ข้ อแนะนําอืน ๆ ในการสอบสั มภาษณ์


1. ไม่ควรพูดในความหมายทีว่า ไม่ได้ ตั งใจมาสมั ครงาน เช่น ถูกพีสาวบั งคั บให้มา เพาระไม่
อยากขั ดใจแม่ เพือนชวนก็เลยลองมาสมั ครดู ถึงแม้ ว่าจะเป็ น การพูดคุยในระหว่างเพือนฝูงที
พบกันโดยบั งเอิญทีบริ ษ ั ทก็ตาม ถ้ าฝ่ ายบุคคลปะปนอยู่ในขณะนั นได้ ยินเข้
าก็จะเป็ นผลเสี ย
สําหรับคุณอย่างยิ ง
2. ถ้ าฝ่ ายบุคคลถามว่า คุณต้องการทํ างานอะไร อย่าตอบว่า งานอะไรก็ได้ หน่วยงานไหนก็ได้
การตอบแบบนั นเป็ นการตอบทีเลือนลอยไม่มีเป้ าหมายในการทํ างาน
3. อย่าพูดว่าต้ องการมาทํ างานในระยะเวลาอั นสั น ๆ เท่านั น
4. อย่าเส้นตื น หัวเราะในสิ งทีไม่ควรหั วเราะ เพราะคุณกําลั งอยู่ในระหว่ างการสัมภาษณ์ จึงควร
ควบคุมอารมณ์ให้อยู่ในอาการสํารวมพอสมควร
5. อย่าเคร่ งขรึ ม หน้านิ ว คิ วขมวดในระหว่ างสัมภาษณ์ ซึ งมีผลทํ าให้เสี ยบรรยากาศในการ
สัมภาษณ์
6. อย่าโอ้ อวดว่ารู้จ ั กมั กคุ ้ นกั บผู ้บริ หารระดั บสู งของ
7. อย่าพูดว่าต้ องไปปรึ กษาผู ้ปกครองก่อน การกล่าวเช่นนั นแสดงว่ า คุณยั งไม่มีความกล้ าใน
การตั ดสิ นใจด้วยตนเอง
8. อย่าใช้ อารมณ์หรื อแสดงอารมณ์รุนแรงในขณะสัมภาษณ์
9. อย่าแก้ต ั วปิ ดบั งหรื อหลีกเลียงในกรณี ทีกรรมการสัมภาษณ์รู้เรื องราวของคุณแล้ ว หรื อมี
หลั กฐานอ้างอิงได้ คุณควรรับความจริ ง
10. อย่าเล่าเรื องทีไม่ประสบความสําเร็จ หรื อความทุกข์
11. ไม่ควรพูดจาในลั กษณะทีสอด หรื อแทรกในขณะผู ้ สัมภาษณ์ก ําลั งพูด แต่ควรพยายามใช้
ความสังเกตศึกษาสิ งทีผู ้ สัมภาษณ์สนใจ

กองกิ จการนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์


12. ไม่ควรพูดจาอ้อมค้ อม หรื อนอกประเด็น โดยเฉพาะในเรื องซึ งไม่เกียวข้ องกั บตํ าแหน่งงาน
ทีสมั คร
13. การพูดจาฉะฉาน ชัดเจน และง่ายแก่การเข้ าใจ ทั งนี ต้ องไม่ดั งหรื อค่อยจนเกิ นไป
การสอบสัมภาษณ์น ั นไม่มีหลั กเกณฑ์ แน่นอนตายตั ว เพราะผลลั พธ์ ทีออกมาย่อมขึ นอยู่ก ับ
ความคิดเห็นและการตั ดสิ นใจของผู้ สัมภาษณ์แต่ละคน ดั งนั นผู ้ สมั ครจํ านจะต้
เป็ องมีความอดทน
และพร้อ มทีจะยอมรับความผิดหวั งใด ๆ ทีอาจจะเกิดขึ น ดั งนั น ควรจะได้หั นมาพิจารณาศึกษา
ข้ อบกพร่ อง ซึ งอาจเกิดขึ นในครั งก่อน ๆ เพือเป็ นแนวทางในการปรับปรุ งตั วเอง เพือการเข้ าสอบ
สัมภาษณ์ในคราวต่อไปให้ได้ ผลดียิ งขึ น

เคล็ดลับสู ่ ความสํ าเร็ จในการสั มภาษณ์ (โดยสรุ ป)


1. ตรงต่อเวลา หรื อควรไปถึงสถานทีนัดหมายก่อนเวลานั ดจริ งประมาณ 30 นาที ถึง 1
ชั วโมง
2. แต่งกายให้สะอาดสุ ภาพ สมฐานานุ รูปและถูกกาลเทศะ
3. วางตั วสุ ภาพเรี ยบร้ อยเป็ นธรรมชาติ
4. ก่อนเข้าห้องสัมภาษณ์ ควรเคาะประตูก่อนแล้วขออนุญาตเข้าไป เมือพบหน้าผู ้ สัมภาษณ์
ควรยกมือไหว้ ท ั กทายกล่าวคํ าสวั สดีครับหรื อสวั สดีค่ะ โดยไม่ต้ องทราบก่อนว่าผู ้ สัมภาษณ์น ั นจะ
อ่อนกว่าเราหรื อไม่ และจะนั งได้ ก็ต่อเมือผู ้ สัมภาษณ์กล่าวเชิ ญแล้วเท่านั น หลั งจากนั นควรแนะนํ า
ตั วเองว่า ชื ออะไร เพือเป็ นการสร้ างบรรยากาศทีเป็ นกันเอง
5. ตั งใจฟั งคํ าถามหรื อข้อซั กถามอย่างระมั ดระวั ง แต่ไม่ต้องเกร็ ง
6. หยุดคิดสักครู่ ก่อนตอบคํ าถาม (เมือมั นใจว่าเข้ าใจคํ าถามอย่างแท้จริ)ง และต้ องตอบให้
ชั ดเจนทีสุ ด
7. ยกเว้ นการพูดโจมตีหรื อพาดพิงบุคคลทีสาม
8. ควรควบคุมอารมณ์ตนเอง พยายามอดกลั นไม่ควรแสดงกิ ริยาโต้ ตอบ
9.สบตาพูดกับผู ้ สัมภาษณ์ เพราะการก้มหน้าพูดคล้ ายเป็ นการซ่อนเร้นอะไรบางอย่าง และ
แสดงถึงความเป็ นคนไม่เปิ ดเผย จริ งใจ
10.เมือการสัมภาษณ์เสร็ จสิ น ผู ้ สัมภาษณ์อาจจะให้กล่าวอะไรบางอย่างทีจะเป็ นประโยชน์
กั บผู ้ สมั ครเอง สิ งทีควรจะกล่าวคือ ผู ้ สมั คมีรความตั งใจทีจะมาทํ างานกับบริ ษ ั ท หรื อหน่วยงานแห่ง
นี อย่างไร

กองกิ จการนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์

You might also like