You are on page 1of 92

WORKING DRAFT 3

ISO/WD 26000

รางมาตรฐานสากลวาดวย
ความรับผิดชอบตอสังคม

เสนอตอ

สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอต
ุ สาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม

จัดทําโดย

สถาบันคีนน
ั แหงเอเซีย

กันยายน 2550
รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม
เปนสวนหนึ่งของ
“โครงการ การศึกษาความพรอมขององคการและหนวยงานของไทยเพื่อรองรับการปฏิบตั ิตาม
มาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม (Social Responsibility)”

รางเอกสารฉบับนี้เปนลิขสิทธของสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
การจัดพิมพนมี้ ีวัตถุประสงคเพือ่ ใชศึกษาในเชิงวิชาการ และไมถอื เปนรางฉบับสมบูรณ และขอสงวนสิทธใน
การคัดลอก ตัดตอ ผลิตซ้ํา และเผยแพร เวนแตจะไดรบั ความยินยอมจากสํานักงานมาตรฐาน กระทรวง
อุตสาหกรรม ผลิตภัณฑอุตสาหกรรมเทานั้น

จัดทําโดย
สถาบันคีนันแหงเอเซีย
ศูนยการประชุมแหงชาติสริ ิกิติ์
หอง 201/2 โซนดี ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110
โทรศัพท 02-229-3131 ตอ 232 โทรสาร 02-2293130
อีเมล scc@kiasia.org
เว็บไซต http://www.kiasia.org

 
สารบัญ

คํานํา ................................................................................................................................. 1
บทนํา ................................................................................................................................ 2
ความรับผิดชอบตอสังคม .................................................................................................... 6
1. ขอบเขต ......................................................................................................................... 6
2. ขอมูลอางอิง ................................................................................................................... 6
3. คําศัพทและคํานิยาม ....................................................................................................... 6
4. แนวคิดเรื่องความรับผิดชอบตอสังคม ............................................................................. 9
5. หลักความรับผิดชอบตอสังคม ......................................................................................... 10
6. ประเด็นหลัก 7 ดานของความรับผิดชอบตอสังคม ........................................................... 13
6.1 บททั่วไป ......................................................................................................... 13
6.2 ธรรมาภิบาลขององคกร ................................................................................... 14
6.3 สิทธิมนุษยชน .................................................................................................. 18
6.4 ขอปฏิบัตดิ านแรงงาน ...................................................................................... 25
6.5 สิ่งแวดลอม ...................................................................................................... 31
6.6 การดําเนินงานอยางเปนธรรม .......................................................................... 45
6.7 ประเด็นดานผูบริโภค ....................................................................................... 48
6.8 การพัฒนาสังคม .............................................................................................. 57
7. แนวทางปฏิบัติดานความรับผิดชอบตอสังคม .................................................................. 66
คํานํา
องคการระหวางประเทศวาดวยการมาตรฐาน (International Organization for
Standardization, ISO) เปนองคกรสากลในการกําหนดมาตรฐานระดับประเทศ การเตรียมการ
มาตรฐานสากลนั้นเปนหนาที่รับผิดชอบของคณะทํางานฝายเทคนิคของ ISO นอกจากนี้ องคกร
ระหวางประเทศ องคกรของรัฐและเอกชนยังไดใหความรวมมือกับ ISO ในการรางมาตรฐานนีด้ วย
ISO ยังไดรวมมือกับคณะกรรมาธิการระหวางประเทศวาดวยมาตรฐานสาขาอิเล็กทรอเทคนิกส
(International Electrotechnical Commission, IEC) ในการจัดทํามาตรฐานทุกฉบับเกี่ยวกับ
อิเล็กทรอนิกส

มาตรฐานสากลนั้นจะถูกรางขึ้นใหสอดคลองกับกฎในคําสั่งของ ISO/IEC สวนที่ 2

ISO 26000 ไดจัดทําขึ้นจากคณะทํางานฝายเทคนิคของ ISO (ISO Technical


Management Board Working Group) ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับความรับผิดชอบตอสังคม รางมาตรฐาน
นี้จะถูกเวียนสงไปที่สมาชิกแตละกลุมเพือ่ ทําการลงคะแนน และตองไดรับคะแนนเสียงมากกวารอย
ละ 75 ของสมาชิกทั้งหมดกอน จึงจะสามารถจัดพิมพมาตรฐานฉบับนี้ได

เนื่องจากเนื้อหาบางสวนในเอกสารฉบับนี้อาจเกี่ยวของกับกฎหมายลิขสิทธิ์ ISO จะไม


รับผิดชอบใดๆ ในการแจกแจงลิขสิทธิ์นนั้ ๆ

หนาที่หลักของคณะทํางานฝายเทคนิคคือการจัดเตรียมมาตรฐานสากล

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 1 
บทนํา
องคกรทั่วโลกรวมไปถึงผูมสี วนไดสวนเสียขององคกรนั้น ไดเพิ่มความตระหนักเรือ่ งความ
รับผิดชอบตอสังคม การใหคําจํากัดความของคําวา “ความรับผิดชอบตอสังคม” จะเปนประโยชนตอ
องคกรและผูม ีสวนไดสวนเสีย และจะไดเขาใจในหลักการและวิธีการของความรับผิดชอบตอสังคม

ความรับผิดชอบตอสังคมกลายเปนปจจัยสําคัญที่สงผลตอการดําเนินงานขององคกร ทั้งนี้
เนื่องจากในปจจุบันมีขอกังวลตอปญหาสิง่ แวดลอม ความไมเทาเทียมกันทางสังคม ธรรมาภิบาลของ
องคกรและประเด็นอื่นๆ เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ องคกรจึงควรทีจ่ ะตอบสนองตอความคาดหวังที่สูงขึ้นของผูมี
สวนไดสวนเสียขององคกร ซึ่งรวมไปถึงลูกคา พนักงาน สมาชิก สหภาพแรงงาน ชุมชน องคกร
พัฒนาเอกชน ผูใหกู ผูรับประกัน และผูลงทุน ซึ่งแนวความคิดของความรับผิดชอบตอสงคมนั้นอาจมี
อิทธิพลตอสิ่งตอไปนี้

- ชื่อเสียงโดยรวมขององคกร
- ความนาสนใจขององคกรในสายตาของพนักงาน และสมาชิก
- การคงไวซึ่งขวัญกําลังใจและประสิทธิภาพในการทํางานของพนักงาน
- มุมมองของนักลงทุนและกลุมการเงิน
- ความนาสนใจในสินคาและบริการตอผูบริโภค
- ความสัมพันธกับรัฐบาล สื่อ ชุมชนรวมไปถึงคูคาและพันธมิตรขององคกร

มาตรฐานฉบับนี้ไดใหแนวทางเกี่ยวกับหลักความรับผิดชอบตอสังคม ประเด็นตางๆ ที่


ประกอบกันเปนความรับผิดชอบของสังคม และแนวทางปฏิบัตสิ ําหรับองคกรเพื่อใหเกิดความ
รับผิดชอบตอสังคม มาตรฐานนี้ใชไดกับองคกรทุกชนิด ไมวาจะเปนภาครัฐ เอกชน และธุรกิจตางๆ
เนื่องจากองคกรทุกองคกรนั้นจะสงผลกระทบตอชุมชน สังคมและสิง่ แวดลอม มาตรฐานฉบับนีจ้ ึง
ตั้งเปาหมายไววาจะชวยองคกรเพิ่มความเชื่อใจของผูมีสวนไดสวนเสียตอองคกร โดยการเพิ่ม
ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานในดานความรับผิดชอบตอสังคม

มาตรฐานฉบับนี้ไมไดมีการบังคับใช แตอยูบนพื้นฐานของความสมัครใจขององคกรในการ
นําไปใช และไมมีขอกําหนดในการนําไปใชในการรับรอง (certification) หรือใชในการบังคับทาง
กฎหมาย หรือเพื่อการทําสัญญาใดๆ มาตรฐานฉบับนีจ้ ะไมใชเปนขอกีดกันทางการคา (non-tariff
barriers to trade) หรือจะเปลี่ยนแปลงขอบังคับทางกฎหมายใดๆ ขององคกร

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 2 
ทุกองคกรจะไดรับการสนับสนุนใหมีความรับผิดชอบตอสังคม โดยการนํามาตรฐานฉบับนี้ไป
ใช ซึ่งจะรวมไปถึงการเขาไปมีสวนรวมกับผูมีสวนไดสว นเสีย และการปฏิบัตติ ามกฎหมายของ
ประเทศ ขอตกลงนานาชาติ และบทบัญญัติอื่นๆ ที่เกีย่ วของ

มาตรฐานฉบับนี้มุงหวังใหองคกรบูรณาการกิจกรรมดานความรับผิดชอบตอสังคมเขากับ
กลยุทธ ระบบ วิถีปฏิบตั ิและขั้นตอนการปฏิบัติงานขององคกร และใหความสําคัญกับการปรับปรุง
การปฏิบัติงานของอคกรดวย

ถึงแมวามาตรฐานฉบับนี้ควรจะนําไปใชงานในแบบองครวม แตสําหรับผูที่ตองการขอมูล
จําเพาะดานเกี่ยวกับความรับผิดชอบตอสังคม สามารถใชขอมูลในตารางตอไปนีใ้ หเปนประโยชน

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 3 
ตารางที่ 1 เนื้อหาของ ISO 26000

ชื่อหัวขอ หัวขอที่ เนื้อหาของหัวขอ


ขอบเขต หัวขอที่ 1 แจกแจงถึงหัวขอตางๆ ทีเ่ กี่ยวของกับมาตรฐานนี้และ
จําแนกขอกําหนดหรือขอจํากัด
เอกสารอางอิงที่ หัวขอที่ 2 รายชื่อของเอกสารที่ควรอานประกอบกับมาตรฐานนี้
เกี่ยวของ
คําศัพทและคํานิยาม หัวขอที่ 3 จําแนกและใหความหมายของคําศัพทสําคัญตางๆ ทีใ่ ชใน
มาตรฐานนี้ คําศัพทเหลานีม้ ีความสําคัญในการทําความ
เขาใจแนวคิดของความรับผิดชอบตอสังคมและการใชงาน
มาตรฐานนี้
บริบทของความ หัวขอที่ 4 อธิบายถึงปจจัย เงื่อนไข และประเด็นที่สาํ คัญที่มีผลตอ
รับผิดชอบตอสังคมที่ การพัฒนาความรับผิดชอบตอสังคมขององคกร และมีผล
องคกรดําเนินการอยู ตอวิถีปฏิบตั ิและธรรมชาติขององคกร นอกจากนี้ยังได
กลาวถึงแนวคิดของความรับผิดชอบตอสังคม คําจํากัด
ความและการนําไปประยุกตใชในองคกร
หลักความรับผิดชอบ หัวขอที่ 5 แนะนําหลักเบื้องตนของพฤติกรรมที่มีความรับผิดชอบตอ
ตอสังคม สังคม
ประเด็นหลักดาน หัวขอที่ 6 อธิบายถึงประเด็นหลักดานความรับผิดชอบตอสังคม
ความรับผิดชอบตอ ไดแก ธรรมาภิบาลขององคกร สิทธิมนุษยชน ขอปฏิบัติ
สังคม ดานแรงงาน สิ่งแวดลอม การดําเนินงานอยางเปนธรรม
ประเด็นดานผูบริโภค และการพัฒนาสังคม ซึ่งในแตละ
ประเด็นหลัก จะไดใหคําจํากัดความ หลักการและเหตุผล
และขอพิจารณาของประเด็นนั้นๆ รวมถึงความคาดหวัง
และการปฏิบตั ิที่เกี่ยวของ
แนวทางปฏิบตั ิดาน หัวขอที่ 7 อธิบายถึงแนวทางที่เปนประโยชนในการบูรณาการความ
ความรับผิดชอบตอ รับผิดชอบตอสังคมเขาไวในองคกร และการนําไปปฏิบัติ
สังคม
บรรณานุกรม ระบุถึงเอกสารอางอิงที่มีประโยชนในการทําความเขาใจ
และการนําเรือ่ งความรับผิดชอบตอสังคมไปปฏิบัติภายใน
องคกร

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 4 
การอางอิงใดๆ ถึงมาตรฐาน มาตรการ หรือความริเริ่มในมาตรฐานฉบับนี้ ไมไดหมายความ
วา ISO จะใหการรับรองหรือใหการสนับสนุนเปนพิเศษกับมาตรฐาน มาตรการ หรือความริเริ่มนั้นๆ

มาตรฐานนี้พฒ
ั นาขึ้นจากกระบวนการมีสว นรวมของผูม ีสวนไดสวนเสียหลายกลุม ซึ่งรวมไป
ถึงผูเชี่ยวชาญในกลุมผูมีสว นไดสวนเสีย 6 กลุม ไดแก ผูบริโภค ภาครัฐ อุตสาหกรรม แรงงาน
องคกรพัฒนาเอกชน และภาคบริการ สนับสนุน วิจัยและอื่นๆ อีกทัง้ มีความพยายามที่จะทําใหเกิด
ความรวมมืออยางกวางขวางและโปรงใสที่สุด นอกจากนี้ ยังมีการจัดทําเงื่อนไขพิเศษที่จะชวย
สนับสนุนใหประเทศกําลังพัฒนามีสวนรวมในกระบวนการพัฒนามาตรฐานนี้ดว ย

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 5 
ความรับผิดชอบตอสังคม

1. ขอบเขต
เกณฑการปฏิบัติเพื่อแสดงความรับผิดชอบตอสังคมฉบับนี้เปนแนวทางสําหรับองคกรทุก
ขนาดและทุกแขนง ซึ่งรางฯ ฉบับนี้มีสาระสําคัญ 5 ประการคือ
- ระบุถึงหลักการและประเด็นที่เกี่ยวของกับความรับผิดชอบตอสังคม
- แนะแนวถึงวิธีปฏิบตั ิและสงเสริมการดําเนินนโยบายทีแ่ สดงถึงความรับผิดชอบตอสังคม
- การชี้แจงและเปดโอกาสใหผูมีสวนไดสวนเสียเขามามีสวนรวมในประเด็นดังกลาว
- การสื่อสารถึงขอตกลงและการปฏิบัตทิ ี่สอดคลองกับประเด็นความรับผิดชอบตอสังคม
- การมีสวนรวมในการพัฒนาที่ยั่งยืน

เกณฑการปฏิบัตินี้ ไมมีอํานาจบังคับทางกฏหมาย ไมไดมีวัตถุประสงคเพื่อการประเมินหรือ


การรับรองและไมใชมาตรฐานสําหรับระบบการจัดการ การนําไปใชจึงไมแสดงถึงการรับรองที่เปน
ทางการ
วัตถุประสงคของเกณฑการปฏิบัตินี้ เปนไปเพื่อสงเสริมความรูความเขาใจในเรื่องของความ
รับผิดชอบตอสังคมและอธิบายความสัมพันธระหวางหลักการดานความรับผิดชอบตอสังคมกับการ
บริหารองคกร ชวยสงเสริมการปฏิบัติและริเริ่มดําเนินนโยบายที่แสดงถึงความรับผิดชอบตอสังคม
โดยหลักเกณฑเหลานี้สามารถนํามาประยุกตใหสอดคลองกับแตละองคกร ขึ้นอยูกับสภาพสังคม
สิ่งแวดลอม กฎหมาย ลักษณะขององคกร สภาพเศรษฐกิจ และกระแสโลกาภิวัฒน

2. ขอมูลอางอิง
เปนสวนทีร่ ะบุถึงแหลงอางอิงของขอมูลที่นํามาใชประกอบกับมาตรฐาน

3. คําศัพทและคํานิยาม
ในรางนี้ไดมีการใหคําจํากัดความและอธิบายความหมายของคําตางๆ ไว 15 คํา ไดแก

3.1 ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได (accountability)


ขอตกลงหรือความประสงคในการแสดงความรับผิดชอบและเหตุผล สาเหตุ หรือแรงจูงใจใน
การกระทําขององคกรนั้นๆ

3.2 ผูบริโภค (consumer)


ผูหนึ่งผูใดที่บริโภคหรือซื้อสินคาและบริการ

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 6 
3.3 พฤติกรรมตามหลักจริยธรรม (ethical behavior)
พฤติกรรมทีถ่ กู ตองตามหลักหรือเปนที่ยอมรับไดในสังคมนั้นๆ

3.4 มาตรฐานสากลของพฤติกรรม (International norms of behavior)


มาตรฐานหรือแบบแผนของพฤติกรรมที่สอดคลองกับการยอมรับในหลักสากลหรือกฎหมาย
ระหวางประเทศ
หมายเหตุ คําประกาศ มติ และแนวทางปฏิบตั ิระหวางประเทศอาจมีหลักการที่เกี่ยวของกันได

3.5 ผูมีสวนไดสวนเสียหลัก (key stakeholder) ไดอธิบายไว 2 ความหมาย


บุคคลหรือกลุม บุคคลที่ไดรบั การรับรองจากองคกรนั้น วาเปนผูท่มี ีผลประโยชน หรือไดรับ
ผลกระทบจากองคกรนั้นๆซึ่งเกี่ยวของกับการพัฒนาอยางยั่งยืนและสวัสดิภาพในสังคม
หรือ บุคคลหรือกลุมบุคคลทีไ่ ดรับผลประโยชนหรือผลกระทบจากองคกรหรือกิจกรรมของ
องคกรที่ถือวามีความสําคัญตอการพัฒนาอยางยั่งยืนหรือสวัสดิภาพในสังคม ซึ่งองคกรควรพิจารณา
อยางรอบคอบในการระบุผมู ีสวนไดสวนเสีย

3.6 องคกร (organization)


กลุมของบุคคลที่ทํางานรวมกันโดยมีจุดประสงคที่ชัดเจน มีการจัดการเกี่ยวกับความ
รับผิดชอบ อํานาจหนาที่ และความสัมพันธในองคกร ซึ่งอาจเปนของรัฐบาลหรือเอกชน โดยอาจจะ
แสวงหาหรือไมแสวงหาผลกําไรก็ได ตัวอยางเชน สถาบันการศึกษา บริษัท สหกรณ เครดิตยูเนียน
โครงการ องคกรรัฐบาลหรือเอกชน มูลนิธกิ ารกุศล ผูคาปลีก (sole trader) กลุมผูคา หรือผูบริโภค

3.7 ธรรมาภิบาลขององคกร (organizational governance)


ระบบภายในองคกรเพื่อการกํากับและบริหารใหไดตรงตามวัตถุประสงค

3.8 การใหและการบริจาค (philanthropy)


การใหเพื่อการกุศลหรือการปฏิบัตทิ ี่มีเมตตาธรรมโดยสมัครใจ

3.9 ผลิตภัณฑ (product)


สินคาหรือบริการ

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 7 
3.10 ความรับผิดชอบตอสังคม (social responsibility)
ความรับผิดชอบตอผลกระทบที่เกิดขึ้นตอสังคมและสิ่งแวดลอมอันเนื่องมาจากการกระทํา
หรือการตัดสินใจขององคกรนั้นๆ โดยแสดงถึงความโปรงใสและมีจรรณยาบรรณ โดยพฤติกรรม
กิจกรรมขององคกร รวมไปถึงสินคาและบริการดังกลาวจะตอง
- สอดคลองกับการพัฒนาอยางยั่งยืนและสวัสดิภาพสังคม
- สอดคลองกับความคาดหวังของผูถือประโยชน
- เปนไปตามกฎหมายที่บังคับใชและสอดคลองกับมาตรฐานสากล
- สามารถนํามาบูรณาการกับทั้งองคกรได

3.12 ผูมีสวนไดสวนเสีย (stakeholder) ไดอธิบายไว 2 ความหมาย


บุคคลหรือกลุม บุคคลที่ไดรบั ผลประโยชนและผลกระทบจากองคกร หรือมีผลกระทบตอ
องคกร ซึ่งเปนการสนับสนุน ตอบรับหรือสรางผลที่ตรงกันขามกับวัตถุประสงคขององคกรโดยผลนั้น
เกี่ยวของกับการพัฒนาอยางยั่งยืนและสวัสดิภาพสังคม
หรือ บุคคลหรือกลุมบุคคลทีไ่ ดรับผลประโยชนที่เกิดจากกิจกรรมใดๆ ขององคกร ซึ่ง
ผลประโยชนนั้นเกี่ยวของกับการพัฒนาอยางยั่งยืนและสวัสดิภาพสังคม

3.13 การมีสวนรวมของผูมีสวนไดสว นเสีย (stakeholder engagement)


กิจกรรมใดๆ ก็ตามที่องคกรไดใหผูมีสวนไดสวนเสีย (หลัก) มีสวนรวมดวย เพื่อกอใหเกิด
ผลลัพธที่เปนประโยชนที่เกีย่ วของกับการพัฒนาอยางยั่งยืนและการปรับปรุงสวัสดิภาพสังคม
หรือ กิจกรรมใดๆที่องคกรนั้นกระทําโดยตั้งใจทําใหเกิดโอกาสในการสื่อสารสองทาง (Two-
way communication) ระหวางองคกรและผูมีสวนไดสว นเสียขององคกรนั้นๆ

3.14 ความยั่งยืน (sustainability)


กิจกรรมที่สามารถลงมือปฏิบัติไดจริงและทําอยางตอเนื่องโดยไมเกิดผลกระทบในดานลบตอ
สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม และมีผลดานลบมากเกินไปเมื่อเทียบกับผลประโยชนที่เกิดขึน้

3.15 การพัฒนาอยางยั่งยืน (sustainable development)


การพัฒนาที่ตรงกับความตองการในปจจุบันโดยที่ไมทาํ ใหเกิดผลกระทบกับคนรุนตอไป

3.16 ความโปรงใส (transparency)


การเปดเผยถึงกิจกรรมและผลกระทบตางๆ โดยประสงคที่จะสื่อสารขอมูลดวยความชัดเจน
และซื่อตรงตอผูมีสวนไดสวนเสียและสังคม

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 8 
4. แนวคิดเรื่องความรับผิดชอบตอสังคม
ความรับผิดชอบตอสังคมอยางสมัครใจ ตองสอดคลองกับขอบังคับทางกฏหมาย และ
มาตรฐานสากล เชน การดําเนินกิจกรรมในองคกรดวยความโปรงใส และสอดคลองกับหลัก
จรรยาบรรณ ซึ่งสงผลใหการปฏิบัติงานเปนไปไดดวยดี และกอใหเกิดความยั่งยืนตอทั้งองคกรและ
ตอโลก องคกรสามารถตัดสินใจเลือกกําหนดนโยบายบนพื้นฐานของกฎหมาย วัตถุประสงคและ
เปาหมายไดเอง และตองทําความเขาใจในผลกระทบของการปฏิบัตงิ านของตนตอสังคมและผูมีสวน
เกี่ยวของอีกดวย
ในหัวขอที่ 4 ไดมีการใหคําจํากัดความในหัวขอยอยอีก 4 หัวขอซึ่งในรางตนฉบับระบุวา
คณะทํางานยังหาขอตกลงไมไดในหัวขอดังตอไปนี้

4.1 ภูมิหลังความเปนมาของแนวคิดเรื่องความรับผิดชอบตอสังคม
4.2 แนวคิดทีส่ รางแรงจูงใจใหองคกรเห็นประโยชนเพื่อนําไปสูความยั่งยืน
4.3 แนวทางเพื่อใหเกิดการขับเคลื่อนจากทฤษฎีไปสูการปฏิบัติ โดยใหความสําคัญกับกรอบ 7 ดาน
4.4 ใหความสําคัญในเรื่องของความรับผิดชอบตอสังคมกับกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย ซึ่งมีประเด็นที่
กลาวถึง 4 ประเด็นคือ

1) แนวคิดที่คํานึงถึงผูมีสวนไดสวนเสีย ซึ่งกลาวถึงการยอมรับและความไววางใจ การ


จัดลําดับความสําคัญของผลประโยชนและผลกระทบ
2) อธิบายสาเหตุที่การตระหนักถึงผูมีสวนไดสวนเสียเปนสวนสําคัญในการแสดงความ
รับผิดชอบตอสังคม ซึ่งเนนใหเห็นถึงการนําไปสูการบรรลุสิ่งที่ตางฝายตางตองการ
3) ความชอบในทางกฎหมายของกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย ซึ่งเปนการยากที่จะระบุใหชัดใน
บางสถานการณ
4) ประโยชนที่จะไดรับจากการตระหนักถึงผูม ีสวนไดสวนเสีย มีการใหคําจํากัดความ 2
แนวทาง แนวทางที่ 1 บอกถึงประโยชน เชน ชวยใหองคกรมีทางออกเมื่อตองจัดการกับ
ประเด็นที่เปนปญหา การสรางความนาเชือ่ ถือ เปนตน แนวทางที่ 2 กลาวถึงคําจํากัด
ความที่อิงกับทฤษฎีบรรษัทภิบาล การระบุผูมีสว นไดสวนเสียและการจัดลําดับ
ความสําคัญของผลประโยชนและผลกระทบ

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 9 
5. หลักความรับผิดชอบตอสังคม (Principle of social responsibility)

5.1 หลักปฏิบัติตามกฎหมาย (Principle of legal compliance)


องคกรควรตั้งใจที่จะปฏิบตั ติ ามกฎหมายทั้งในเชิงรุกและเชิงรับ แตไมครอบคลุมถึงการ
รับผิดชอบตอการกระทําที่เปนเรื่องสวนตัวของสมาชิกขององคกร

5.2 หลักเคารพตอแนวปฏิบัติสากล (Principle of respect for internationally recognized


instruments)
องคกรควรที่จะยินยอมปฏิบตั ิตามสนธิสัญญาสากล คําสัง่ คําประกาศ ขอตกลง มติ และขอ
ชี้นําตางๆ ซึ่งไดรับการรับรองจากองคการสากลที่เกี่ยวของกับองคกรนั้นๆ

5.3 หลักการใหความสําคัญกับผูมีสวนไดสวนเสีย (Principle of recognition of stakeholders


and their concerns)
องคกรควรตระหนักถึงสิทธิและผลประโยชนของผูมีสวนไดสวนเสียโดยเปดโอกาสใหออก
ความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมขององคกร และไดรับทราบถึงขอมูลตางๆ เชน นโยบาย ขอเสนอ และ
การตัดสินใจใดๆ ก็ตามที่จะสงผลถึงผูมสี วนไดสวนเสีย
สิทธิของผูมีสว นไดสวนเสียบางสวนอาจเกิดจากกฎหมายและสัญญา ผูมีสวนไดสวนเสียอาจ
รวมถึงพนักงาน สมาพันธทางการคา ผูบริโภค ผูซื้อและลูกคา ผูลงทุน ผูจัดหาสินคา ผูดูแลกฎหมาย
ชุมชนและประชาชนทัว่ ไป สําหรับผูมีสวนไดสวนเสียบางราย เชน คนรุนอนาคตอาจจะมีผูแทนเปน
บุคคลที่สาม

5.4 หลักความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได (Principle of accountability)


องคกรควรแสดงและอธิบายใหผูมีสวนไดสวนเสียไดทราบถึงหนาที่ นโยบาย การตัดสินใจ
และกิจกรรมใดๆ ก็ตามที่องคกรไดกระทําและสงผลใหเกิดผลกระทบตอผูมีสวนไดสวนเสีย โดยแจง
ใหทราบอยางชัดเจนและเปนเหตุเปนผล
เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบขององคกร องคกรตองแสดงถึงวัตถุประสงคและความกาวหนา
ความสําเร็จและความลมเหลว และการคุกคามและโอกาสขององคกร และตองมีการรายงานอยาง
สม่ําเสมอพรอมกับขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวของดวยความระมัดระวัง ไมวาจะในแงของการคาหรือความ
ปลอดภัยอื่นๆ

5.5 หลักความโปรงใส (Principle of transparency)


องคกรควรมีความสมัครใจในการเปดเผยขอมูลตางๆ อยางโปรงใสและทันทวงทีตอผูมีสวน
ไดสวนเสีย เชน โครงสรางภายใน นโยบาย กฏระเบียบ วิธีปองกัน ความรับผิดชอบ กระบวนการ
ตัดสินใจ และขอมูลอื่นๆ

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 10 
5.6 หลักการพัฒนาอยางยั่งยืน (Principle of sustainable development) ใหความหมายไว 2
ลักษณะ
องคกรควรมีความพยายามอยางตอเนื่องใน “การที่จะกาวไปใหถึงจุดที่ตนเองตองการโดยไม
ทําใหผลประโยชนของคนรุน อนาคตเสียไป”
การพัฒนาอยางยั่งยืนอาจถูกมองไดหลายมุมมอง ทั้งทางสังคม (รวมถึงทางวัฒนธรรม)
สิ่งแวดลอม และเศรษฐกิจ ซึ่งการพัฒนานี้ควรที่จะเปนไปอยางคอยเปนคอยไปไมรวดเร็วเกินไปนัก
ซึ่งจะสงผลกระทบตอสวัสดิภาพของสังคมโลก ที่อยูอาศัย และทรัพยากรตางๆ
การพัฒนาอยางยั่งยืนไดเรียกรองใหองคกรทํากิจกรรมอยางระมัดระวัง และตองไมสงผล
กระทบทางลบในอนาคต

5.7 หลักการจัดการตามหลักจริยธรรม (Principle of ethical conduct)


องคกรควรมีการบริหารจัดการที่เปนไปตามหลักจริยธรรมและนาชืน่ ชมยกยอง ซึ่งประกอบ
ไปดวยความจริงใจ ความซื่อสัตย และความซื่อตรง ตัวอยางการไมดําเนินการตามหลักจริยธรรม
เชน คอรัปชั่น ความไมซื่อสัตย การบิดเบือน การขมขู การเลือกปฏิบัติ และการเลนพรรคเลนพวก
การปฏิบัตติ ามศีลธรรมนั้นแตกตางกันไปในแตละวัฒนธรรม หลักจริยธรรมของการพึ่งพา
อาศัยกันนั้นเปนพื้นฐานที่เนนใหปฏิบตั ิกบั ผูอื่นอยางที่ตองการใหเขาปฏิบัตติ อตนเอง

5.8 หลักการแจงเตือนลวงหนา (Principle of precautionary approach)


องคกรควรทําการคาดการณลวงหนาอยางรอบคอบ ปฏิบัติงานอยางระมัดระวังไมใหเกิด
ความเสียหายแกองคกร และปองกันผลประโยชนขององคกรดวย
หลักการแจงเตือนลวงหนาสําคัญอยางยิ่งในกรณีที่อาจเกิดความเสีย่ งหรือความเสียหาย
รายแรงที่ไมสามารถแกไขไดตอสุขภาพและทรัพยสินของมนุษย หรือตอสิ่งแวดลอม
องคกรควรมีขอ มูลและองคความรูครบถวนมารองรับกอนตัดสินใจดําเนินกิจกรรมใดๆ
เครื่องมือสําคัญสําหรับใชในการจัดการตามหลักการนี้ คือการประเมินความเสี่ยงและการ
พิจารณาอยางรอบคอบ
หลักการแจงเตือนลวงหนาจะเกี่ยวของกับหลักการพัฒนาอยางยั่งยืน การปฏิบตั ิเพื่อปองกัน
สิ่งอันไมพึงประสงครวมถึงการจัดการอยางระมัดระวัง วิธีการใดๆ ก็ตามที่อยูบนพื้นฐานของการ
ปฏิบัตทิ ี่เสี่ยงและทําใหเกิดผลเสียตามมาจะอยูภายใตหลักการแจงเตือนลวงหนา

5.9 หลักความเคารพในสิทธิมนุษยชน (Principle of respect for fundamental human rights)


องคกรควรดําเนินนโยบายและดําเนินกิจกรรมที่สอดคลองกับปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิ
มนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights) ในรางนี้ไดใหขอยกเวนสําหรับบางทองถิ่น
หรือบางประเทศ

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 11 
5.10 หลักความเคารพในความหลากหลาย (Principle of respect for diversity)
องคกรควรจางงานโดยไมมีการแบงแยกเชื้อชาติ สีผิว ความเชื่อ อายุ เพศ หรือความคิดเห็น
ทางการเมือง มีวิธีการปฏิบตั ิในเชิงบวกตอพนักงาน ตระหนักในความแตกตางทางสังคม สิ่งแวดลอม
กฎหมาย วัฒนธรรมในองคกรและระหวางองคกร ยอมรับขีดจํากัดในการสื่อสารทางภาษา ความ
พิการ และใหความสําคัญกับกฎหมายแรงงานเด็ก เปนตน

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 12 
6. ประเด็นหลัก 7 ดานของความรับผิดชอบตอสังคม

6.1 บททั่วไป
การมีความรับผิดชอบตอสังคมนั้น องคกรควรที่จะคํานึงถึงประเด็นหลักตางๆ 7 ดาน ไดแก
ธรรมาภิบาลขององคกร สิทธิมนุษยชน ขอปฏิบัติดานแรงงาน สิ่งแวดลอม การดําเนินงานอยางเปน
ธรรม ประเด็นของผูบริโภค และการพัฒนาสังคม
การจัดการประเด็นเหลานี้ควรทําบนหลักการความรับผิดชอบตอสังคม (ในหัวขอที่ 5) และ
ปฏิบัตติ ามวิธกี ารแสดงถึงความรับผิดชอบตอสังคม (ในหัวขอที่ 7) ซึ่งสาระสําคัญคือการตระหนักถึง
ความคาดหวังของผูมีสวนไดสวนเสีย แจกแจงประเด็นตางๆ ที่เกี่ยวของกับองคกร เชน ผลกระทบที่
เกิดจากจากโครงสรางขององคกร สถานที่ตั้ง กิจกรรม หรือปจจัยอื่นๆ และควรมีการกลาวถึง
ขอเท็จจริงดวย
องคกรควรที่จะมองประเด็นเหลานี้แบบองครวม คือเปนการพิจารณาทั้งระบบมากกวาที่จะ
มองแคสวนใดสวนหนึ่ง และตองทําความเขาใจวาแตละสวนในประเด็นหลักทั้ง 7 ประการนั้น มีผลตอ
กันอยางไร และคํานึงถึงผลกระทบที่มตี อองคกรอื่นๆ ในหวงโซอุปทาน (supply chain) โดยไมให
เกิดผลลบแกองคกร หรือสินคา/บริการขององคกร

รูปที่ 1 ประเด็นหลัก 7 ดาน ของความรับผิดชอบตอสังคม

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 13 
6.2 ธรรมาภิบาลขององคกร (Organizational governance)

6.2.1 หลักการและเหตุผล
ธรรมาภิบาลขององคกร หมายถึง ระบบการบริหารจัดการและกํากับดูแลองคกร เพื่อบรรลุ
วัตถุประสงคที่ตั้งไว ถึงแมวากระบวนการและโครงสรางของธรรมาภิบาลจะมีทั้งแบบเปนทางการและ
ไมเปนทางการ การตัดสินใจขององคกรควรทําภายใตกรอบของธรรมาภิบาล
ระบบธรรมาภิบาลภายในองคกรนั้นจะดําเนินการโดยบุคคลหรือกลุมบุคคลที่มีอํานาจและ
ความรับผิดชอบเพื่อใหองคกรบรรลุวัตถุประสงค ซึ่งตัง้ ขึ้นโดยสมาชิกขององคกร เจาของ ประชาชน
หรืออื่นๆ ขึ้นกับประเภทขององคกร
ธรรมาภิบาลเปนคําที่ใชในหลายบริบท เชน ธรรมาภิบาลระดับสากล (international
governance) ธรรมาภิบาลระดับชาติ (national governance) ธรรมาภิบาลระดับทองถิ่น (local
governance) และธรรมาภิบาลระดับองคกร (organizational governance) แตสําหรับมาตรฐานฉบับ
นี้จะกลาวถึงธรรมาภิบาลระดับองคกร
ธรรมาภิบาลขององคกรจะนําไปสู
- ผลการตัดสินใจที่ดีขึ้นและนําไปใชงายขึน้
- ผลการดําเนินงานที่ดีขึ้น
- การบริหารจัดการความเสี่ยงที่ดีขึ้น
- รับทราบถึงผลกระทบตอผูม ีสวนไดสวนเสียมากขึ้น
- ไดรับความเชือ่ ถือและการยอมรับในการตัดสินใจและการดําเนินการ
การมีธรรมาภิบาลยังชวยใหองคกรไดรับการยอมรับจากผูที่ไดรับผลกระทบ และยังมี
ประโยชนตอสังคมโดยรวม โดยสงเสริมใหมีการใชทรัพยากรบุคคล การเงิน ทรัพยากร ธรรมชาติ
อยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะกอใหเกิดความเชื่อมั่นตอสถาบันทางสังคมโดยรวม

6.2.2 หลักการพิจารณา
ระบบการกํากับดูแลอาจแปรเปลี่ยนตามขนาดและชนิดขององคกร วัฒนธรรม และบริบทของ
สังคม แมวาหลายๆ องคกรจะใชกระบวนการและโครงสรางที่แตกตางกัน แตโดยทั่วไป การกํากับ
ดูแลที่มีประสิทธิผลจะประกอบดวยหลักปฏิบัติ ดังนี้
- ปฏิบัตติ ามกฎหมาย
- ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได
- ความโปรงใส
- ดําเนินงานอยางมีจริยธรรม
- ยอมรับบทบาทของผูมีสวนไดสวนเสีย

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 14 
6.2.3 ธรรมาภิบาลขององคกร ขอ 1 การปฏิบัติตามกฎหมาย (legal compliance)
การปฏิบัตติ ามกฎหมายและกฏระเบียบเปนความรับผิดชอบตอสังคมขั้นต่ําของทุกองคกร
วัตถุประสงคที่สําคัญของการเปนองคกรธรรมาภิบาลคือ การมีความมั่นใจวาจะปฏิบัตติ ามกฎหมาย
และกฏระเบียบที่เกี่ยวของ บางองคกรจะตองปฏิบัตติ ามกฎหมายที่บังคับใชเปนการเฉพาะกับ
ลักษณะและชนิดขององคกรนั้น
องคกรควรสรางวัฒนธรรมที่เหมาะสมในการปฏิบัตติ ามกฎหมายโดย
- ปฏิบัตใิ หถูกตองตามทุกกฎหมายและกฏระเบียบตางๆ ที่บังคับใช
- ปฏิบัตติ ามกฏขอบังคับองคกร นโยบาย กฏระเบียบ วิธีการดําเนินงานขององคกร และ
บังคับใชอยางเปนธรรมและไมเลือกปฏิบตั ิ
- ยอมรับสิทธิตามกฎหมายและสิทธิประโยชนของผูมีสวนไดสวนเสีย
- ทบทวนแผนการปฏิบัตติ ามกฎหมายเปนระยะๆ เพื่อสรางความเชือ่ มั่นวาแผนการนั้นยัง
มีประสิทธิผล

6.2.4 ธรรมาภิบาลขององคกร ขอ 2 ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได (accountability)


ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได (accountability) หมายถึง ภาระหนาที่หรือความเต็มใจของ
องคกรที่จะยอมรับผิดชอบหรืออธิบายเหตุผล องคกรจะตองรับผิดชอบตอผูมีสวนไดสวนเสีย ซึง่ เปน
ผูไดรับผลกระทบจากการตัดสินใจและดําเนินงานขององคกร ความรับผิดชอบทีต่ รวจสอบไดทําให
การตัดสินใจและการกระทําขององคกรไดรับการตรวจสอบและนํามาใชในการออกกฏระเบียบภายใน
ที่จะมีผลกระทบตอการดําเนินการขององคกร นอกจากนี้ยังเปนการเพิ่มความยุตธิ รรมจากการ
ตัดสินใจและการกระทํา เพราะความรับผิดชอบที่ตรวจสอบไดจะเปนการนําไปสูการตัดสินใจและ
ดําเนินงานในเชิงคุณภาพ
องคกรมีหนาที่รับผิดชอบตอ
- ผลการดําเนินงานขององคกรเปนไปตามวัตถุประสงคทตี่ ั้งไว
- การใชทรัพยากรมนุษย การเงินและทรัพยากร รวมทั้งระบบบัญชีและการรายงานผลที่
ไดรับการยอมรับโดยทั่วไป ใหเปนไปอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
- ผลการตัดสินใจรวมทั้งผลทีจ่ ะเกิดขึ้นตามมา ไมวาจะโดยไมตั้งใจหรือไมคาดฝน
- ผลกระทบที่เกิดจากการตัดสินใจและการดําเนินงานขององคกรตอผูมีสวนไดสวนเสีย
- บทบาท ความรับผิดชอบและอํานาจหนาที่ของสายงานตางๆ ในองคกร ที่เกี่ยวของกับ
กระบวนการตัดสินใจ
- การประเมินผลการดําเนินงานขององคกรวาเปนไปตามกฎหมายและระเบียบปฏิบตั ิและ
การควบคุมภายใน
- การตัดสินใจและการดําเนินงานเปนไปตามวัตถุประสงค ในขอบเขตอํานาจหนาที่ของ
องคกร

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 15 
6.2.5 ธรรมาภิบาลขององคกร ขอ 3 ความโปรงใส (transparency)
ความโปรงใส หมายถึง การเปดเผยขอมูลแกบุคคลหรือหนวยงานที่อาจไดรับผลกระทบหรือ
มีความสนใจเกี่ยวกับการตัดสินใจและการดําเนินงานขององคกร รวมถึงการรับฟงขอคิดเห็นตางๆ
เพื่อมาประกอบการตัดสินใจหลัก ทั้งนี้ ระดับชั้นของความโปรงใสจะมีความแตกตางกันตามแตผูมี
สวนไดสวนเสียและสถานการณ
กระบวนการปฏิบัตทิ ี่โปรงใส ไดแก
- มาตรฐานและกฎเกณฑที่ใชประเมินผลงานขององคกรจะตองมีการสื่อสารอยางชัดเจน
- จัดหาขอมูลที่เพียงพอ รวมทั้งแบบฟอรมและเครื่องมือตางๆ ที่ใชในการประเมินผลและ
คาดการณผลตามเกณฑทตี่ ั้งไวใช จะตองเขาใจงาย
- ผูที่ไดรับผลกระทบหรือผูสนใจในการดําเนินงานขององคกรสามารถเขาถึงขอมูลไดอยาง
เสรีตลอดเวลา
- ขอมูลจะตองทันสมัย สมบูรณ ไมตัดตอบางสวน และนําเสนออยางถูกตองชัดเจน ถึงผลที่
มีตอคนในองคกร เจาของ สมาชิก หรือผูมสี วนไดสวนเสีย

6.2.6 องคกรธรรมาภิบาล ขอ 4 หลักการปฏิบัติอยางมีจริยธรรม (ethical conduct)


ผูมีสวนไดสวนเสียขององคกร ซึ่งรวมถึงสมาชิก ชาวบานที่อาศัยอยูในเขต และผูเกี่ยวของ
อื่นๆ มีความคาดหวังวาองคกรจะดําเนินกิจกรรมอยางมีจริยธรรม องคกรควรพัฒนาโครงสรางการ
ปฏิบัติงานหรือการกํากับกิจการที่สงเสริมการดําเนินงานอยางมีจริยธรรมภายในองคกร และ
หนวยงานภายนอกที่เกี่ยวของ
องคกรควรสงเสริมการดําเนินงานที่มีจริยธรรม ดังนี้
- จัดทํามาตรฐานจริยธรรมสําหรับพนักงานทุกคน โดยเฉพาะผูมีอิทธิพลตอความซื่อสัตย
กลยุทธ และการดําเนินงานขององคกร
- สนับสนุนการสังเกตการณการปฏิบัติงานอยางมีจริยธรรมและผลประโยชนทับซอน
- สรางกลไกกํากับและควบคุมเพื่อติดตามและบังคับใหมีการดําเนินงานอยางมีจริยธรรม
- สรางกลไกใหผูมีสวนไดสวนเสียทั้งภายในและภายนอก สามารถรายงานการละเมิดจริ
ธรรมโดยปราศจากความกลัว
- ตระหนักและเขาใจในสถานการณ ที่กฎหมายทองถิ่นไมไดบังคับองคกรใหดําเนินการ
อยางมีจริยธรรม

6.2.7 องคกรธรรมาภิบาล ขอ 5 ความตระหนักของผูมีสวนไดสวนเสีย (recognition of


stakeholders and their concerns)
ถึงแมวาวัตถุประสงคขององคกรอาจจะถูกจํากัดโดยเจาของ สมาชิก ชาวบานในพืน้ ที่ แตผูมี
สวนไดสวนเสียอื่นๆ ก็มีสิทธิตามกฎหมายที่เสนอขอคิดเห็นที่องคกรจะตองคํานึงถึง

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 16 
กระบวนการกํากับดูแลขององคกร จะตองสามารถชี้ประเด็นและคํานึงถึงสิทธิและผล
ประโยชนของผูมีสวนไดสวนเสีย โดยองคกรควร
- แสดงออกถึงความเคารพในผลประโยชน (interest) ความตองการ และความสามารถใน
การติดตอและการมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสียขององคกร
- มุงนําองคกรไปสูผลประโยชนระยะยาว ดวยการสรางสมดุลระหวางความตองการของผูมี
สวนไดสวนเสียปจจุบัน กับความตองการของคนรุนตอไป
- สรางสมดุลระหวางวัตถุประสงคขององคกร กับผลกระทบและความเสีย่ งตอผูมีสวนได
สวนเสีย
- ใหผูมีสวนไดสวนเสียซึ่งอาจไดรับผลกระทบจากการตัดสินใจขององคกร มีสวนรวมใน
กระบวนการตัดสินใจ
- ถึงแมวาผูมีสวนไดสวนเสียนั้นจะไมมีบทบาทในการกํากับดูแลกิจการโดยตรง องคกรก็
ควรใหความสําคัญตอผูมีสวนไดสวนเสียทุกระดับและเปดโอกาสใหเขามามีสวนรวมดวย

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 17 
6.3 สิทธิมนุษยชน (human rights)

6.3.1 หลักการและเหตุผล
ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights) และกฎ
สากลอื่นๆ กําหนดใหสิทธิมนุษยชนเปนสิทธิขั้นพื้นฐานของความมีศกั ดิ์ศรีและความเปนมนุษย สิทธิ
ดังกลาวครอบคลุมถึงสิทธิความเปนพลเมืองและสิทธิทางการเมือง รวมทั้งสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม
และวัฒนธรรม และสิทธิตามกฎหมายระหวางประเทศ สิทธิตางๆ ดังกลาวสรางการยอมรับวา มนุษย
ทุกคนมีเสรี มีอิสระจากความกลัวและความตองการ มีความเสมอภาคและมีสิทธิที่เทาเทียม สิทธิ
มนุษยชนไดรบั การยอมรับเปนสากลใชในทุกๆ ที่ และไมสามารถถูกละเมิดได ไมวาบุคคลนั้นจะ
ยินยอมหรือไมก็ตาม การใหความคุมครองกลุมผูที่ถูกละเมิดไดงาย (vulnerable group) จะตองไดรับ
การพิจารณาเปนพิเศษ
ในขณะที่รฐั มีหนาที่เบื้องตนในการคุมครองและสนับสนุนสิทธิมนุษยชน ปฏิญญาสากลวา
ดวยสิทธิมนุษยชนเรียกรองใหทุกคน ไมวา จะเปนปจเจกหรือทุกหนวยของสังคม มีสวนสําคัญในการ
เฝาระวังการปฏิบัตติ ามขอกําหนดที่ระบุไวในปฏิญญา ดังนั้นองคกรจะตองมีความรับผิดชอบตอการ
ปฏิบัตติ ามสิทธิมนุษยชนภายในเขตดําเนินการขององคกรและหนวยงานภายนอกที่เกี่ยวของ องคกร
ควรถือวา สิทธิมนุษยชนมีความเปนสากล ไมแบงแยก พึ่งพาซึ่งกันและกัน และมีความเกี่ยวพันกัน
หลักการของสิทธิมนุษยชนตั้งอยูบนพื้นฐานของความคงอยูของความมีศักดิ์ศรีของมนุษยตามทีถ่ ูก
กําหนดไวในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน และ International Covenants 1966 และแมวา
สิทธิมนุษยชนจะถูกแยกออกเปนประเภทตางๆ อยางชัดเจน ในขณะที่มีการใชสทิ ธิเฉพาะอยางใด
อยางหนึ่ง ก็ควรจะเคารพในสิทธิอื่นๆ ดวย สิทธิมนุษยชนทุกประเภทจึงมีความสําคัญเทาๆ กัน
องคกรควรทํางานภายใตบริบทของการเมือง สังคม และวัฒนธรรมขององคกร เพื่อสงเสริม
สิทธิมนุษยชนและการเขาไปมีสวนรวมในการแลกเปลีย่ นความเห็น โดยเฉพาะอยางยิ่ง การใหการ
ดูแลกลุมผูทตี่ อ งไดรับการดูแลเปนพิเศษ
การสรางมาตรการปองกันการละเมิดสิทธิมนุษยชนและการเคารพในศักดิ์ศรีความเปนมนุษย
เปนหนาที่ขั้นพื้นฐานของทุกองคกร และยังถือเปนปจจัยพื้นฐานตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ของโลก

6.3.2 หลักการพิจารณา

6.3.2.1 การไมเลือกปฏิบตั ิ (non discrimination)


การไมเลือกปฏิบัติ เปนหนึง่ ในหลักการทีม่ ีความสําคัญมากของหลักการสิทธิมนุษยชนสากล
ทุกคนสมควรไดรับการปฏิบัตติ ามสิทธิมนุษยชนอยางเทาเทียมโดยไมมีการแบงแยกสีผิว เชื้อชาติ
เพศ ศาสนา เผาพันธุ สังคมหรือสัญชาติ การเมือง ความคิดเห็น ทรัพยสิน ความยากจน ความพิการ
ชาติกําเนิด บุคคลไรถิ่น รสนิยมทางเพศหรือผูอยูในสถานภาพอื่นๆ เชน ผูปวยติดเชื้อเอดส การ

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 18 
ตัดสินใจเรื่องการสงเสริมผลิตภัณฑ หรือความเพียงพอของผลิตภัณฑ (availability of products)
หรือการจัดสรรคูคา จะตองอยูบนพื้นฐานของการไมเลือกปฏิบัติหรือไมเลือกตามอําเภอใจ

6.3.2.2 แนวปฏิบัติพื้นฐานตามหลักสิทธิมนุษยชน (a human rights-based approach)


แนวปฏิบตั ิพนื้ ฐานตามหลักสิทธิมนุษยชน หมายถึง การที่องคกรเปดใหทุกคนมีสทิ ธิเขารวม
ในการกําหนดนโยบาย รวมกิจกรรม และการดําเนินการขององคกร การปฏิบัตติ ามฐานคิดดานสิทธิ
มนุษยชนประกอบดวย การพัฒนานโยบายทั่วไปและนโยบายบริหารเฉพาะ ซึ่งอธิบายไดดังตอไปนี้
ขั้นตอนแรก เริ่มจากผูบริหารระดับสูงใหพันธสัญญาวา จะสงเสริมและปกปองสิทธิมนุษยชน
โดยสื่อสารใหทราบทัว่ กันทัง้ ภายในและภายนอกองคกร มีการพัฒนานโยบายเพื่อเปนแนวทาง
สําหรับการบริหารจัดการ โดยเฉพาะดานที่สุมเสี่ยงตอการละเมิด นโยบายดานสิทธิมนุษยชนควร
ครอบคลุมทุกดาน และใหความสําคัญตอการประเมินโครงการใหม หวงโซอุปทาน ภาคสวนที่
เชื่อมโยงกับโครงการ พื้นที่ความมั่นคงและพื้นที่ที่มีปญ
 หาความขัดแยงและปญหาการเมือง
องคกรควรพิจารณาเปนพิเศษในการสนับสนุนและปกปองสิทธิมนุษยชนภายในองคกร ซึ่ง
รวมถึงหวงโซอุปทาน รัฐบาล และหนวยงานที่เกี่ยวของ อีกทั้งพึงระมัดระวังในการประเมินวาองคกร
ปฏิบัตติ ามกฎหมายหรือไม กลยุทธความรับผิดชอบตอสังคมขององคกรควรใหความสําคัญถึงสิทธิ
มนุษยชนทุกดาน แตขณะเดียวกันควรเนนถึงประเด็นที่เรงดวนและจะสรางผลกระทบตอองคกรมาก
ที่สุด

6.3.2.3 การกระทําที่ออนไหว (sensitive action)


สถานการณละเมิดสิทธิมนุษยชนมักจะเกิดขึ้นบอยๆ และสลับซับซอน ดังนั้นเมื่อองคกร
สามารถชี้ประเด็นหรือหาสาเหตุของการละเมิดไดแลว การตอบสนองในการแกปญหาเปนประเด็นที่
พึงระมัดระวัง ที่สําคัญไมควรนําปญหามารวมกัน หรือสรางการละเมิดใหมขึ้น

6.3.2.4 การจัดการความเสี่ยงตอการละเมิดสิทธิมนุษยชน (managing human rights risk)


องคกรที่สงเสริมดานสิทธิมนุษยชนจะสามารถรักษาพนักงานใหอยูกับองคกร เสริมสราง
ความมีช่อื เสียง และดึงดูดนักลงทุนมาลงทุนรวม แตถาองคกรนั้นมีการละเมิดสิทธิมนุษยชนก็จะ
กอใหเกิดความเสียหายแกองคกรและการถูกลงโทษตามกฎหมาย การเฝาระวังใหมีการปฏิบัตติ าม
ดานสิทธิมนุษยชนเปนสวนสําคัญ องคกรควรทําการประเมินความเสีย่ งตอการละเมิดสิทธิมนุษยชน
และสามารถดําเนินการรวมกับผูมีสวนไดสวนเสียในการบริหารความเสี่ยงนั้น การประเมินความเสี่ยง
ควรดําเนินการเปนระยะๆ หรือเริ่มดําเนินการทันทีสําหรับโครงการใหมๆ โดยสามารถนําไปประเมิน
รวมกับการประเมินความเสี่ยงรวมขององคกร
ความเสี่ยงตอการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้นภายนอกองคกร จําเปนตองมีการจัดการ
อยางระมัดระวัง สถานการณดังกลาวประกอบดวย

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 19 
- การดําเนินงานในพื้นที่ที่มปี ญหาความขัดแยง หรือไมมีเสถียรภาพทางการเมือง หรือใน
พื้นที่ที่ประชาชนมีความยากจน หรือประสบภาวะความแหงแลง
- การมีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรมที่มีผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติ เชน แหลงน้ํา
ปาไม และสภาพแวดลอม
- การดําเนินงานที่สรางผลกระทบแกชนดัง้ เดิม
- กิจกรรมที่เกี่ยวกับเด็กหรือที่ใชแรงงานเด็ก
- การดําเนินการในพื้นที่ที่ถือวาการฉอราษฎรบงั หลวงเปนเรื่องปกติ
- ความมั่นคงปลอดภัยของพื้นที่ที่ดําเนินการ
- หวงโซอุปทาน

6.3.2.5 หลีกเลี่ยงการเปนพันธมิตรกับองคกรที่จะนําไปสูการกระทําผิด (avoidance of


complicity)
องคกรควรสงเสริมใหมีการเฝาระวังการปฏิบัตติ ามขอกําหนดดานสิทธิมนุษยชนภายใน
องคกร โดยพิจารณาถึงบริบทของการควบคุมและกระตุนใหมีการปฏิบัตติ ามสิทธิมนุษยชน ความ
รับผิดชอบขององคกรดานสิทธิมนุษยชนครอบคลุมถึงบริษัทในเครือ ผูรว มทุน และคูคา องคกร
จะตองมีสวนรับผิดชอบในการละเมิดสิทธิมนุษยชนขององคกรพันธมิตรดังกลาวดวย ในบางครั้งการ
รวมดําเนินงานกับพันธมิตร องคกรอาจไมมีสวนรวมในการกระทําละเมิดโดยตรง แตพันธมิตรเปน
ผูกระทําและผลการกระทําขยายขอบเขตมาถึง
การประเมินความเสี่ยงดานสิทธิมนุษยชนขององคกร ไมควรที่จะมองประเด็นแคบๆ ในเพียง
บางประเด็น แตควรเปนการมองแบบกวางๆ ใหครอบคลุมและมองระยะยาว กฎหมายดานสิทธิ
มนุษยชนมีการพัฒนาอยูตลอดเวลา ดังนั้นความรับผิดชอบขององคกรจะรับผิดชอยตามกฎหมายที่
ใชบังคับในปจจุบันเทานั้น

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 20 
กรอบที่ 1 การจัดการดานความปลอดภัยและสิทธิมนุษยชน

ทุกองคกรควรมีความมั่นใจวา มาตรการดานการปกปองสิทธิมนุษยชนสอดคลองกับ
มาตรฐานสากลขององคการสหประชาชาติ ขั้นตอนปฏิบัติควรมีมาตรการบรรเทาการใชกําลังทีร่ ุนแรง
การทรมาน การกระทําที่โหดราย องคกรควรระงับหรือหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่สนับสนุน ทรมาน หรือมี
สวนที่จะกอใหเกิดการละเมิด เจาหนาที่ (พนักงานหรือลูกจาง) จะตองไดรับการฝกอบรมอยางดี
องคกรจะตองพัฒนากฏ ขั้นตอนการประสานงานกับหนวยงานรัฐทีช่ ัดเจน รวมทัง้ เจาหนาที่ที่ดูแล
จะตองไมมีประวัตกิ ารละเมิดสิทธิมนุษยชนมากอน การรองเรียนเกี่ยวกับขั้นตอน วิธีการ การ
ปฏิบัติงาน หรือเจาหนาที่ดานสิทธิมนุษยชน ควรไดรับการตอบสนองอยางถูกตอง รวดเร็ว และไม
ถูกครอบงํา องคกรที่ใหบริการดานการรักษาความปลอดภัย ซึ่งเปนทหารหรือตํารวจควรมีความ
เขมงวดในการปองกันไมใหเกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชน สําหรับองคกรที่ขายสินคาหรือใหบริการ
ควรยืนยันวา หนวยงานดานความปลอดภัยที่องคกรจาง ไมกระทําผิดดานสิทธิมนุษยชน

6.3.3 สิทธิมนุษยชน ขอ 1 สิทธิความเปนพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (civil and political


rights)
สิทธิความเปนพลเมืองและสิทธิทางการเมืองเกี่ยวของกับสิทธิของความมีเสรีภาพของ
พลเมือง รวมถึง สิทธิทางการแสดงออกทางความคิดเห็น สิทธิในการรวมและการกอตั้งสมาคม สิทธิ
ในการนับถือศาสนา สิทธิในความเชื่อ และสิทธิความเปนสวนตัว สิทธิความเปนพลเมืองและสิทธิ
ทางการเมือง หมายรวมถึงสิทธิของการมีชีวิต สิทธิความเปนอิสระจากการทรมาน สิทธิดานความ
มั่นคง เสรีภาพ และความซือ่ สัตย สิทธิตางๆ เหลานี้จะถูกสนับสนุนโดยตรงหรือโดยออมจาก
นโยบายของรัฐ และสวนมากจะปกปองสิทธิของปจเจกชนจากการกระทําของรัฐ
รัฐมีความรับผิดชอบเบื้องตนเกี่ยวกับการประกันสิทธิความเปนพลเมืองและสิทธิทางการ
เมือง กระนั้นก็ตามองคกรจะตองใหความเคารพสิทธิและไมทําตัวเปนอุปสรรคขัดขวาง สิทธิของ
บุคคลดวย
องคกรควรยอมรับวา “มนุษยทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวติ อยู และไมมีใครทีพ่ รากสิทธินั้นไปจาก
เขาได” องคกรพึงมีความระมัดระวังที่จะสรางระบบการดําเนินงานที่ไมกระทบกับสิทธิดังกลาว การที่
องคกรวาจางเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยที่ไมมีระเบียบและไมรบั การฝกอบรม อาจจะทําใหเกิด
การสูญเสียชีวิต การใชหนวยรักษาความปลอดภัยดังกลาว จะทําใหองคกรเกิดความเสี่ยงในการ
ละเมิดสิทธิมนุษยชนได
องคกรควรตระหนักวา “ไมมีบุคคลใดที่จะปฏิบตั ิตามอําเภอใจหรือปฏิบัติการนอกกฎหมายที่
ไปแทรกแซงความเปนสวนตัว ครอบครัว บาน หรือสถานที่ติดตอ หรือการกระทํานอกกฎหมายที่
สรางผลกระทบตอเกียรติยศและชื่อเสียงของบุคคลอื่น” องคกรอาจจะมีสิทธิตามกฎหมายที่จะเก็บ

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 21 
ขอมูล เชน ขอมูลดานการแพทยของพนักงาน แตอยางไรก็ตาม จะตองเคารพสิทธิสวนตัวของ
พนักงานและตองบอกวัตถุประสงคของการเก็บใหชัดเจน
องคกรควรเคารพสิทธิของความคิดเห็นและการแสดงความคิดเห็น ซึ่งครอบคลุมถึง การมี
อิสระในการใหความเห็นโดยปราศจากการแทรกแซง การไดรับขอมูลหรือความคิดเห็นผานสื่อตางๆ
เมื่อพบกับเหตุการณที่สมาชิกของชุมชนวิพากวิจารณการดําเนินงานขององคกร องคกรจะตอง
เคารพและรับฟงความคิดเห็น นอกจากนี้ องคกรควรจัดใหมีชองทางการสื่อสารเพื่อรับฟงความเห็น
ของผูมีสวนไดสวนเสียอยางเสรี ถึงแมวาจะเปนความเห็นที่ไมเห็นดวยก็ตาม และไมควรบิดเบือน
เปลี่ยนความคิดเห็น หรือมีอิทธิพลทางความคิดตอผูมีสวนไดสวนเสีย
องคกรควรตระหนักวา “ไมมีบุคคลใดควรไดรับการกระทําดวยการทรมาน โหดราย และการ
ปฏิบัติอยางไมใชมนุษย” การดําเนินการดานระเบียบวินัยขององคกรจะตองเหมาะสมและไมมกี าร
ลงโทษโดยใชกําลังหรือเฆี่ยนตี องคกรที่ดําเนินการในพื้นที่ที่มีความขัดแยงพึงระวังเปนพิเศษไมให
หนวยงานรักษาความปลอดภัยที่องคกรจางกระทําความผิด
องคกรควรตระหนักถึง “สิทธิของความมีอิสระและเสรีภาพในการเคลื่อนยาย” ตัวอยางเชน
องคกรไมควรเก็บหรือยึดหนังสือเดินทางของพนักงาน หรือจํากัดเสรีภาพในการเดินทาง
องคกรควรตระหนักวา “ไมมีบุคคลใดที่จะถูกกระทําในลักษณะทาส” หรือ “ไมมีบุคคลใดที่ถกู
กักขังเยี่ยงทาส” หรือ “การปฏิบัตเิ ยี่ยงทาสหรือการคาขายทาสหามกระทําโดยเด็ดขาด” เพราะเปน
การละเมิดสิทธิความมีอิสระและเสรี องคกรควรมีวธิ ีสืบสวนวา สินคาหรือวัตถุดิบทีอ่ งคกรซื้อนั้นซื้อ
จากผูผลิตทีใ่ ชแรงงานทาสหรือไม และใหหลีกเลี่ยงการจัดซื้อจากแหลงดังกลาว

6.3.4 สิทธิมนุษยชน ขอ 2 สิทธิดานสังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรม (social, economic and


cultural rights)
สิทธิดานสังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรม ประกอบดวย สิทธิสว นบุคคลดานอาหาร การศึกษา
สุขภาพ การรักษาทางการแพทย วัฒนธรรม และบริการทางสังคม สิทธิดานสังคม เศรษฐกิจและ
วัฒนธรรม เปนสิทธิที่จะตองดําเนินการเชิงรุกโดยองคกร
รัฐควรเปนผูรบั ผิดชอบขั้นตนตอสิทธิดานสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม ไมวาอยางไรก็
ตาม ทุกองคกรควรตระหนักถึงสิทธิและชวยสนับสนุนการปฏิบัตติ ามสิทธิ ไมทําตัวเปนอุปสรรคและ
ขัดขวางการเคารพสิทธิขางตน
องคกรควรเคารพสิทธิของทุกคนที่จะมีมาตรฐานการครองชีพที่ดี ในเรื่องสุขภาพและการกิน
ดีอยูดีทั้งสําหรับตัวบุคคลและครอบครัว ซึ่งหมายรวมถึง อาหาร เครื่องนุงหม ที่อยูอาศัย การรักษา
ทางการแพทย และการปกปองทางสังคมที่จําเปน เชน สิทธิในการมีชีวิตที่มั่นคง ในภาวะไมมีงานทํา
เจ็บปวย ทุพพลภาพ เปนหมาย ชรา นอกจากนี้ องคกรไมควรกีดกันชุมชนในการเขาถึงผลิตภัณฑที่
จําเปนตอการยังชีพ หรือปฏิเสธชองทางที่จะเขาถึงทรัพยากรที่จําเปน และจะตองไมจํากัดการเขาถึง
ของชุมชน เมื่อจะทําการแปรรูปสินคาและบริการเหลานัน้

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 22 
องคกรควรเคารพสิทธิของทุกคนที่จะไดรับมาตรฐานดีที่สุดในดานสุขภาพกายและจิตใจ ใน
สวนของกิจกรรมตางๆ สินคาและบริการ องคกรตองทําการประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นตอ
ประเด็นสิทธิมนุษยชน สุขภาพและความปลอดภัย
องคกรควรเคารพสิทธิของทุกคนที่จะไดรับการศึกษา และเคารพสิทธิของผูปกครองในการ
เลือกการศึกษาใหเด็ก การศึกษาควรมีสว นพัฒนาบุคลิกภาพและคุณคาของมนุษย และสรางเสริม
ความเคารพในเรื่องสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน นอกจากนี้ องคกรควรเคารพ
มาตรฐานสากลในเรื่องแรงงานเด็กและอายุขั้นต่ําในการจางงานดวย
องคกรควรเคารพในความเปนบุรุษและสตรีที่จะแตงงานและมีครอบครัว โดยไมมีขอจํากัด
ดานชาติพันธุ เชื้อชาติ หรือ ศาสนา โดยองคกรควรจัดสภาวะในการทํางานที่เหมาะสมกับชีวิต
ครอบครัวของลูกจาง ลูกจางควรมีเวลาใหกับครอบครัวอยางเพียงพอเหมาะสม องคกรโดยไม
ขัดขวางสิทธิในการแตงงานและสรางครอบครัวของลูกจาง ไมควรกีดกันเรื่องพื้นฐานความสัมพันธใน
ครอบครัว และควรมีวันลาหยุดที่เพียงพอเพื่อสงเสริมการทํางานที่สมดุลกับชีวติ สวนตัว
องคกรควรเคารพสิทธิของทุกคนในเรื่องเสรีภาพทางความคิด สามัญสํานึก ศาสนา และ
วัฒนธรรม รวมถึงเสรีภาพในการเปลี่ยนศาสนาหรือความเชื่อ และเสรีภาพในการแสดงออกถึง
ศาสนาหรือความเชื่อที่นับถือ ในรูปแบบของการสอน ปฏิบัติ เคารพ หรือพิธีกรรม
องคกรควรเคารพสิทธิของทุกคนในทรัพยสินสวนบุคคล องคกรควรจายคาตอบแทนอยาง
เปนธรรมใหแกลูกจาง ทั้งในสวนของทรัพยสินทางกายภาพและทรัพยสินทางปญญา

6.3.5 สิทธิมนุษยชน ขอ 3 กลุมที่ตองไดรับการดูแลเปนพิเศษ (vulnerable groups)


องคกรควรใหความสําคัญกับกลุมทีต่ องไดรับการดูแลเปนพิเศษในเรือ่ งสิทธิมนุษยชน เปด
โอกาสใหมีสวนรวมอยางเต็มที่ และไดเปนสวนหนึ่งของสังคม องคกรควรนโยบายเชิงรุกเพื่อสราง
โอกาสที่เทาเทียมกันและเคารพคนทุกกลุมอยางเทาเทียม
องคกรพึงระมัดระวังในการเคารพสิทธิมนุษยชนของชนพื้นเมืองและชนกลุมนอย เมื่อตอง
ดําเนินงานในสภาพแวดลอมที่ไมคุนเคย โดยควรปกปองเสรีภาพของผูมีสวนไดสวนเสียใหสามารถ
ดําเนินชีวิตตามขนบธรรมเนียมประเพณีของตัวเอง นอกจากนี้ องคกรควรแนใจวาการดําเนินการ
นโยบาย และกิจกรรมขององคกรเปดโอกาสใหผูคนแตละชาติพันธุ ศาสนา ภาษา หรือ ชุมชน มีวิถี
ชีวติ ตามวัฒนธรรมของตนเอง ไดนับถือศาสนา หรือไดใชภาษาทองถิ่นของตนเองดวย
องคกรควรเคารพสิทธิสตรีและสงเสริมการปฏิบัตติ อสตรีอยางเทาเทียมกัน โดยเฉพาะใน
ประเด็นการกีดกันสตรีมีครรภและการมีนโยบายที่สงเสริมความสัมพันธในครอบครัว รวมทั้งควรให
ความสําคัญกับสิทธิเด็ก โดยคํานึงถึงผลประโยชนที่ดที ี่สุดของเด็กเปนพื้นฐาน ไมกีดกันสิทธิเด็กใน
การดํารงชีวิต พัฒนาและแสดงออกอยางเสรี นอกจากนี้ องคกรไมควรกีดกันผูอพยพและแรงงาน
อพยพดวย

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 23 
6.3.6 สิทธิมนุษยชน ขอ 4 สิทธิขั้นพื้นฐานในที่ทํางาน (fundamental right at work)
องคกรแรงงานสากล (International Labour Organization ILO) กําหนดสิทธิขั้นพื้นฐานใน
การทํางาน ไวในประกาศวาดวยเรื่องหลักพื้นฐานและสิทธิในการทํางาน (ILO Declaration on
fundamental principles and rights at work in 1998) ซึ่งประเทศสมาชิกขององคกรแรงงานสากล
จํานวน 180 ประเทศ ไดลงนามสนับสนุนและยอมรับพันธกิจในการสงเสริมสิทธิเหลานี้
องคกรควรเคารพสิทธิของลูกจางทุกคนในการกอตั้งกลุมหรือเขารวมกลุมโดยไมตองไดรับ
การอนุญาตกอน มีเสรีภาพในการเจรจาตอรองรวมกัน อีกทั้งอาจกอตั้งหรือเขารวมสหภาพแรงงาน
เพื่อปกปองผลประโยชนของกลุมลูกจาง องคกรของลูกจางควรมีอํานาจตอรองกับองคกร เชน การ
ตกลงกันในเรือ่ งขอกําหนดและเงื่อนไขของการวาจาง ขอตกลงในการจัดการความขัดแยง ซึ่งตัวแทน
ลูกจางควรไดรับขอมูลที่จําเปนมากที่สุด
องคกรไมควรหาผลประโยชนจากการบังคับใชแรงงานและจากการใชแรงงานตองโทษ เวน
แตนักโทษไดรับการตัดสินโทษแลวและอยูภายใตการควบคุมดูแลของเจาหนาที่รัฐ องคกรไมควร
บังคับและลงโทษแรงงาน และใชการลงโทษแรงงานนั้นเปนเครื่องขมขูทางการเมือง เพื่อรักษาจุดยืน
ทางการเมือง หรือใชเปนขอลงโทษในการประทวงหยุดงาน
องคกรไมควรหาผลประโยชนจากการใชแรงงานเด็ก มาตรฐานแรงงานสากลกําหนดอายุ
แรงงานขั้นต่ําไวที่ 15 ป และในบางประเทศกําหนดไวที่ 14 ป เด็กและเยาวชนที่อายุต่ํากวา 18 ป
ไมควรถูกจางทํางานใดๆ ทีม่ ีแนวโนมกอใหเกิดอันตรายและทําลายขวัญกําลังใจของเด็ก
องคกรไมควรเลือกปฏิบตั ิในกระบวนการจางงาน โดยการวาจาง การฝกอบรม และการเลื่อน
ตําแหนง ควรอยูบนพื้นฐานของคุณสมบัติ ทักษะ และประสบการณ ไมใชอยูบนพืน้ ฐานของ ชาติ
พันธุ สีผิว เพศ ศาสนา ความสัมพันธทางการเมือง เชื้อชาติ หรือพื้นเพเดิม นอกจากนี้ องคกรไมควร
กีดกันแรงงานที่ปวยไขไดเจ็บ เชน ปวยเปนโรคเอดส หรือมีอคติกับรสนิยมทางเพศของแรงงาน

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 24 
6.4 ขอปฏิบัติดานแรงงาน (labour practices)

6.4.1 หลักการและเหตุผล
ขอปฏิบัติดานแรงงานขององคกรหนึ่งๆ หมายถึง นโยบายและขอปฏิบัตทิ ี่เกี่ยวของกับงานที่
กระทําภายในองคกร โดยองคกร และตามที่องคกรไดมอบหมาย ซึ่งครอบคลุมถึงความสัมพันธของ
องคกรกับพนักงานโดยตรง ความรับผิดชอบในสถานทีท่ ํางาน ความรับผิดชอบตองานที่มอบหมาย
ใหผูอื่นกระทํา เชน คูคา นอกจากนี้ ขอปฏิบัติดานแรงงานยังรวมถึงการรับสมัครงานและการเลื่อน
ตําแหนงของลูกจาง ระเบียบวินัยและกระบวนการรับเรื่องราวรองทุกข การบอกเลิกจาง และนโยบาย
หรือขอปฏิบัตใิ ดๆ ที่กระทบตอเงื่อนไขในการทํางาน อีกทั้งยังหมายถึงการยอมรับกอตั้งกลุมหรือเขา
รวมกลุมของลูกจาง การเจรจาตกลงรวมกัน และการหารือทําความเขาใจกันระหวางลูกจางกับองคกร

6.4.2 หลักการพิจารณา
หลักการพื้นฐานตามที่ระบุไวในปฏิญญาฟลาเดลเฟย ป 1994 กลาววา แรงงานไมใชสินคา
ดังนั้นแรงงานจึงไมควรถูกปฏิบัตเิ สมือนเปนปจจัยการผลิต และใชแรงผลักดันทางการตลาดชนิด
เดียวกัน แรงงานมีสิทธิที่จะเลือกทํางานอยางอิสระเสรี และไดรับเงือ่ นไขในการทํางานที่ถูกตองและ
เปนประโยชนตอตัวเอง
หลักสิทธิมนุษยชนโดยสวนใหญเกี่ยวของกับแรงงาน สิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน ไดแก สิทธิ
ของลูกจางที่จะกอตั้งกลุมหรือเขารวมกลุม การเจรจาตกลงรวมกันกับนายจาง ไมถูกกีดกันในการ
จางงาน ปราศจากการใชแรงงานเด็กและแรงงานที่ถูกบังคับ
ผูทําหนาที่หลักในการดูแลการปฏิบัตทิ ี่เปนธรรมและยุติธรรมตอลูกจาง1คือรัฐบาล โดย
รัฐบาลควรตรากฎหมายและขอบังคับตางๆ และตัดสินใจนํากฎหมายและขอบังคับไปใช ในสวนของ
องคกรจะแสดงออกถึงความรับผิดชอบตอสังคม จากการรับผิดชอบตอขอปฏิบัติดานแรงงานและ
ประเด็นเงื่อนไขในการทํางาน องคกรไมควรหลีกเลี่ยงสิทธิของลูกจางอันเนื่องมาจากความลมเหลว
ของรัฐบาลในการบังคับใชกฎหมายแรงงาน

6.4.3 ขอปฏิบัติดานแรงงาน ขอ 1 การจางงานและความสัมพันธของการจางงานแบบ


นายจาง-ลูกจาง (employment relationship)
องคกรควรยอมรับแนวคิดสากล เรื่องความสัมพันธของการจางงาน (employment
relationship) แบบนายจาง-ลูกจาง ที่อยูภายใตกฎหมายแรงงานหรือกฎหมายการจางงาน โดย
ยอมรับสิทธิและขอปฏิบัตขิ องนายจางและสิทธิและขอปฏิบัตขิ องลูกจาง พรอมทั้งยึดถือผลประโยชน
ของสังคมโดยรวม
1
คําวา พนักงาน (employee) หมายถึง บุคคลที่มีความสัมพันธในการทํางานแบบ employment relationship
สวนคําวา ลูกจาง (worker) มีความหมายที่กวางกวา และหมายถึงบุคคลใดก็ตามที่ปฏิบัติงาน และอาจหมายถึง
พนักงาน และผูประกอบอาชีพอิสระ (self employed)
รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 25 
งานบางประเภทไมจัดวามีความสัมพันธแบบนายจาง-ลูกจาง เชน งานและบริการจากผู
ประกอบอาชีพอิสระ (self employed) อยางไรก็ตาม จําเปนตองมีกฎระเบียบและขอบังคับทาง
กฎหมายที่เหมาะสม ทุกฝายภายใตสัญญาการจางงานจะตองเขาใจสิทธิและความรับผิดชอบของ
ตัวเอง
องคกรควร
- มั่นใจวาผูที่ปฏิบัติงานใหองคกร เปนพนักงาน (ไดรับการยอมรับตามกฎหมาย) หรือผู
ประกอบอาชีพอิสระ (ไดรับการยอมรับตามกฎหมาย)
- หลีกเลี่ยงการเปลี่ยนความสัมพันธของการจางงานแบบนายจาง-ลูกจางไปเปนแบบอื่น
- ใชแผนงานเชิงรุกดานแรงงาน เพื่อหลีกเลี่ยงการทํางานแบบไมเปนทางการหรือการ
ทํางานชั่วคราว ยกเวนในกรณีที่ธรรมชาติของงานเปนงานระยะสั้นหรือตามฤดูกาล
- จัดทําประกาศแจงอยางสมเหตุสมผล และพิจารณารวมกับตัวแทนลูกจางถึงแนวทาง
บรรเทาผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้นใหมากที่สุด ในเรื่องเกี่ยวกับการเปลีย่ นแปลงการ
ดําเนินการ เชน การปดกิจการ
- ไมเลือกปฏิบตั ิดา นการจางงาน และใหโอกาสเทาเทียมกันแกผูหญิง เด็ก และกลุมที่ตอง
ไดรับการดูแลเปนพิเศษ เชน กลุมผูพิการ กลุมผูอพยพ และกลุมชนพื้นเมือง
- ไมบอกเลิกจาง/ไลออก โดยพลการ หรือเลือกปฏิบตั ิอยางไมเทาเทียม
- ทําสัญญามอบหมายงาน (contract out) ใหกับองคกรซึ่งไดรับการยอมรับตามกฎหมาย
หรือเต็มใจรับความรับผิดชอบของผูวาจาง
- มีความรับผิดชอบตองานทีม่ อบหมายใหองคกรอื่นๆ ทํา เชน คูคา และผูรับเหมา โดย
ยืนยันไดวา องคกรนั้นๆ ทีด่ ําเนินการรวมกัน มีความชอบธรรม และมีขอปฏิบัติดา น
แรงงานที่เหมาะสม

กรอบที่ 2 องคกรแรงงานสากล (International Labour Organization)

ILO เปนหนวยงานหนึ่งขององคการสหประชาชาติ (United Nations agency) ที่มีโครงสราง


3 ฝายดวยกันคือ ภาครัฐ ลูกจาง และนายจาง ILO มีวัตถุประสงคเพือ่ ตั้งมาตรฐานแรงงานสากลขั้น
ต่ําใชไดกบั ลูกจางทุกแหง และมีเจตนาทีจ่ ะปองกันการแขงขันที่ไมเปนธรรมบนพืน้ ฐานของการ
แสวงหาประโยชนและการใชในทางที่ผิด ซึ่งการเจรจาในระดับนานาชาติของทั้ง 3 ฝายนี้ ทําใหเกิด
การนํามาตรฐานไปใชอยางถูกตองเหมาะสม แนวทางปฏิบัติดานแรงงานที่นาเชื่อถือ สามารถหาได
จากขอกําหนด 3 ฉบับ ไดแก ILO Conventions and Recommendations, ILO Declaration on
fundamental principles and rights at work 1998 และ ILO’s Tripartite Declaration of principles
concerning multinational enterprises and social policy 1977 (ปรับปรุงแกไข ป 2006)

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 26 
6.4.4 ขอปฏิบัติดานแรงงาน ขอ 2 เงื่อนไขในการทํางานและการคุมครองทางสังคม
(condition of work and social protection)
เงื่อนไขในการทํางาน หมายถึง คาจางและคาตอบแทนอื่นๆ เวลาทํางาน เวลาพักผอน
วันหยุด ระเบียบวินัยและขอปฏิบัติในการเลิกจาง ความสมดุลระหวางชีวิตทํางานกับชีวติ สวนตัว
เปนตน เงื่อนไขในการทํางานโดยมากถูกกําหนดโดยกฎหมาย หรือขอตกลงระหวางนายจางและ
ลูกจาง ซึ่งโดยสวนใหญนายจางจะมีสวนรวมในการกําหนดเงื่อนไขในการทํางานนี้
การคุมครองทางสังคม หมายถึง การรับประกันวาจะไมมีการสูญเสียรายไดเมื่อเกิดบาดเจ็บ
จากการทํางาน การเจ็บปวย การคลอดบุตร การเปนบิดามารดา (parenthood) การแกชรา การ
วางงาน การพิการทางกาย และความยากลําบากทางการเงินอื่นๆ
องคกรควร
- ยืนยันวาเงื่อนไขในการทํางานเปนไปตามกฎหมาย และสอดคลองกับมาตรฐานแรงงาน
สากลที่เกี่ยวของ
- ในประเด็นที่กฎหมายของประเทศไมไดกลาวถึง ใหพิจารณาใชขอกําหนดที่ต่ําที่สุดตามที่
ระบุไวในมาตรฐานแรงงานสากล
ตามหลักมาตรฐานแรงงานสากล องคกรควรปฏิบัติดังนี้
- จัดหาเงื่อนไขการทํางานที่เปนประโยชนตอลูกจาง ในเรื่องคาจาง เวลาทํางาน การหยุด
พักประจําสัปดาหและวันหยุด
- จายคาจางและจัดหาเงื่อนไขอื่นๆ ในการทํางานที่ดีที่สดุ เทาที่จะทําได ตามขอปฏิบัติและ
ขอบังคับของกฎหมาย ซึ่งสัมพันธกับสถานะทางเศรษฐกิจขององคกร แตจะตองสามารถ
ตอบสนองความตองการขั้นพื้นฐานของลูกจางและครอบครัว
- จายคาจางโดยตรงใหกับลูกจาง ยกเวนมีขอจํากัดหรือการหักลดตามที่กฎหมายกําหนด
- ลูกจางควรไดรับคาตอบแทนจากการทํางานลวงเวลาตามที่กฎหมายกําหนด องคกรควร
เคารพกฎหมายที่หามมิใหบังคับลูกจางทํางานลวงเวลาหรือทํางานลวงเวลาโดยไมจาย
คาตอบแทน
- อนุญาตใหลูกจางไดประกอบพิธีกรรมทางศาสนาและพิธีกรรมตามประเพณีของตนเอง

6.4.5 ขอปฏิบัติดานแรงงาน ขอ 3 การสานเสวนา (social dialogue)


การสานเสวนา หมายถึง การเจรจาตอรอง การปรึกษา หรือการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวาง
ตัวแทนภาครัฐ นายจาง และลูกจาง ในประเด็นที่เปนผลประโยชนรว มกันดานเศรษฐกิจและสังคม
การสานเสวนาตั้งอยูบนพื้นฐานของการยอมรับวา พนักงานและลูกจางมีทั้งผลประโยชนรวมกันและมี
ผลประโยชนที่แขงขันกัน
การสานเสวนาจะประกอบดวยหลายฝายที่เปนอิสระตอกัน ตัวแทนลูกจางมาจากการเลือกตั้ง
อยางเสรีโดยสมาชิกของสหภาพแรงงาน หรือลูกจางขององคกร ไมไดมาจากการแตงตั้งของภาครัฐ

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 27 
หรือนายจาง การสานเสวนาและกลไลการใหคําปรึกษามีหลายรูปแบบ เชน สภาแรงงาน (Works
Councils) และการเจรจาตกลงรวมกัน (collective bargaining)
การสานเสวนาที่มีประสิทธิผล จะเปนกลไกพัฒนานโยบายที่คํานึงถึงความสําคัญกอน-หลัง
และความตองการของฝายนายจางและลูกจางเปนสําคัญ ผลลัพธที่เกิดขึ้นจึงเปนประโยชนและยั่งยืน
สําหรับทั้งตัวองคกรเองและสังคม การเจรจาหารือทางสังคมจะมีสวนชวยสรางหลักประชาธิปไตยและ
การมีสวนรวมในองคกร สรางแรงงานสัมพันธที่ดี ลดการโตแยงในการทํางาน และชวยสงเสริมการ
ลงทุน นอกจากนี้ ยังใชเพื่อออกแบบโครงการพัฒนาบุคลากร ซึ่งจะชวยเพิ่มผลิตภาพในการทํางาน
องคกรควร
- ใหความสําคัญกับการสานเสวนา และมีสวนรวมในการเจรจาตกลงรวมกัน
- ไมตอตานหรือบั่นทอนการใชสิทธิของลูกจางในการจัดตั้งกลุมหรือรวมกลุม หรือในการ
เจรจาตกลงรวมกัน
- ไมบอกเลิกหรือเลือกปฏิบัตติ อลูกจาง ขมขูใหยายงานใหม จัดหางานจากภายนอก หรือ
ขัดขวางไมไดลูกจางจัดตั้งหรือรวมกลุมเพือ่ เจรจาตกลงรวมกัน
- ใหตัวแทนลูกจางที่ไดรับมอบหมาย เขาถึงผูมีอํานาจตัดสินใจขององคกร เครื่องอํานวย
ความสะดวกที่จําเปนตอการทํางาน และขอมูลดานการเงินขององคกร
- ไมสนับสนุนใหรัฐบาลออกกฎระเบียบหามมิใหลูกจางใชสิทธิในการชุมนุมอยางเสรีและ
การเจรจาตกลงรวมกัน โดยองคกรจะไมเขารวมโครงการจูงใจใดๆ ของภาครัฐทีอ่ ยูบน
พื้นฐานของการหามใชสิทธิขางตน

6.4.6 ขอปฏิบัติดานแรงงาน ขอ 4 สุขภาพและความปลอดภัยในการทํางาน (health and


safety at work)
การสรางความปลอดภัยในการทํางานใหลูกจาง ทั้งทางกาย ใจ และสังคม เปนสิ่งจําเปนที่
องคกรควรตระหนัก เพื่อปองกันมิใหเกิดอันตรายและความเสี่ยงๆ จากสภาวะในการทํางาน ทั้งนี้
เพราะการเจ็บปวย บาดเจ็บ หรือเสียชีวิตของลูกจางกอใหเกิดตนทุนทางสังคมที่สงู รวมถึงมลพิษ
และอันตรายตางๆ อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนและสภาพแวดลอม นอกจากนี้ การสงเสริม
สุขภาพและความปลอดภัยในการทํางานดวยความรับผิดชอบ จะชวยลดตนทุนในการประกอบการ
ปรับปรุงขวัญและกําลังใจของลูกจาง และเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน
องคกรควร
- มีกระบวนการทํางานที่ถูกตองเหมาะสม และจัดหาอุปกรณดานความปลอดภัยเพื่อ
ปองกันมิใหเกิดอุบัติเหตุและจัดการกับเหตุฉุกเฉินที่อาจมีขึ้น
- ใหความสําคัญกับนโยบายดานสุขภาพและความปลอดภัย และถือวาสุขภาพและความ
ปลอดภัยเปนสิ่งที่สําคัญที่สดุ ในการปฏิบตั ิการขององคกร
- ไมเก็บคาใชจา ยจากลูกจาง ในการดําเนินมาตรการตางๆ ดานสุขภาพและความปลอดภัย

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 28 
- นําระบบสุขภาพและความปลอดภัยที่อยูบนพื้นฐานของการมีสวนรวมของลูกจางมาใช
รวมทั้งเคารพในสิทธิของลูกจางที่จะ
ƒ ไดรับขอมูลดานความเสี่ยงตอสุขภาพและความปลอดภัย และแนวทางในการจัดการ
กับความเสีย่ งอยางถูกตองครบถวน
ƒ ขอคําปรึกษาดานสุขภาพและความปลอดภัยในการทํางานตามสมัครใจ
ƒ ปฏิเสธงานทีเ่ ปนอันตราย
ƒ สอบถามขอมูลดานสุขภาพและความปลอดภัยจากแหลงภายนอก
ƒ แจงเหตุดานสุขภาพและความปลอดภัยตอเจาพนักงาน
ƒ มีสวนรวมในกระบวนการตัดสินใจดานสุขภาพและความปลอดภัย
ƒ ไมถูกเพงเล็งจากการกระทําตางๆ ที่กลาวไวขางตน

กรอบที่ 3 คณะกรรมการรวมดานสุขภาพและความปลอดภัยของลูกจาง
(joint labour-management health and safety committees

คณะกรรมการรวมดานสุขภาพและความปลอดภัยของลูกจาง ถือเปนสวนที่สําคัญที่สุดของ
แผนงานดานสุขภาพของความปลอดภัยขององคกร มีบทบาทที่สําคัญไดแก การเก็บรวบรวมขอมูล
การพัฒนาคูมือความปลอดภัยและแผนการฝกอบรม การจัดทํารายงานและสืบสวนอุบัติเหตุตางๆ ที่
เกิดขึ้น การตอบขอซักถามของลูกจาง โดยองคประกอบของคณะกรรมการรวมฯ ควรมาจากสวนของ
กรรมการบริหารและสวนของลูกจางอยางเทาๆ กัน ตัวแทนลูกจาง ควรมาจากการเลือกตั้งของ
ลูกจางโดยตรง และเปนตัวแทนจากทุกกะ ทุกสวนงาน และทุกสาขา

6.4.7 ขอปฏิบัติดานแรงงาน ขอ 5 การพัฒนาบุคลากร (human resource development)


การพัฒนาบุคลากรเปนกระบวนการเพิ่มพูนทางเลือกของบุคลากร โดยองคกรควรสงเสริม
ทักษะความสามารถของบุคลากร เพิ่มประสบการณ ความสามารถ รวมทั้งเปดโอกาสใหบุคลากร
ไดรับโอกาสทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ที่จะสรางสรรคสิ่งที่เปนประโยชน เกิดความเคารพ
ตัวเอง และรูส กึ เปนสวนหนึง่ ของชุมชน อันจะนําไปสูการมีสุขภาพดี ชีวติ ยืนยาว และมีมาตรฐานการ
ครองชีพที่ดี
องคกรควร
- วางแผนพัฒนาทักษะและฝกอบรมบุคลากร รวมทั้งเพิม่ โอกาสความกาวหนาในอาชีพการ
งานใหกับลูกจางอยางเทาเทียมกันโดยไมเลือกปฏิบตั ิ
- จัดใหมีชวงเวลาทํางานที่สมเหตุสมผล เพื่อใหลูกจางใชชีวติ สวนตัวและชีวิตการทํางาน
อยางสมดุล เชน จัดหาสถานที่เลี้ยงเด็ก ลาคลอดบุตร เปนตน

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 29 
- มีการปฏิบัติอยางเปนธรรมตอการรับสมัครงาน การคัดเลือก การฝกอบรม การเลื่อน
ตําแหนง และการเลิกจาง
- เตรียมแผนการที่เหมาะสมเพื่อคุมครองกลุมลูกจางที่ตอ งการการดูแลเปนพิเศษ
- จัดทําแผนงานรวมดานการจัดการแรงงานที่มุงสงเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของ
ลูกจาง เชน ผลกระทบจากโรคติดตอและการใชสสารในทางที่ผิด

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 30 
6.5 สิ่งแวดลอม (environment)

6.5.1 หลักการและเหตุผล
ในปจจุบันนี้ โลกกําลังเผชิญกับปญหาดานสิ่งแวดลอมมากมาย เชน ทรัพยากรธรรมชาติ
หมดไป สภาพอากาศเปลีย่ นแปลง มลภาวะเปนพิษ ระบบนิเวศเสือ่ มโทรม เปนตน ความทาทาย
ดานสิ่งแวดลอมเหลานี้ถือเปนปญหาระดับโลกที่ทุกคนกําลังเผชิญรวมกัน และเชื่อมโยงอยางใกลชิด
กับประเด็นสิทธิมนุษยชนและการพัฒนาสังคม การแกไขปญหาเหลานี้ตองใชมาตรการที่จริงจังและ
เหมาะสมที่ทกุ คนในสังคมควรมีสว นรวม และทุกองคกรพึงตระหนักและปฏิบัติงานอยางมีความ
รับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม

6.5.2 หลักการพิจารณา

6.5.2.1 ความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม (environmental responsibility)


องคกรควรมีนโยบายและแนวทางปฏิบตั เิ พื่อคุมครองลูกจางและสิ่งแวดลอม ปฏิบตั ิตาม
กฎหมาย ไมวาจะเปนระดับทองถิ่น ระดับรัฐ หรือระดับประเทศ และปฏิบตั ิตามบรรทัดฐานสากลใน
ประเด็นที่ไมมีกฎหมายรองรับ บูรณาการมาตรฐานดานสิ่งแวดลอมเขากับการจัดการหวงโซอุปทาน
สงเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีสิ่งแวดลอมและการถายทอดเทคโนโลยี สรางความรูความเขาใจดาน
สิ่งแวดลอมใหกับลูกจางและชุมชน รวมทั้งใชกระบวนหารือรวมกันแบบสานเสวนาในประเด็น
ผลกระทบทางสิ่งแวดลอม

6.5.2.2 หลักการแจงเตือนลวงหนา (precautionary approach)


องคกรควรใชหลักการแจงเตือนลวงหนาเพื่อคุมครองสุขภาพและปกปองสิ่งแวดลอม ในกรณี
ที่ยังไมมีขอมูลเพียงพอในดานผลกระทบตอสุขภาพและสิ่งแวดลอม องคกรควรนําเครื่องมือวิจัย
ดังตอไปนี้ไปใช เชน การวิเคราะหวงจรชีวติ ผลิตภัณฑ (life cycle analysis) การประเมินความเสี่ยง
ทางสิ่งแวดลอม (environmental risk analysis) การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดลอม
(environmental impact assessment) เปนตน

6.5.2.3 หลักการผูกอมลพิษเปนผูจาย (polluter pays principle)


องคกรควรออกคาใชจายในการปองกันมิใหเกิดมลพิษ ตามระดับความรายแรงของมลพิษ
และผลกระทบที่เกิดขึ้น หรือตามระดับทีม่ ลพิษนั้นเกินจากคามาตรฐานที่ยอมรับได

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 31 
6.5.2.4 การใชเทคโนโลยีที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม (use of environmentally sound
technologies)
องคกรที่มีความรับผิดชอบควรสนับสนุนการพัฒนาและการนําเทคโนโลยีที่เปนมิตรตอ
สิ่งแวดลอมไปใช เทคโนโลยีที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม หมายถึง เทคโนโลยีที่ปกปองสิ่งแวดลอมจาก
มลพิษตางๆ กอใหเกิดมลพิษนอย ใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพอยางยั่งยืน มีการนําของเสียและ
ผลิตภัณฑกลับมาใชใหม และจัดการกากของเสียจากกระบวนการผลิตอยางมีประสิทธิภาพ

6.5.3 กลยุทธ นโยบาย และเครื่องมือ


เครื่องมือทางสิ่งแวดลอมทีอ่ งคกรสามารถนําไปใชเพื่อสนับสนุนการวางแผน และปรับปรุง
การดําเนินงานดานสิ่งแวดลอม ไดแก ระบบการจัดการสิ่งแวดลอม (environmental management
systems) การประเมินทางสิ่งแวดลอม (environmental auditing/assessments) นอกจากนี้
เครื่องมือที่จะชวยองคกรตัดสินใจดานการจัดการสิ่งแวดลอม เชน การประเมินวงจรชีวิตผลิตภัณฑ
(life cycle assessment) การประเมินตนทุนรวม (total cost assessment) การประเมินผลกระทบ
ทางสิ่งแวดลอม (environmental impact assessment) เปนตน

6.5.4 สิ่งแวดลอม ขอ 1 การจัดการปญหาสิ่งแวดลอมในการดําเนินองคกร และการผลิต


สินคาและบริการ (Identifying and managing environmental aspects of activities,
products and services)

1) การปลอยมลพิษสูอากาศและน้ํา (emission to air and water)


องคกรควรดําเนินการดังตอไปนี้ เพื่อลดการปลอยมลพิษสูสิ่งแวดลอม
- แยกแยะ วัดปริมาณ จดบันทึก และรายงาน การปลอยมลพิษสูอากาศและน้ํา
- วางแผนลดการปลอยของเสียสูอากาศและน้ําใหอยูในระดับที่กฎหมายกําหนด พรอมทั้ง
นําไปปฏิบตั ิ และรายงานผล
- กําหนดเปาหมายและรายงานผลการดําเนินการดานการลดการปลอยของเสียสูอากาศ
และน้ํา โดยใชมาตรการและหลักเกณฑตา งๆ ซึ่งตั้งอยูบนพื้นฐานของ (1) กฎหมายของ
ประเทศที่มีขอ บังคับที่เขมงวดกวา เปรียบเทียบกับกฎหมายของประเทศเจาบาน (host
country) (2) หลักเกณฑในโครงการเครื่องหมายผลิตภัณฑเพื่อสิ่งแวดลอม (eco-
labeling) และ (3) แนวทางจัดซื้อสาธารณะอยางยั่งยืน

2) ของเสีย (waste)
องคกรควรปลอยของเสียออกสูสิ่งแวดลอมใหนอยที่สุด นําแผนการลดของเสียมาใช ทําการ
จัดการของเสียทั้งระบบ (waste hierarchy) โดยเริ่มจาก (1) การลดการใชวตั ถุดบิ และปจจัยนําเขา

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 32 
(2) การนํากลับมาใชอีก (reuse) (3) การนํากลับมาใชใหม (recycle) (4) การบําบัดของเสีย และ (5)
การกําจัดของเสีย
องคกรควร
- แยกแยะ วัดปริมาณ จดบันทึก และรายงาน การลดของเสียจากกิจกรรมขององคกร
- จัดทําระบบคัดแยะของเสีย อยางนอยมีการแยกสวนของเสียพื้นฐาน (basic waste
fractions) ออกมา
- วางแผนกลยุทธในการจัดการของเสียและลดของเสีย ตามแนวทางการจัดการของเสียทั้ง
ระบบ และรายงานผลการดําเนินการ
- จัดหาแหลงกําจัดของเสียที่ถาวรมั่นคง
- ทําการประเมินแหลงกําจัดของเสียที่ปนเปอน รวมถึงปรับปรุงรักษาใหดีขึ้น

กรอบที่ 4 [ยังไมมีหัวขอ]

ในหลายศตวรรษที่ผานมา ผูผลิตถานไฟฉายไดริเริ่มแกไขปญหาที่เกิดขึ้นจากกระบวนการ
ผลิต เนื่องจากไดรับแรงกดดันจากสาธารณะและขอบังคับทางกฎหมาย โดยผูผลิตถานไฟฉายคิดคน
วิธีการแกปญหาในทุกขั้นตอนของวงจรชีวิตของถานไฟฉาย ไดแก
- การออกแบบใหม เพื่อลดและหลีกเลี่ยงการใชสสารที่เปนพิษ
- การนํากลับมาใชซ้ํา โดยผลิตถานที่นาํ กลับมาใชไดอีก (rechargeable batteries) มากขึ้น
- การรีไซเคิล ในบางประเทศมีการนําถาน rechargeable ที่ใชแลวมารีไซเคิล

3) สสารอันตรายและเปนพิษ (toxic and hazardous substances)


การใชสารเคมีในอุตสาหกรรม การผลิตพลังงาน การเกษตร การคา และการใชในครัวเรือน
ลวนกอใหเกิดมลพิษอันตรายตอสิ่งแวดลอม ซึ่งจะสงผลกระทบทางลบตอการพืช สัตว และมนุษย
แนวทางเชิงกลยุทธในการจัดการสารเคมีระดับนานาชาติ (Strategic Approach to
International Chemicals Management (SAICM)) เปนแนวนโยบายจัดการกับสารเคมีอันตราย ที่
สอดคลองกับเปาหมายของการประชุมสุดยอดวาดวยการพัฒนาที่ยั่งยืน (World Summit on
Sustainable Development (WSSD)) ที่เมืองโยฮันเนสเบิรก ในป 2002 ที่กําหนดใหมีการใชสารเคมี
อยางมีประสิทธิภาพ กอใหเกิดผลเสียตอสิ่งแวดลอมและคุณภาพชีวิตนอยทีส่ ุด ภายในป 2020

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 33 
สารเคมีในชีวิตประจําวัน

ชองทางรับสารเคมี แหลงที่มา
อาหาร ปุย ยาปราบวัชพืช หีบหอบรรจุภัณฑ สารปรุงแตงรสอาหาร
เสื้อผา ใยสังเคราะห สารยอมสี สารที่ใชในการ
รางกาย ยารักษาโรค ยาฆาเชื้อโรค
สุขอนามัย สบู ผงซักฟอก เครื่องสําอาง ยาฆาแมลง
ที่อยูอาศัย วัสดุกอสราง
พลังงาน น้ํามัน สารเคมี น้ํา กิจกรรมสันทนาการ

แนวทางการจัดการสสารอันตรายและเปนพิษ ประกอบดวย การใชกระบวนการผลิตที่


ปลอดภัย โครงการความรับผิดชอบตอผลิตภัณฑ (Product Stewardship) และการเตรียมความ
พรอมตอเหตุฉุกเฉิน โดยองคกรควร

- หลีกเลี่ยงการใชยาฆาแมลงที่มีฤทธิ์รุนแรง (ตามมาตรฐานขององคกรอนามัยโลก)
- หลีกเลี่ยงการใชสารเคมีทที่ าํ ลายโอโซน (ตามที่กําหนดไวในพิธีสารมอนทรีออล
Montreal Protocol และสาร persistent organic pollutants (POPs) (ตามที่กําหนดไวใน
ขอตกลงสตอคโฮม Stockholm Convention ขอตกลงอาฮัส Aarhus Protocol และ
ขอตกลงร็อตเตอรดัม Rotterdam Convention)
- หลีกเลี่ยงการใชสารเคมีอันตราย ถาจําเปนตองใชสารเคมีเหลานี้ องคกรจะตองมีเหตุผล
สนับสนุนอันสมควรและตองรายงานใหหนวยงานที่เกี่ยวของทราบ
- ทําการทบทวนการใชสารเคมีที่มีการเสนอใหยกเลิกใช เชน สารเคมีที่อยูในบัญชีดําของ
ภาครัฐ (blacklists)
- พัฒนาแผนงานเพื่อลดการสารเคมีอันตราย
- ประเมินและรายงานผลการตรวจสุขภาพของทุกคนที่เกี่ยวของ และผลเสียของสารเคมี
อันตรายที่มีตอ สิ่งแวดลอม โดยพิจารณาตลอดวงจรชีวติ ของสารเคมี
- ทําทะเบียนสารเคมีอันตราย รวมทั้งปริมาณที่ใชไปในแตละครั้งและวัตถุประสงคในการใช
และเปดเผยตอสาธารณะ

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 34 
กรอบที่ 5 ความรับผิดชอบตอผลิตภัณฑ (product stewardship)

ความรับผิดชอบตอผลิตภัณฑ คือ มาตรการรับผิดชอบตอผลิตภัณฑเพื่อปกปองรักษา


สิ่งแวดลอม โดยใหผูที่เกี่ยวของกับการผลิตผลิตภัณฑทั้งวงจรชีวติ ไดแก ผูผลิต ผูคา ผูใช และผู
กําจัด มีสวนรวมรับผิดชอบในการลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมของผลิตภัณฑนั้นๆ
(โปรดอานรายละเอียดเรื่อง product stewardship จากเว็บไซตของ US Environmental
Protection Agency ที่ http://www.epa.gov/epr/)

6.5.5 สิ่งแวดลอม ขอ 2 การสงเสริมการผลิตและการบริโภคอยางยั่งยืน (promoting


sustainable consumption and production)
การบริโภคอยางยั่งยืน หมายถึง การบริโภคอยางมีประสิทธิภาพ แบงปนทรัพยากรระหวาง
คนรวยกับคนยากจน และคุม ครองสิ่งแวดลอม โดยไมคุกคามตอความตองการขั้นพื้นฐานของคนรุน
อนาคต
แผนปฏิบัติงานโยฮันเนสเบิรกในป 2002 ระบุวา รูปแบบการบริโภคของคนในปจจุบันไม
ยั่งยืน และเปนผลเสียตอการพัฒนาการผลิตที่สะอาดอยางมีประสิทธิภาพ องคกรสหประชาชาติกาํ ลัง
พัฒนากรอบแนวคิดดานการผลิตและการบริโภคอยางยั่งยืน ซึ่งมุงหวังใหองคกรปรับทิศทางการ
พัฒนาดานสังคมและเศรษฐกิจใหอยูภายใตความสามารถในการรองรับได (carrying capacity) ของ
โลก โดยองคกรควร
- ปรับปรุงกระบวนการผลิตอยางตอเนื่อง
- ปรับปรุงการออกแบบสินคาและบริการ
- ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผูบ ริโภค ไมวาจะเปนระดับบุคคล อุตสาหกรรม หรือองคกรภาครัฐ
ใหมีการตัดสินใจซื้อที่ดีและสอดคลองกับแบบแผนการดําเนินชีวิตที่ยั่งยืน

1) การผลิตทีส่ ะอาด (cleaner production)


การผลิตทีส่ ะอาดเปนกลยุทธทชี่ วยเพิ่มประสิทธิภาพในการใชทรัพยากรและลดการเกิดของ
เสีย โดยหมายรวมถึง การปรับปรุงกระบวนการซอมบํารุง ใชเทคโนโลยีใหม ยกระดับเทคโนโลยี
และปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิต ซึ่งจะตอบสนองตอความตองการของผูบริโภคที่ตองการสินคาและ
บริการที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ การผลิตทีส่ ะอาดยังชวยลดตนทุนขององคกร
จากการที่องคกรมีกระบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 35 
ในสวนของกระบวนการผลิต การผลิตที่สะอาดเปนผลมาจากการใชวัตถุดิบ น้ํา และพลังงาน
อยางประหยัด ไมใชวัตถุดิบอันตรายและเปนพิษ ลดปริมาณการปลอยของเสียและสารพิษที่เกิดจาก
กระบวนการผลิตสูสิ่งแวดลอม
ในสวนของสินคา การผลิตที่สะอาดมุงเนนการลดผลเสียของผลิตภัณฑที่มีตอสิ่งแวดลอมและ
สุขภาพและความปลอดภัย ตั้งแตการจัดหาวัตถุดบิ การผลิต การนําไปใช จนถึงการกําจัดทิ้ง
ในสวนของบริการ การผลิตที่สะอาด หมายถึง การออกแบบการบริการและใหบริการโดย
คํานึงถึงสิ่งแวดลอมเปนสําคัญ

กรอบที่ 6 การผลิตที่ปลอดภัย

การผลิตทีป่ ลอดภัย หมายถึง แนวทางปองกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึน้ โดยสงเสริมมาตรการ


จัดการความปลอดภัย และวิธปี ฏิบตั ิกรณีเกิดเหตุการณฉุกเฉิน และประชาสัมพันธขอมูลดานความ
ปลดภัยใหกับผูมีสวนไดสวนเสียตลอดหวงโซอุปทาน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อปองกันอุบัติเหตุทอี่ าจ
เกิดขึ้นจากการผลิต การเก็บรักษา การขนถาย และเพือ่ หยุดการใชสสารที่กอใหเกิดอันตรายและเปน
พิษตอชุมชนและสิ่งแวดลอม องคกรที่มีความรับผิดชอบจะสงเสริมการผลิตทีป่ ลอดภัยโดย
- สนับสนุนวัฒนธรรมความปลอดภัย (safety culture)
- ใชแนวทางหวงโซคุณคาในการผลิต (value-chain approach)
- บูรณาการแผนการจัดการดานสุขภาพและความปลอดภัยและดานสิ่งแวดลอมเขาดวยกัน
เพื่อลดความเสี่ยงจากอุบัติเหตุและเตรียมพรอมรับเหตุฉุกเฉินที่อาจเกิดขึ้น (รวมเนื้อหาของ ISO
14001 และ OHSAS 18001 ในดานการเตรียมตัวและแนวทางรับมือกับเหตุฉุกเฉินเขาดวยกัน)

2) ความเสี่ยงทางสิง่ แวดลอม (environmental risk)


มาตรการลดความเสี่ยงทางสิ่งแวดลอม หมายถึง การจัดการอันตรายจากเนื้อในของสารเคมี
(intrinsic hazard) และจากการปลอยสารพิษออกมา (exposure) รวมทั้งการมีกลยุทธบริหารความ
เสี่ยงที่เหมาะสม เพื่อลดระดับหรือควบคุมการปลอยมลพิษ
องคกรควรดําเนินโครงการบริหารความเสี่ยงเพื่อประเมินความเสี่ยงทั้งทางตรงและทางออม
ตอสิ่งแวดลอม และลดผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ โดยความเสี่ยงทางสิ่งแวดลอมอาจเกิดจากกิจกรรมของ
องคกร การใชวตั ถุดิบ การผลิตสินคาและบริการ นอกจากนี้ องคกรยังตองประเมินความเสี่ยงและ
อันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการดําเนินงานของคูคาดวย
องคกรควรประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดลอมของสินคาและบริการตลอดชวงวงจรชีวติ และ
เปดเผยผลการประเมินตอสาธารณะ ไมผลิตสินคาและบริการที่ยังไมผานการประเมินความเสี่ยงทาง
สิ่งแวดลอม เมื่อจะนําสินคาที่พัฒนามาจากเทคโนโลยีและกระบวนการผลิตใหมๆ เชน นาโน

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 36 
เทคโนโลยีหรือเทคโนโลยีพนั ธุวศิ วกรรม ควรทําการประเมินความเสีย่ งทางสิ่งแวดลอมและเผยแพร
ตอสาธารณะเสียกอน อีกทั้ง องคกรไมควรจําหนายสินคาและบริการที่มีผูคัดคานในวงกวาง เชน
สินคาตัดตอพันธุกรรม และควรนําเครื่องหมายผลิตภัณฑเพื่อสิ่งแวดลอม (eco-label) มาใช
การประเมินความเสี่ยงทางสิ่งแวดลอม จะตองเริ่มตั้งแต การพัฒนาผลิตภัณฑ การผลิต
การตลาด การจัดจําหนาย ตลอดจนการนําไปใชงานจริง การนําไปใชในทางที่ผิด การรีไซเคิล และ
การกําจัดทิ้ง
เครื่องมือที่เปนประโยชนสําหรับการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดลอม ไดแก
- การประเมินความเสี่ยงทางสิ่งแวดลอม (environmental risk assessment)
- การประเมินวงจรชีวิตผลิตภัณฑ (life cycle assessment)
- การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดลอม (environmental impact assessment)
- การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดลอมเชิงกลยุทธ (strategic environmental
assessment)

3) วงจรชีวติ ผลิตภัณฑ (life cycle approach)


กรอบแนวคิดหลักในการรักษาสิ่งแวดลอมจากการผลิตและการบริโภคอยางยั่งยืน อยูบน
พื้นฐานของการจัดการวงจรชีวติ ผลิตภัณฑ (life cycle management) (LCM) ซึ่งจะชวยสราง
ภาพพจนที่ดีตอองคกร และสรางสัมพันธที่ดีตอผูถือหุน และผูมีสวนไดเสีย
องคกรควร
- นําแนวคิดการจัดการวงจรชีวติ ผลิตภัณฑไปใชในการผลิตสินคาและบริการที่ยั่งยืน
- เชื่อมโยงแนวคิดเขากับการจัดการดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอมขององคกร

4) การใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพและการออกแบบที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม (eco-
efficiency and eco-design)
องคกรควรปฏิบัติดังตอไปนี้
- แยกแยะ วัดปริมาณ จดบันทึก และรายงาน การใชวตั ถุดิบขององคกร
- วางแผนลดการใชวตั ถุดิบ นําไปปฏิบตั ิ และรายงาน โดยมีเปาหมายเพื่อใชวตั ถุดบิ อยางมี
ประสิทธิภาพสูงสุด
- บันทึกและรายงานผลการใชวตั ถุดิบขององคกร ที่สามารถนําไปเปรียบเทียบกับองคกร
อื่น และเพื่อเปรียบเทียบกับผลการใชวตั ถุดิบขององคกรเองในปที่ผา นๆ มา

5) การจัดซื้อที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม (green purchasing, green procurement, supply


chains)
การจัดซื้อที่ยั่งยืน หมายถึง กระบวนการจัดซื้ออุปกรณหรือบริการโดยคํานึงถึงความยั่งยืน
ของผลิตภัณฑตลอดวงจรชีวติ เปนสําคัญ

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 37 
องคกรควรพิจารณาปจจัยตอไปนี้ในการจัดซื้อ
- คุณคาของวัตถุดิบ โดยดูจาก ราคา คุณภาพ ความเพียงพอของวัตถุดิบ ประโยชนใชงาน
- ปจจัยดานสิ่งแวดลอม ไดแก ความมีประสิทธิภาพของวัตถุดิบในการผลิต ระดับการ
ปลอยมลพิษ ผลกระทบตอสภาพอากาศ
- ปจจัยดานสังคม ไดแก การกําจัดปญหาความยากจน ความเทาเทียมกันในการจัดสรร
ทรัพยากร การจัดการแรงงาน การคาอยางยุติธรรม
- โอกาสในการรวมมือเปนพันธมิตรกับคูคา ในการวางแผนสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม

6) Product-service systems
องคกรควรพิจารณาดําเนินการดังตอไปนี้
- ปรับเปลี่ยนแนวทางการทําธุรกิจจากการออกแบบและขายผลิตภัณฑ มาเปนการขายใน
รูปแบบการใหบริการ ที่จะตอบสนองตอความตองการของลูกคาไดมากขึ้น
- ริเริ่มนวัตกรรมใหมๆ เพื่อลดการใชวตั ถุดบิ และลดกระทบทางสิ่งแวดลอม
- รวมมือกับผูมีสวนไดเสียและคูคา ในการออกแบบผลิตภัณฑที่แสดงถึงความรับผิดชอบ
ตอสิ่งแวดลอม และลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมตลอดชวงอายุสินคาและบริการ

กรอบที่ 7 รูปแบบของ product-service systems

บริการที่เนนไปที่ตวั สินคา หมายถึง บริการเพิ่มเติมที่มใี หกับสินคาเพื่อเพิ่มมูลคาของสินคา


นั้นๆ เชน บริการอัพเกรด ซอมแซม รับประกันสินคา และใหคําแนะนําปรึกษาเกีย่ วกับการใชสนิ คา
นั้นๆ อยางมีประสิทธิภาพสูงสุด
บริการที่เนนไปที่การใชงาน หมายถึง บริการเชาซื้อสินคา เชาสินคา และการแบงจาย
คาบริการเปนครั้งๆ ไป (pay per service) ลูกคาไมตองซื้อสินคาทั้งชิ้น แตซื้อเพียงแคผลผลิตของ
สินคานั้นๆ เชน การใหบริการถายเอกสาร (pay per print)
บริการที่เนนไปที่ผลลัพธ หมายถึง บริการที่ไมเจาะจงไปเที่เทคโนโลยีหรือวิธีการผลิต แต
เนนใหเกิดผลลัพธทตี่ องการ เชน การใหบริการควบคุมแมลง (แทนที่การใหบริการกําจัดแมลง)

7) บทบาทของผูบริโภคและนโยบายทีเ่ กี่ยวของ (customer role and related policies)


องคกรมีบทบาทในการโนมนาวพฤติกรรมของผูบริโภค โดยสามารถประชาสัมพันธและ
โฆษณาชักจูงใหผูบริโภคมีพฤติกรรมทีเ่ ปลี่ยนไปใชผลิตภัณฑทยี่ ั่งยืนมากขึ้น นอกจากนี้ องคกรควร
พัฒนาผลิตภัณฑและสงเสริมการผลิตทีย่ ั่งยืน เพื่อสรางโอกาสใหมๆ ทางธุรกิจ

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 38 
6.5.6 สิ่งแวดลอม ขอ 3 การใชทรัพยากรอยางยั่งยืน (sustainable resource use)
องคกรควรวางแผนลดการใชทรัพยากรธรรมชาติ ไดแก พลังงาน น้ํามัน วัตถุดิบ ที่ดิน และ
น้ํา ในการขนสงและในกระบวนการผลิต พรอมทั้งจัดหาและใชทรัพยากรจากแหลงที่ยั่งยืนที่สุด เพื่อ
ลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมทั้งทางตรงและทางออม

1) การใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ (energy efficiency)


องคกรควรดําเนินการดังตอไปนี้
- แยกแยะ วัดปริมาณ จดบันทึก และรายงาน แหลงพลังงานและการใชพลังงานในกิจกรรม
ตางๆ เชน การประกอบการ การขนสง การผลิตสินคาและบริการ
- พัฒนาแผนการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ และนําไปปฏิบตั ิ เพื่อลดความตองการใช
พลังงานและเลือกใชพลังงานจากแหลงที่สามารถเสริมสรางใหมได
- บันทึกและรายงานผลการใชพลังงานขององคกร ที่สามารถนําไปเปรียบเทียบกับองคกร
อื่น และเพื่อเปรียบเทียบกับผลการใชพลังงานขององคกรเองในปทผี่ านๆ มา

2) การใชนํา้ อยางมีประสิทธิภาพ (efficient water use)


น้ําเปนสิ่งจําเปนสําหรับชีวติ ในการดํารงชีวติ และทํากิจกรรมตางๆ การมีแหลงน้ําที่สะอาดถือ
เปนความตองการขั้นพื้นฐานของมนุษย และเปนสิทธิขั้นพื้นฐานที่มนุษยพึงมี
องคกรควรปฏิบัติดังนี้
- ตระหนักถึงคุณคาของน้ําสะอาด และวางแผนการใชน้ําอยางมีประสิทธิภาพ พรอมทั้ง
นําไปปฏิบตั ิ
- รวมมือกับผูมีสวนไดเสียทุกภาคสวนในลุมน้ํา ในการนํามาตรการจัดการลุมน้ํา
(watershed approach) ไปใช มาตรการจัดการลุมน้ํา หมายถึง การจัดการดาน การ
แบงสรรปนสวนน้ํา การควบคุมกระแสน้าํ (เขื่อนและอางเก็บน้ํา) และระบบนิเวศในน้ํา
บนพื้นฐานของลุมน้ําเปนสําคัญ และตองจัดหาทรัพยากรน้ําสะอาดใหกับทุกภาคสวน
อยางเทาเทียมกัน
- มีโครงการและแผนงานเพื่อสนับสนุน Millennium Development Goals ในดานการจัดหา
น้ําดื่มที่สะอาด และใหบริการดานสุขอนามัย
- นําแนวทางปฏิบัตทิ ี่เปนเลิศดานการผลิตไฟฟาพลังน้าํ ดูแลรักษาแหลงน้ําดื่ม ควบคุมน้ํา
ทวม การชลประทานและการสัญจรทางน้ํา ไปใช
- บันทึกและรายงานผลการใชน้ําขององคกร ที่สามารถนําไปเปรียบเทียบกับองคกรอื่น
และเพื่อเปรียบเทียบกับผลการใชน้ําขององคกรเองในปที่ผานๆ มา

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 39 
3) การใชที่ดินอยางยั่งยืน (sustainable land use)
โดยสวนใหญผูที่ทําการตัดสินใจใชที่ดินมักจะเปนเจาพนักงานของรัฐ แตองคกรก็สามารถมี
สวนรวมไดเชนกัน โดยควรคํานึงวา การทําโครงการทีด่ ินอาจสงผลดีและผลเสียตอที่อยูอาศัยของ
สิ่งมีชีวิต การใชน้ํา ประสิทธิภาพในการขนสง การรักษาที่ดินเพื่อใชในการเกษตร และคุณภาพชีวติ
องคกรควรปฏิบัติดังนี้
- ใชที่ดนิ อยางยั่งยืน โดยนําขอปฏิบัติดานการออกแบบเมืองอยางยั่งยืนมาใช และให
ความสําคัญกับผลกระทบทางสิ่งแวดลอมที่อาจเกิดขึ้นจากการใชที่ดนิ
- ในกรณีที่เปนเจาพนักงานของรัฐ ใหวางแผนและรวมทํางานกับเจาของที่ดินและ
นักพัฒนาที่ดินในการบริหารจัดการที่ดินเพื่อประโยชนในระยะยาว
- การวางแผนขยายตัวเมืองและชานเมือง และการเลือกที่ตั้งในการกอสรางตึกใหม ตอง
คํานึงถึง การปกปองที่อยูอาศัยของสิ่งมีชีวติ พื้นที่ชุมน้ํา ปาไม พื้นที่สําหรับสัตวปา และ
พื้นที่การเกษตรดวย

6.5.7 สิ่งแวดลอม ขอ 4 การจัดการกับปญหาสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (combating


climate change)
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงใดๆ ทีเ่ กิดขึ้นตอสภาพ
ภูมิอากาศ ไมวาจะเกิดจากธรรมชาติหรือจากกิจกรรมของมนุษยก็ตาม การปลอยกาซเรือนกระจกสู
บรรยากาศโดยเฉพาะจากการเผาไหมเชือ้ เพลิงฟอสซิล เปนสาเหตุหลักที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศ และสงผลกระทบอยางสูงตอสิ่งแวดลอมและสังคมมนุษย
ทุกองคกรควรจะรับผิดชอบตอปญหากาซเรือนกระจก โดยอาจมีแผนลดการพึ่งพาการใช
กาซคารบอน และรวมมือกับองคกรอื่นๆ ในการจัดการกับประเด็นปญหานี้ รวมทั้งจัดทําแผนบรรเทา
ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น และบูรณาการเขากับแผนดานสิทธิมนุษยชนและชุมชน

1) การบรรเทาปญหาสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (climate change mitigation)


องคกรควรดําเนินการดังตอไปนี้
- วางนโยบายและกลยุทธเพือ่ ลดการปลอยกาซเรือนกระจก โดยมีเปาหมายที่ชัดเจนและ
วัดผลได
- ปรับปรุงประสิทธิภาพในการใชพลังงานและการขนสง
- วางแผนลดการใชกาซเรือนกระจกในกิจกรรมขององคกร และนําไปปฏิบัติ
- ลดการพึ่งพาเชื้อเพลิงจากฟอสซิล และหันมาใชพลังงานทดแทน
- ลดปริมาณของเสียที่จะฝงกลบ โดยลดปริมาณขยะ มีกระบวนการนําของกลับมาใชใหม
การรีไซเคิล และใชผลิตภัณฑจากวัสดุรีไซเคิล
- สนับสนุนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมผูบ ริโภคที่จะนําไปสูการลดการปลอยกาซเรือน
กระจก และสรางความตระหนึกถึงปญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศใหสงั คมไดรับรู

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 40 
- ดําเนินมาตรการ เชน การปลูกปาเพื่อดูดซับกาซคารบอนไดออกไซด การซื้อพลังงาน
จากแหลงที่สรางขึ้นใหมได
- นํากลไกตางๆ ที่เกี่ยวของมาใช เชน กลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development
Mechanism)

กรอบที่ 8 ตัวอยางการบรรเทาผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง

ภาครัฐ ควรวางนโยบายเกี่ยวของในระยะกลางและระยะยาว
ภาครัฐ และภาคสวนอื่นๆ ควรรวมมือกันพัฒนาระบบขนสงที่ดีทสี่ ุดเพื่อลดการปลอยกาซ
เรือนกระจก
นักวิทยาศาสตรและสื่อมวลชน ควรอธิบายเรื่องผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพ
อากาศใหสาธารณะเขาใจโดยงาย
ภาคธุรกิจ ควรพัฒนาสินคาและบริการทีใ่ ชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ
ผูบริโภค ควรซื้อสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
นักลงทุน ควรลงทุนโดยคํานึงถึงสิ่งแวดลอม
องคกรพัฒนาเอกชน ควรผลักดันขอแนะนําเชิงนโยบายและสรางความตระหนักใหกับ
สาธารณะ

2) การปรับตัวตอการเปลีย่ นแปลงของสภาพภูมิอากาศ (climate change adaptation)


เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดปญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ แตละองคกรควร
ปฏิบัติดังนี้
- ใชหลักการปองกัน และลดผลกระทบเชิงลบทีเ่ กิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพ
ภูมิอากาศ
- ประเมินความเสียหายขั้นต่าํ
- วิเคราะหถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นได ชี้ถึงปจจัยเสี่ยง และหามาตรการปองกัน
- วางแผนการเติบโตของเมือง และสาธารณูปโภค โดยคํานึงถึงการเปลี่ยนแปลงของ
สภาพภูมิอากาศที่อาจเกิดขึน้
- พัฒนาเทคโนโลยีดานเกษตรกรรม อุตสาหกรรม การแพทย และอื่นๆ เพื่อสนอง
ความตองการของมนุษย เรื่องน้ํา อาหาร และทรัพยากรที่จําเปนสําหรับ

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 41 
กรอบที่ 9 ตัวอยางการปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ

นักวิทยาศาสตร ควรใหขอ มูลกับผูวางนโยบายในเรือ่ งผลกระทบของระบบนิเวศน


ภาครัฐ ควรวางนโยบาย และกลยุทธเพือ่ การจัดการน้ํา
สังคมโลก ควรวางแนวทางในการอพยพประชากรทีอ่ าศัยอยูในพื้นที่ที่อาจไดรับผลกระทบ
จากระดับน้ําทะเลที่สูงขึ้น
ภาคธุรกิจ ควรพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการปองกัน และลดความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น
องคกรดานการวิจัย ควรพัฒนาผลผลิตดานการเกษตรที่สามารถปรับตัวในสภาวะ
ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง
องคกรดานสาธารณสุข ควรตรวจสอบแนวทางในการปองกันการแพรของโรคระบาดที่อาจ
เกิดขึ้นไดอยางรวดเร็วในสภาวะภูมิอากาศเปลีย่ นแปลง
องคกรระหวางประเทศ ควรใหความชวยเหลือกับกลุม ประชากรทีอ่ ยูในพิ้นที่เสีย่ งจมน้ํา
และภัยพิบตั ิทางธรรมชาติอนื่ ๆ
ผูมีอํานาจ ควรพัฒนาและนําเอาแผนรับมือภัยพิบัติทอี่ าจเกิดขึ้นไปใช และสรางความ
ตระหนักในแนวการปฏิบตั ทิ ี่เหมาะสมตอสาธารณะ

6.5.8 สิ่งแวดลอม ขอ 5 คุณประโยชนและคุณคาจากระบบนิเวศ (valuing ecological


services)

1) การฟนฟูระบบนิเวศ (restoration of ecosystems)


ประโยชนจากระบบนิเวศมีมากมายหลายประการ เชน เปนแหลงน้ําจืด ดิน เสนใยธรรมชาติ
แหลงเพาะพันธุ การประมง สถานที่พักผอนหยอนใจ และยังชวยดูดซับมลภาวะและกาซเรือนกระจก
การฟนฟูระบบนิเวศปนสิ่งที่หลายประเทศกําลังดําเนินการ เพื่อซอมแซมและฟนฟูระบบนิเวศใหเกิด
ความสมดุล
องคกรควรปฏิบัตติ ามแนวทางตอไปนี้ เพื่อฟนฟูระบบนิเวศ
- กําหนดใหการฟนฟูระบบนิเวศนเปนสวนหนึ่งของโครงการ
- มีสวนรวมในการฟนฟูระบบนิเวศในชุมชนของตน

2) ประโยชนที่ไดรับจากระบบนิเวศ (ecosystem services)


การรักษาความสมบูรณของระบบนิเวศเปนสิ่งที่องคกรควรตระหนัก หากไมสามารถรักษา
ความสมบูรณของระบบนิเวศไวได ก็ควรจะหาสิ่งชดเชยมาทดแทนในสวนทีข่ าดหายไป ในบางกรณี

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 42 
อาจใชเงินมาทดแทนเพื่อชดเชยความสูญเสียของประโยชนจากระบบนิเวศ อยางไรก็ตาม การ
ทดแทนไมสามารถทําไดทกุ กรณีเสมอไป
องคกรสาธารณะ โดยเฉพาะอยางยิ่งองคกรสาธารณะ ควร
- เปดโอกาสใหผูมีสวนไดสวนเสียเขามามีสวนรวมในการตัดสินใจที่อาจสงผลกระทบตอ
ระบบนิเวศ
- สรางสิ่งจูงใจใหกับองคกรใหดําเนินกิจกรรมอนุรักษระบบนิเวศ
- เห็นคุณคาของการใหประโยชนของระบบนิเวศ และนํามาเปนปจจัยในกระบวนการ
ตัดสินใจ
- หลีกเลี่ยงการสูญเสียของระบบนิเวศ และหาแนวทางในการฟนฟูระบบนิเวศ ซึ่งนําไปสู
ผลกําไรที่จะไดรับจากประโยชนของระบบนิเวศนในระยะยาว
- ประโยชนที่ไดรับจากระบบนิเวศนสามารถนํามาใชวดั ผลการดําเนินงานดานเศรษฐกิจ
และสังคม

3) ความหลากหลายทางชีวภาพ (biodiversity)
ความหลากหลายทางชีวภาพ หมายถึง ความหลากหลายของสิ่งมีชีวติ ในทุกรูปแบบ ทุก
ระดับ และทุกสายพันธุ ซึ่งรวมถึงความหลากหลายของระบบนิเวศ ชนิดหรือชนิดพันธุของสิ่งมีชีวติ
และพันธุกรรม
การอนุรกั ษความหลากหลายทางชีวภาพอาจนําไปใชในการอนุรักษระบบนิเวศทางน้ํา และ
พื้นดิน มรดกทางพันธุกรรม และชนิดพันธุของสิ่งมีชีวิต รวมไปถึงการอนุรักษระบบนิเวศทาง
ธรรมชาติ
การอนุรักษในถิ่น/ในพื้นที่ (in situ conservation) หมายถึง การอนุรักษความหลากหลาย
ทางชีวภาพในสภาพแวดลอมธรรมชาติ การอนุรักษนอกถิ่น/นอกพื้นที่ (Ex situ conservation)
หมายถึง กิจกรรมการอนุรักษนอกแหลงถิน่ ที่อยูอาศัยตามธรรมชาติ ตัวอยางเชน ในสวนพฤกษชาติ
ธนาคารเมล็ดพันธุพืช สวนสัตว และพิพธิ ภัณฑสัตวนา้ํ การอนุรักษในถิ่นเปนหลักการที่นิยมกันมาก
องคกรควรปฏิบัตติ อไปนี้
- รวมการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพเขาเปนสวนหนึ่งในแผนปฏิบัติงาน
- บูรณาการกลยุทธในการบริหารจัดการทรัพยากรดิน น้ํา และที่อยูอาศัยเพื่อสงเสริมการ
อนุรักษ และการใชอยางยั่งยืน
- พัฒนาและเผยแพรเทคโนโลยีที่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใชทรัพยากร เชน พลังงาน
และน้ํา หรือลดผลกระทบตอระบบนิเวศ
- ใหชุมชนทองถิ่นเขามามีสวนรวมในการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ ผานระบบ
การสื่อสารที่ดี

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 43 
- กําหนดพื้นที่คุมครองที่อาจไดรับผลกระทบจากการดําเนินองคกร พรอมใหความรู และ
สรางความตระหนักถึงพื้นทีค่ ุมครอง
- หากพื้นที่ใดมีสัตวที่ใกลจะสูญพันธุ ควรใชมาตรการอนุรักษสัตวทใี่ กลจะสูญพันธุเ หลานี้
รวมถึงอนุรักษพื้นที่อาศัยของสัตวนั้นดวย
- ใหความรู และสรางความตระหนักถึงการอนุรักษและการฟนฟูธรรมชาติ

กรอบที่ 10 ตัวอยางการปกปองความหลากหลายทางชีวภาพ

การจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน (Integrated pest management) สามารถปกปองความ


หลากหลายทางชีวภาพ ลดตนทุนโดยลดความตองการในการใชยาฆาแมลง และตอบสนองความ
ตองการที่เพิ่มขนของผลิตภัณฑอาหารอินทรีย
รัฐบาลและภาคอุตสาหกรรมเหมืองแรในประเทศชิลไี ดทําขอตกลงวาดวยการผลิตที่สะอาด
เพื่อสงเสริมการใชทรัพยากรน้ําใหมีประสิทธิภาพสูงสุด
มีการกําหนดพื้นที่คุมครองนับหลายพันเฮคเตอรเพื่อชดเชยการดําเนินการที่มีผลกระทบตอ
แหลงที่อาศัยในปาเขตรอน
ชุมชนในเกาะตางๆ มีขอตกลงมากขึ้นในการอนุรักษสิ่งแวดลอมทางทะเลและพืน้ ดิน โดย
อนุรักษพื้นทีท่ ะเลใกลฝงอยางนอย 30% และอนุรักษทรัพยากรปาไมโดยรอบอยางนอย 20%

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 44 
6.6 การดําเนินงานอยางเปนธรรม (fair operating practices)

6.6.1 หลักการและเหตุผล
การดําเนินงานอยางเปนธรรมเปนการนําหลายหลักการของความรับผิดชอบตอสังคมมา
ประยุกตใชในทางปฏิบัติ ซึง่ การปฏิบัติอยางเปนธรรมขององคกรจะชวยปรับปรุงสภาพแวดลอมที่
องคกรดําเนินการอยู กระตุนใหเกิดการแขงขันอยางเปนธรรม ปรับปรุงความนาเชือ่ ถือ และความ
เปนธรรมในการทําขอตกลงทางการคา ปองกันความไมซื่อสัตยและการคอรัปชั่น และสงเสริม
กระบวนการทางการเมืองที่เปนธรรม องคกรควรใชจดุ แข็งที่มีอยู และความสัมพันธกับองคกรอื่นๆ
ในการสงเสริมผลลัพธในดานบวก หมายรวมถึงการใชสถานภาพขององคกร และอิทธิพลในการเปน
ผูนําใน การรับแนวคิดความรับผิดชอบตอสังคมไปใชในวงกวาง

6.6.2 หลักการพิจารณา
[เพิ่มเติมโดยคณะกรรมการผูยกราง]

6.6.3 การดําเนินงานอยางเปนธรรม ขอ 1 ตอตานการคอรัปชั่น และการรับสินบน (anti-


corruption and anti-bribery)
การคอรัปชั่นเปนการใชอํานาจที่บิดเบือนเพื่อผลประโยชนสวนตน โดยทั่วไปการคอรัปชั่น
นับเปนสิ่งผิดกฎหมาย แตยกเวนในบางประเทศ ตัวอยางเชน การจายเงินเพื่ออํานวยความสะดวก
(facility payments) เปนสิ่งที่ปฏิบตั ิกันโดยทั่วไปในประเทศหนึ่ง แตนับเปนสิ่งผิดกฎหมายในอีก
ประเทศหนึ่ง ผลของการคอรัปชั่นนั้นสามารถทําลายสิทธิมนุษยชน เปนอุปสรรคตอกระบวนการทาง
การเมือง ทําลายสิ่งแวดลอม บิดเบือนการแขงขัน และเปนอุปสรรคตอความมั่งคัง่ และการเติบโตทาง
เศรษฐกิจ โดยบอยครั้งที่ผลกระทบเหลานี้เปนอันตรายอยางยิ่งตอประเทศ หรือสังคมที่ยากจน
องคกรควรปฏิบัติดงั ตอไปนี้
- ประยุกตใช ปรับปรุงนโยบายและแนวปฏิบัติเพื่อตอตานปญหาการคอรัปชั่น การจายเงิน
เพื่ออํานวยความสะดวก การติดสินบน และการขมขู
- แสดงใหเห็นชัดเจนวา ผลตอบแทนที่ใหกบั พนักงาน และตัวแทนขององคกรมีความ
เหมาะสม และเปนงานที่ถกู ตองตามกฎหมาย
- ใหการอบรม และสรางความตระหนักใหกับพนักงาน และตัวแทนขององคกรในเรื่องการ
คอรัปชั่น และวิธีการตอตานการคอรัปชั่น
- สนับสนุนใหพนักงาน และตัวแทนขององคกร สามารถแจงเบาะแส รายงานการละเมิด
นโยบายขององคกร และดําเนินการเพื่อเปดเผยกระบวนการทุจริต
- ทําใหผูอื่นคลอยตามในการดําเนินการเพื่อขัดขวางการคอรัปชั่น

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 45 
6.6.4 การดําเนินงานอยางเปนธรรม ขอ 2 การมีสวนรวมทางการเมืองอยางรับผิดชอบ
(responsible political involvement)
องคกรสามารถมีบทบาทในเชิงสรางสรรคตอนโยบายสาธารณะ โดยการเปดรับขอมูล
ขาวสาร และเขาไปมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายสาธารณะ
องคกรควรปฏิบัติดังตอไปนี้
- หลีกเลี่ยงกิจกรรมการล็อบบี้ ที่เกี่ยวของกับการใหขอมูลที่บิดเบือน หรือการเปนตัวอยาง
ที่ไมดี การคุกคาม การบีบบังคับ และการใชยุทธวิธีทกี่ าวราว
- ใหการอบรมและสรางความตระหนักใหแกพนักงาน และตัวแทนขององคกร เกี่ยวกับการ
มีสวนรวมทางการเมืองอยางรับผิดชอบ และการบริจาค
- หลีกเลี่ยงการบริจาคเงินสนับสนุนทางการเมืองที่ผิดกฎหมาย หรือเปนเงินที่ใหเพือ่
ควบคุมผูวางนโยบายใหเปนไปในแนวทางที่ตองการโดยเฉพาะ
- วางระบบควบคุมกิจกรรมของล็อบบี้ยิสตที่ไดรับการวาจางใหเปนไปตามระเบียบ
- มีความโปรงใสในการดําเนินการที่เกี่ยวของกับการล็อบบี้ การบริจาคเงินสนับสนุนทาง
การเมือง และการมีสวนรวมทางการเมือง

6.6.5 การดําเนินงานอยางเปนธรรม ขอ 3 การแขงขันที่เปนธรรม (fair competition)


การแขงขันที่เปดกวางและเปนธรรม ชวยสงเสริมประสิทธิภาพ ลดตนทุนสินคาและบริการ
สงเสริมนวัตกรรม สนับสนุนการพัฒนาสินคาหรือกระบวนการใหมๆ และชวยขยายการเติบโตทาง
เศรษฐกิจและมาตรฐานการครองชีพ ในระยะยาว
พฤติกรรมทีต่ อ ตานการแขงขัน (anti-competitive behavior) เปนการกีดกันการแขงขัน และ
อยูเหนือประโยชนที่ควรจะไดรับจากการแขงขันที่เปนธรรม พฤติกรรมกีดกันการแขงขันหมาย
รวมถึง การฮั้วการประมูล (bid-rigging) การตกลงรวมกันกําหนดราคา (price fixing) การทุมตลาด
(dumping) การตัดราคา (rredatory pricing) การจํากัดมิใหบุคคลที่สามซื้อสินคาหรือบริการจาก
ผูประกอบการอื่น (exclusive dealing) การปฏิเสธที่จะขายหรือทําธุรกรรมดวย (refusal to deal)
การกําหนดราคาขายตอ (resale price maintenance) การใชอิทธิพลเพื่อการผูกขาด (coercive
monopoly) การจัดแบงเขต (dividing territories) การขายควบสินคา (product tying) และการระบุ
ราคา (limit pricing)
เพื่อสงเสริมการแขงขันที่เปนธรรม องคกรควร
- ดําเนินกิจกรรมใหสอดคลองกับกฎหมายที่เกี่ยวของ
- จัดตั้งระบบปองกันการเขาไปมีสวนเกี่ยวของหรือเขาไปเปนสวนหนึง่ ของพฤติกรรมที่
ตอตานการแขงขัน
- สงเสริมพนักงานใหตระหนักถึงความสําคัญของการเคารพกฎหมายที่เกี่ยวกับการ
แขงขันและการแขงขันที่เปนธรรม

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 46 
- สนับสนุนนโยบายสาธารณะที่สงเสริมการแขงขัน รวมถึงมาตรการตอตานการผูกขาด
(anti-trust) และมาตรการตอบโตการทุมตลาด (anti-dumping) และกฎหมายทองถิ่น

6.6.6 การดําเนินงานอยางเปนธรรม ขอ 4 สงเสริมความรับผิดชอบตอสังคมในหวงโซอุป


ทาน (promoting social responsibility through the supply chain)
องคกรควรจูงใจองคกรอื่นๆ ดวยการใชอาํ นาจในการซื้อที่มีอยู รวมถึงการใชภาวะความเปน
ผูนํา และการเปนที่ปรึกษา เพื่อสงเสริมการสนับสนุนนําเอาหลักการของความรับผิดชอบตอสังคมมา
ใชอยางกวางขวาง นอกจากนี้ ยังสามารถกระตุนใหเกิดความตองการในสินคา และบริการที่มีความ
รับผิดชอบตอสังคม
องคกรควรปฏิบัติดังตอไปนี้ เพื่อสงเสริมความรับผิดชอบตอสังคมในหวงโซอุปทาน
- รวมเอามาตรฐานทางจริยธรรม สังคม และสิ่งแวดลอมเขาดวยกัน รวมทั้งนํามาตรฐาน
ทางดานสุขภาพ และความปลอดภัย เขาเปนสวนหนึ่งในนโยบายการจัดซื้อและจัดจาง
- สงเสริมใหองคกรอื่นๆ ยอมรับนําเอานโยบายที่คลายคลึงกันมาใช
- ดําเนินมาตรการที่สําคัญและเหมาะสมในการสืบสวนองคกรตางๆ ทีม่ ีความเกี่ยวของ
เพื่อตรวจสอบการดําเนินการขององคกรเหลานั้นวาตองไมยอหยอนตอขอตกลงของ
องคกรที่มีตอความรับผิดชอบตอสังคม
- สงเสริมการจัดสรรตนทุนและผลประโยชนอยางเปนธรรม ตามแนวปฏิบัติดานความ
รับผิดชอบตอสังคมตลอดหวงโซอุปทาน
- เขาไปมีสวนรวมอยางจริงจังในการสงเสริมความตระหนักดานความรับผิดชอบตอสังคม
ใหกับองคกรตางๆ ที่เกี่ยวของ

6.6.7 การดําเนินงานอยางเปนธรรม ขอ 5 เคารพในสิทธิทางทรัพยสิน (respect for property


rights)
สิทธิทางทรัพยสิน รวมถึง ทรัพยสินทางกายภาพ และทรัพยสินทางปญญา และรวมทั้ง
ผลตอบแทนจากที่ดิน ลิขสิทธิ์ สิทธิบตั ร สิทธิในทางศีลธรรม และสิทธิอื่นๆ นอกจากนี้ ยังรวมไปถึง
สิทธิที่ไมไดระบุในกฎหมาย เชน ความรูตามประเพณีของกลุมเฉพาะ หรือทรัพยสินทางปญญาของ
พนักงาน การรับรูถึงสิทธิทางทรัพยสินชวยสงเสริมการลงทุน ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ตลอดจน
ชวยสงเสริมความคิดสรางสรรค และการประดิษฐคิดคน
องคกรควรปฏิบัติดังนี้
- ปฏิบัตติ ามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกีย่ วของในการเคารพตอทรัพยสิน
- ไมเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมที่ละเมิดตอสิทธิในทรัพยสิน ปลอมแปลง ละเมิดลิขสิทธิ์
- ดําเนินการตรวจสอบอยางเหมาะสมเพื่อสรางความมั่นใจถึงความเปนเจาของที่ถูกตอง
ตามกฎหมายในการใช หรือละทิ้งทรัพยสินนั้น
- จายคาชดเชยอยางเปนธรรมสําหรับทรัพยสินที่นํามาใช

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 47 
6.7 ประเด็นดานผูบริโภค (consumer issues)

6.7.1 หลักการและเหตุผล
ผูบริโภคเปนผูมีสวนไดสวนเสียที่สําคัญขององคกร การดําเนินงานและผลผลิตขององคกรมี
ผลกระทบที่สาํ คัญตอผูที่ใชสินคา หรือบริการขององคกรนั้นๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งตอผูบริโภคที่เปน
ปจเจก ผูบริโภคเปนปจจัยในการอางอิงในตลาดการแขงขัน และความนิยมในสินคาและบริการ การ
ตัดสินใจของผูบริโภคมีอิทธิพลตอความสําเร็จขององคกรสวนใหญ แมกระนั้น เมื่อใดก็ตามที่มีการ
ตอรอง ซื้อสินคา หรือรับบริการ ผูบริโภคที่เปนปจเจกมักอยูในสถานะที่ดอยกวาองคกรที่ตนติดตอ
ซื้อขายดวย อํานาจในการตอรอง ความเชี่ยวชาญ และขอมูลขาวสารที่เกี่ยวของกับสินคาหรือบริการ
นั้นๆ ก็มีไมเทาผูซื้อที่เปนระดับองคกร สังคมมีความคาดหวังวาองคกรจะปฏิบตั ติ อผูบริโภคของตน
อยางเปนธรรม มีความรับผิดชอบเรื่องความปลอดภัยในสินคาและบริการ และเปดโอกาสใหเขาถึง
สินคา และบริการที่จําเปนในราคาที่สามารถจายได
นอกจากนี้ ผูบริโภคยังมีบทบาทสําคัญในการสงเสริมการพัฒนาอยางยั่งยืนดวยรูปแบบการ
บริโภคที่ยั่งยืน ซึ่งจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อผูบริโภคมีขอมูลเกี่ยวกับเงือ่ นไขการผลิตสินคาและบริการ
สามารถเปรียบเทียบสินคาและบริการเหลานั้นได ดังนั้น องคกรควรเปดโอกาสใหผูบริโภคไดรับ
ทราบขอมูล และเขาไปมีสวนรวมในการรณรงคเพื่อสรางความตระหนัก และสงเสริมใหเกิดความ
ตองการในสินคาและบริการที่มีการผลิตอยางยั่งยืน

6.7.2 หลักการพิจารณา
[เพิ่มเติมโดยคณะกรรมการผูยกราง]

6.7.3 ประเด็นดานผูบริโภค ขอ 1 การดําเนินการอยางเปนธรรม วิธีทางการตลาดและการให


ขอมูล (fair operating, marketing and information practices)
องคกรควรดําเนินการโดยนําหลักความยุติธรรม ความโปรงใส และการเอาใจใสในการปฏิบัติ
ตอผูบริโภคไปใช โดยเฉพาะอยางยิ่งตอกลุมคนทีต่ องการการดูแลเปนพิเศษ ผูบริโภคตองเผชิญกับ
วิธีปฏิบตั ิที่หลอกลวง ชี้นําไปในทางที่ผิด ฉอโกง และความไมเปนธรรม วิธีทางการตลาดที่หลอกลวง
ราคาและอุปทานที่ไมเปนธรรม ซึ่งผลกระทบของวิธีปฏิบัติดังกลาวอาจเปนอันตรายตอผูบริโภค
โดยเฉพาะผูบริโภคที่ไมไดตระหนักถึงความรับผิดชอบและสิทธิของตัวเอง และผูบ ริโภคที่ไมรหู นังสือ
ซึ่งตองอาศัยขอมูลที่ไดรับมาจากการโฆษณา และวิธที างการตลาดตางๆ ขององคกร
ในการดําเนินธุรกิจกับผูบริโภค องคกรควรปฏิบตั ิดังนี้
- ไมหลอกลวง ฉอโกงผูบริโภค รวมถึงการละเลยการใหขอมูล
- ปฏิบัตติ ามนโยบายตอผูบริโภคที่กําหนดไว
- ใหขอมูลและขอเท็จจริงที่สาํ คัญ ในเวลาที่สมควร

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 48 
- ไมใชขอความในสัญญาที่ไมเปนธรรม เชน การไมยอมรับผิด (exclusion of liability)
สิทธิในการเปลี่ยนแปลงราคาและเงื่อนไขแตเพียงผูเดียว (unilaterally change prices
and conditions) การโอนความเสี่ยงในการลมละลายไปยังผูบริโภค หรือระยะเวลาของ
สัญญาที่ยาวนานเกินไป
- ไมแบงแยกผูบริโภคตามศาสนา เพศ เชือ้ ชาติ หรือสถานที่อยู
- แสดงราคาและเงื่อนไขการใชอยางเปดเผย เพื่อใหผูบริโภคสามารถเขาถึงขอมูลได
โดยงาย
- ใหขอมูลที่สมบูรณ และสามารถเปรียบเทียบได ดังตอไปนี้
ƒ วัตถุดิบ และสารเคมีที่อันตรายที่มีในสินคา หรือที่ปลอยจากสินคานั้นๆ
ƒ ราคาของสินคาและอุปกรณเพิ่มเติมตาง ๆ
ƒ การบริการหลังการขาย รวมทั้ง สถานที่ตั้งและราคา
ƒ ขอมูลดานคุณภาพสินคาและบริการ โดยการใชกระบวนการทดสอบตามมาตรฐาน
เชน การทดสอบความคงทนของสี ประสิทธิภาพการชําระลางและความคงทน
ƒ ขอมูลดานของสุขภาพและความปลอดภัยของสินคาและบริการ รวมถึงความ
สอดคลองกับกฎหมาย และกฎระเบียบที่เกี่ยวของ และขอจํากัดตางๆ
ƒ ขอมูลดานของสิ่งแวดลอมของสินคาและบริการ เชน ประสิทธิภาพของการใช
ทรัพยากร และการใชพลังงาน และวงจรชีวติ ของสินคาหรือบริการนั้นๆ
- ใหเครื่องมือที่ทําใหผูบริโภคสามารถตรวจสอบกระบวนการจัดจําหนายที่สามารถยอนไป
ถึงผูผลิตสินคาและบริการเหลานั้นได
- ใชการโฆษณาและการตลาดในกระบวนการสื่อสารไดอยางชัดเจน
- มีความระมัดระวังในการใชวิธีปฏิบตั ิ วิธกี ารตลาด และการใหขอมูลที่เปนเที่ยงตรง
สําหรับกลุมผูท ี่ตองไดรับการดูแลเปนพิเศษ
- ใหคณะกรรมการอิสระที่ประกอบไปดวยผูเชี่ยวชาญ รวมทั้งผูที่มีสวนไดสวนเสีย ทําการ
ประเมินผลการโฆษณาขององคกรเพื่อความเปนธรรม

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 49 
กรอบที่ 11 ตัวอยางวิธีการใหขอมูลที่ดี

ขอมูลของสินคาและบริการ ควรอยูบนวิธกี ารทางวิทยาศาสตร ทีล่ ะเอียดเพียงพอ ครอบคลุม


และ สามารถทําซ้ําไดเพื่อยืนยันผลที่ไดเชนเดิม (reproducible) เพื่อสนับสนุนขอกลาวอาง
ควรใหรายละเอียดตามคํารองขอ เกี่ยวกับกระบวนการ วิธีการ และมาตรฐานใด ๆ ที่ใช เพื่อ
สนับสนุนขอกลาวอาง ใหแกผูที่เกี่ยวของทุกฝายไดรับทราบ
ขอมูลควรแสดงใหเห็นชัดเจนเพื่อผูที่มีปญหาดานการเห็นจะไดอานไดงาย
ขอมูลควรแสดงใหเห็นชัดเจน เขาถึงไดงาย และเปนมิตรตอผูบริโภค เชน
- ทําใหเอกสารสั้นที่สุดเทาที่จะทําได โดยการตัดขอเท็จจริงที่นอกเหนือทิ้งไป
- เนนขอมูลที่สําคัญ
- จัดลําดับขอมูลอยางมีหลักการ เชน เริ่มตนจากขอมูลพื้นฐานงายๆ ไปถึงยาก
- ทําใหงายตอการคนหาขอมูล
- ใชภาษาตรงไปตรงมาและเรียบงาย
- ใชเครื่องมือทางการสื่อสารในหลายๆ ชนิด และใชภาพประกอบกราฟฟคอยางงายๆ
ขอมูลตามมาตรฐานแหงชาติ ภูมิภาค และสากล รวมทัง้ ขอจํากัดตาง ๆ ควรเปดเผยเทาที่มี
อยู ตัวอยางเชน ความสามารถในการใชสินคา และบริการ สําหรับผูสูงอายุ และผูพิการ

6.7.4 ประเด็นดานผูบริโภค ขอ 2 การปกปองสุขภาพและความมั่นคงปลอดภัยของผูบริโภค


(protecting consumers’ health and security)
ผูบริโภคมีสิทธิคาดหวังวาสินคาและบริการที่จัดหามานั้นมีความปลอดภัย และไมมีความ
เสี่ยงตออันตรายในการใชงาน หรือบริโภคตามคําแนะนําที่ไดระบุไว หรือหากมีการใชในทางทีผ่ ดิ
องคกรควรปฏิบัติดังนี้
- จัดหาสินคาและบริการที่ไมเปนอันตรายตอสุขภาพ และทรัพยสินของผูบริโภค หรือ
สิ่งแวดลอม
- ทําตามกฎหมายและกฏระเบียบทีบ่ ังคับใช ตลอดจนมาตรฐานตางๆ ที่เกี่ยวของ
- ประเมินกฎหมาย กฏระเบียบ มาตรฐาน และขอจํากัดตางๆ วาเพียงพอที่จะครอบคลุม
แงมุมของสุขภาพและความปลอดภัย
- หลีกเลี่ยงการใชสารเคมีที่อนั ตราย โดยเฉพาะอยางยิ่งสสารที่อยูในหมวดตอไปนีไ้ มควร
นํามาใช carcinogenic, mutagenic, toxic for reproduction, persistent and bio-
accumulative (PBTs, vPvBs) และ endocrine disrupters ธาตุโลหะหนักบางชนิด เชน
แคดเมียม ปรอท ตะกั่ว และโครเมี่ยม 6 ยังมีการนํามาใช เพราะยังไมสามารถหาสิ่งอื่น

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 50 
มาทดแทนได แตควรใชในปริมาณที่ไดรับอนุญาตเทานั้น และควรแสดงสวนประกอบ
ของธาตุโลหะหนักเหลานี้ในฉลากสินคา
- ลดโอกาสในการไดรับสารเคมีที่อันตรายในทุกๆ กลุม
- ใหขอมูลดานความปลอดภัยที่สําคัญกับผูบริโภค หากเปนไปได ควรใชสัญลักษณ
นอกเหนือไปจากขอมูลที่เปนตัวอักษร
- ใหคําแนะนําแกผูบริโภคถึงการใชสินคาอยางเหมาะสม และแจงใหทราบถึงความเสี่ยงที่
อาจเกิดขึ้นไดในการใชสินคานั้นๆ
- ยอมรับความผิดที่เกิดจากผลกระทบของสินคาและบริการ ที่กอใหเกิดอันตรายตอ
ผูบริโภค และชดใชคาเสียหายที่เกิดขั้นจากความบกพรอง องคกรควรพิจารณาถึงการ
ทําประกันที่ครอบคลุมที่จะชดใชความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น
- ปกปองกลุมคนที่ตองไดรับการดูแลเปนพิเศษ
- ไมแนะนําสินคาและบริการที่ประชากรสวนใหญแสดงการคัดคาน หรือตอตาน หรือสงวน
การใชสินคาหรือบริการนั้นๆ เชน สินคาตัดตอพันธุกรรม

คูคา ผูสงออก ผูนําเขาสินคา ผูขายปลีก และองคกรอื่นๆ ที่เกี่ยวของควรยอมรับนําเอา


มาตรการตางๆ มาใช ในการปองกันสินคาจากความไมปลอดภัยในกระบวนการจัดการ หรือการเก็บ
รักษาที่ไมเหมาะสม

เพื่อปกปองสุขภาพ และความปลอดภัยของผูบริโภค องคกรควรปฏิบัติดังนี้


- จัดวางระบบทีก่ อใหเกิดความสอดคลองกับกฎหมายและกฏระเบียบที่บังคับใช และ
ขอจํากัดอื่นๆ ที่เกี่ยวกับสุขภาพ และความปลอดภัยของสินคาและบริการ
- จัดตั้งระบบดูแลในการจดทะเบียน และประเมินเหตุอันตรายที่เกี่ยวของกับสินคา
- ตรวจสอบสารเคมีที่นํามาใชอยางสม่ําเสมอ จัดทําโครงการใชสินคาทีม่ ีอันตรายนอยลง
และควรมีการรายงานผล
- ดําเนินการแกไขและปรับเปลี่ยนสินคาใหเร็วที่สุดเทาที่จะทําได หากมีขอกังวลทีเ่ กี่ยวกับ
สุขภาพและความปลอดภัย หรือพบวาเขาขายผิดกฎหมายหรือกฏระเบียบ
- ลดความเสี่ยงในการออกแบบสินคาโดย
ƒ ระบุถึงกลุมผูใ ชสินคา และใหความสําคัญตอกลุมผูทตี่ องไดรับการดูแลเปนพิเศษ
ƒ ระบุการใชสินคา และประเมินแนวทางการใชสินคาที่ผดิ ที่อาจเกิดขึ้นได
ƒ ชี้ใหเห็นถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นไดในแตละขั้นตอนของการใชสินคา รวมทั้งการ
ติดตั้ง การบํารุงรักษา การซอมแซม และการทําลายทิง้ เชน อันตรายจากเครื่องกล
สารเคมี ความรอน ไฟฟา เสียง เปนตน
ƒ ประมาณการและประเมินความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นตอผูใชจากอันตรายที่ไดระบุไว

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 51 
ƒ ลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น โดยจัดลําดับความสําคัญดังนี้ (1) ออกแบบสินคาที่
ปลอดภัยตามปกติวสิ ัย (2) มีเครื่องมือปองกันอันตราย และ (3) มีขอมูลสําหรับผูใช
- ปฏิบัตติ นเสมือนเปนบุคคลที่สามในการประเมินความเสี่ยงของสินคาและบริการทีม่ ีตอ
สุขภาพกอนแนะนําการใช

6.7.5 ประเด็นดานผูบริโภค ขอ 3 กลไกการเรียกคืนสินคา (mechanism for product recall)


องคกรมีความรับผิดชอบตอสินคาที่ตนขายและใหบริการหลังการขาย หรือจัดสง ความ
รับผิดชอบนี้มาจากหลักการผูกอใหเกิดความเสียหายเปนผูจาย (causer pays principle)
ถาสินคาหนึ่งสินคาใดภายหลังจากที่ไดมีการวางจําหนายในตลาดแลว เกิดอันตรายขึ้นหรือมี
ขอบกพรอง องคกรควรปฏิบัติดังนี้
- แจงใหผูมีอํานาจ และสาธารณะในประเทศที่สินคาวางจําหนายทราบ แมวาสินคานั้นได
ถูกนํามาขายโดยองคกรอื่นก็ตาม โดยการดําเนินการดังกลาวนี้ องคกรควร
ƒ ระบุชื่อ ประเภท และวันทีส่ ินคานั้นผลิตใหชัดเจน ใชภาพประกอบเพื่อสรางความ
ตระหนักในสินคา และการเรียกคืน
ƒ ระบุใหชัดถึงประเภทของความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากสินคา
ƒ อธิบายใหชัดเจนถึงแนวทางที่ผูบริโภคควรปฏิบตั ิในการคืนสินคา
- เรียกคืนสินคาทั้งหมดที่ยังอยูในสายการจําหนาย
- แจงใหกลุมผูที่ตองไดรับการดูแลเปนพิเศษ และคนทีอ่ าศัยอยูในพื้นที่หางไกลไดรับรู
- ซอม ทดแทน เปลี่ยนแปลง หรือนําสินคาอีกชนิดมาทดแทนสินคาที่มขี อบกพรอง
- มีการชดเชยใหผูบริโภคอยางเพียงพอ ไมลาชา
- จัดวางระบบการตรวจยอนสินคาเพื่อใหสามารถเรียกคืนสินคาได

6.7.6 ประเด็นดานผูบริโภค ขอ 4 การจัดหาและพัฒนาสินคาและบริการทีเ่ ปนประโยชนตอ


สังคมและสิง่ แวดลอม (provision and development of environmentally and socially
beneficial goods and services)
สินคาและบริการที่องคกรเสนอ ควรมีคณุ คาตอสังคมและสิ่งแวดลอมในเชิงบวก ทุกฝายควร
มีสวนทําใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน โดยองคกรควรปฏิบัติดังนี้
- ลดผลกระทบเชิงลบของสินคาและบริการที่มีตอสุขภาพ
- จัดหาสินคาและบริการที่ไมเปนอุปสรรคในการใช
- เสนอสินคาและบริการที่คงทน และมีประสิทธิภาพ โดยคํานึงถึงอายุการใชงาน
- ออกแบบสินคาที่สามารถนํากลับมาใชใหมได ซอมได หรือนํากลับมาใชอีกได
- ลดมลภาวะทางเสียงที่ปลอยจากสินคา

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 52 
- จัดหาหรือพัฒนาสินคาและบริการหลายๆ ขนาด หรือมีใหเลือกหลายแบบเพื่อใหตรงกับ
ความตองการของผูบริโภค
- ลดปริมาณขยะโดยการลดวัตถุดิบทีท่ ําหีบหอบรรจุ และเสนอบริการรีไซเคิล
- จัดระบบกําจัดใหเพียงพอสําหรับของเสียอิเลคโทรนิคส
- ใชบรรจุภัณฑที่สามารถนํากลับมาใชไดใหมอีก
- ใชเครื่องหมายผลิตภัณฑเพื่อสิ่งแวดลอม และเกณฑมาตรฐานในการสื่อสารถึงสินคาและ
บริการที่มีคุณภาพตอสังคมและสิ่งแวดลอม
- จัดเตรียมและแจงใหผูบริโภคทราบถึงระบบกําจัดที่มีอยู
- ในการจัดซื้อ ควรพิจารณาสินคาและบริการทองถิ่นที่ไมตองใชการขนสงในระยะทางไกล

6.7.7 ประเด็นดานผูบริโภค ขอ 5 การบริการและสนับสนุนผูบริโภค (consumer service and


support)
ความพึงพอใจของผูบริโภคที่มีตอสินคาและบริการในระดับที่สูงนั้นเปนสิ่งสําคัญทีท่ ําให
องคกรอยูได แตยังสําคัญสําหรับผูบริโภคเองดวย ในขณะที่องคกรตองการทํากําไร ผูบริโภคก็มี
ความตองการที่จะไดรับการปฏิบัติอยางเปนธรรมแมหลังการซื้อสินคาและบริการนั้นๆ แลวก็ตาม
โดยองคกรควรปฏิบัติดังนี้
- มีสวนรวมในการเฝาระวังเพื่อปองกันความไมพึงพอใจของผูบริโภค เชน เสนอทางเลือก
ใหผูบริโภคเปดบรรจุหีบหอผลิตภัณฑ และตรวจสอบเนื้อในสินคา หรือทดลองใชสนิ คา
และบริการกอนการซื้อ
- จัดระบบสนับสนุนที่มีประสิทธิภาพอยางเพียงพอ ตัวอยางเชน บริการสายดวน
(hotlines) ที่ไมตองรอนาน
- เสนอการบํารุงรักษา และซอมแซมในราคาที่สมเหตุผล และควรแสดงความโปรงใสวา
ชิ้นสวนสํารองของสินคานั้นสามารถหาไดงาย
- ประเมินความพึงพอใจของผูบริโภคตอสินคาและบริการ ระบบการบํารุงดูแลรักษา และ
ซอมแซม อยางสม่ําเสมอโดยใชวธิ ีการประเมินที่เปนมาตรฐาน ผลจากการประเมินควร
นํามาเผยแพรเพื่อปรับปรุงคุณภาพและความโปรงใส และสงเสริมนวัตกรรม
- พัฒนา ดําเนินการ และคงไวซึ่งระบบการจัดการขอรองเรียนจากลูกคา ตามมาตรฐาน
แหงชาติและสากล โดยตองไมเสียคาธรรมเนียมในการใชระบบ
- สื่อสารอยางชัดเจนในเรื่องการเขาถึงการบริการหลังการขาย รวมทัง้ การระงับขอพิพาท
และกลไกการชดเชย ตัวอยางเชน ใหรายละเอียดสถานที่ติดตอบนฉลากสินคา
- วางระบบชองทางการสื่อสารที่เขาถึงไดงา ย
- มีมาตรการเยียวยาที่เหมาะสมใหกับผูบริโภค เชน การชดเชยภายในเวลาที่กาํ หนด

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 53 
- ใชกลไกการระงับขอพิพาทแบบสมานฉันท (alternative dispute resolution) และการ
แกปญหาความขัดแยง และกระบวนการชดเชยตามมาตรฐานแหงชาติหรือสากล
- เสนอการค้ําประกันในระยะเวลาหนึ่ง โดยไมคิดคาใชจายในการซอมแซม หรือเปลี่ยน
สินคาที่มีตําหนิ หรือชดเชยการบริการที่ไมไดรับความพึงพอใจ ใหบริการในราคาตนทุน
ในการขนสงและหีบหอบรรจุภัณฑ และใหบริการชิ้นสวนที่ทดแทนกันไดหรือหมดไป
ตลอดอายุการใชงานของสินคานั้น
- เมื่อผูบริโภคใชกลไกการระงับขอพิพาท องคกรจะไมบังคับใหผูบริโภคสละสิทธิ์ในการหา
ความชวยเหลือทางดานกฎหมาย

6.7.8 ประเด็นดานผูบริโภค ขอ 6 การปกปองขอมูลสวนบุคคลของผูบริโภค (consumer data


protection and privacy)
เพื่อปองกันการละเมิดสิทธิมนุษยชนและสิทธิสว นบุคคลจากการรวบรวมและจัดการขอมูล
สวนบุคคล องคกรควรดําเนินการดังนี้
- จํากัดการจัดเก็บขอมูลสวนบุคคล และขอมูลดังกลาวควรไดมาดวยวิธีการที่ถูกตองตาม
กฏหมายและเปนธรรม โปรงใส เปนขอมูลที่จําเปนสําหรับการจัดหาสินคาและบริการ
หรือเปนขอมูลที่ใหดวยความเต็มใจถึงแมไมไดมีกฎหมายมาใชบังคับ
- การจัดเก็บขอมูลสวนบุคคลและกระบวนการจัดเก็บควรมีใหนอยที่สุด
- ระบุใหชัดเจนถึงวัตถุประสงคในการจัดเก็บรวบรวมขอมูลสวนบุคคล
- ไมควรนําขอมูลสวนบุคคลมาเปดเผย หรือนําไปใชเพือ่ วัตถุประสงคอื่น เวนแตไดรับการ
ยินยอมจากเจาของขอมูล และกฎหมายใหอํานาจ
- ปกปองขอมูลสวนบุคคล เพือ่ ปองกันความเสี่ยงจากการสูญหาย หรือการเขาถึงขอมูล
โดยไมรับอนุญาต การทําลาย การใช การดัดแปลงหรือการเปดเผยขอมูล
- มีนโยบายในการเปดเผยขอมูลที่เกี่ยวกับ แนวการปฏิบัติและนโยบายที่เกี่ยวของกับ
ขอมูลสวนบุคคล วิธีการเก็บขอมูล วัตถุประสงคหลักของการใชขอมูล ลักษณะ (identity)
และสถานที่ตง้ั ของผูควบคุมขอมูล
- บุคคลควรมีสทิ ธิที่จะไดรบั การยืนยันจากผูควบคุมขอมูลวามีขอมูลเกี่ยวของกับตัวเอง
หรือไม และมีขอมูลที่เสี่ยงตอการเชื่อมโยงถึงตัวเองหรือไม ถามีความเสี่ยง ขอมูลนั้น
ควรถูกลบทิ้ง ทําใหถูกตอง ทําใหสมบูรณ หรือแกไข
- ผูควบคุมขอมูลควรมีความรับผิดชอบตอการปฏิบัตติ ามมาตรการตางๆ ใหเปนไปตาม
หลักการขางตน

6.7.9 ประเด็นดานผูบริโภค ขอ 7 การเขาถึงสินคาและบริการที่จําเปน (access to essential


goods and services)

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 54 
ตามหลักการของการเขาถึงสินคาและบริการที่จําเปนนั้น ภาครัฐควรจัดหาสินคาและบริการ
เหลานี้ใหกับประชาชนทุกคน โดยเฉพาะอยางยิ่งในหมูประชาชนทีม่ ีรายไดนอย หรืออยูในเขตชนบท
หรือในที่หางไกล เพื่อใหพวกเขาไดเขาถึงสินคาและบริการที่จําเปนเหลานี้
ถามีการแปรรูปกิจการ รัฐบาลก็ควรทําใหทุกคนเขาถึงสินคาและบริการเหลานี้ในราคาที่
สามารถจายได และองคกรที่ทําการจัดหาสินคาและบริการที่จําเปนควรเสนอใหทกุ คนมีสิทธิเขาถึง
สินคาและบริการเหลานี้ในราคาที่สามารถจายได โดยไมคํานึงถึงศักยภาพทางการเงินและถิ่นที่อยู
แมในกรณีที่ไมไดมีขอบังคับทางกฎหมายก็ตาม

6.7.10 ประเด็นดานผูบริโภค ขอ 8 การบริโภคอยางยั่งยืน (sustainable consumption)


เพื่อเปนการสนับสนุนการบริโภคอยางยั่งยืนนั้น ผูบริโภคจําเปนตองไดรับขอมูลเรื่องการ
ดําเนินกิจการ และสินคาและบริการขององคกร โดยองคกรควร
- ใหขอมูลแกผบู ริโภค ในเรื่องเกี่ยวกับประเด็นทางสิ่งแวดลอมและสังคมของกิจกรรม
สินคา และบริการขององคกร รวมถึงขอมูลการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ โดยให
ขอมูลในรูปแบบของฉลาก สติ๊กเกอร แผนพับ และเว็บไซต
- ใหขอมูลแกผบู ริโภคอยางครบถวน เปดเผย ตรงไปตรงมา และถูกตอง ขอมูลที่ใหควร
รวมถึง การดําเนินการ ประเทศผูผ ลิต การใชพลังงาน ปริมาณความจุ สวนผสม ผลตอ
สุขภาพ ผลขางเคียง วิธีการใชใหปลอดภัย การบํารุงรักษา การเก็บรักษา และการกําจัด
สินคาหรือบรรจุภัณฑ
- ใชประโยชนจากฉลากเพื่อสิ่งแวดลอม เพื่อสื่อสารถึงประสิทธิภาพการใชทรัพยากรและ
คุณภาพของสินคาและบริการ

6.7.11 ประเด็นดานผูบริโภค ขอ 9 การสรางความตระหนักและใหความรู (education and


awareness)
ผูบริโภคควรไดรับขอมูลและความรูอยางถูกตอง โดยองคกรควรสอนทักษะในการประเมิน
และเปรียบเทียบสินคาและบริการ กอใหเกิดการปฏิบตั ิจริง อีกทั้งสรางความตระหนักเรื่องผลกระทบ
ตอสิ่งแวดลอมจากการบริโภคดวย องคกรควรมุงเนนเปนพิเศษใน 10 ประเด็น ดังตอไปนี้
- สุขภาพ โภชนาการ การปองกันการเปนบอเกิดของโรคและการปนเปอน
- กฎหมายที่เกี่ยวของ การชดเชยและการคุมครองผูบริโภค
- อันตรายของผลิตภัณฑ
- การติดฉลากสินคา
- การใหขอมูลเบื้องตนแกผูบริโภค เชน น้ําหนัก,ปริมาณ,ราคา,คุณภาพ,เงื่อนไขการ
รับประกัน ฯลฯ)
- การรักษาสิ่งแวดลอม
- การใชวตั ถุดบิ พลังงาน และน้ําอยางมีประสิทธิภาพ

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 55 
- การบริโภคอยางยั่งยืน
- การกําจัดบรรจุภัณฑ
- การกําจัดผลิตภัณฑเหลือใช เชน คอมพิวเตอรหรือโทรศัพทมือถือ

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 56 
6.8 การพัฒนาสังคม (social development)

6.8.1 หลักการและเหตุผล
การพัฒนาสังคมควบคูไปกับการพัฒนาเศรษฐกิจและการปกปองสิ่งแวดลอม เปนพื้นฐาน
ของสังคมที่ยั่งยืน แมวาโดยพื้นฐานแลวความรับผิดชอบในการพัฒนาสังคมจะเปนหนาที่ของรัฐบาล
ทวาทุกองคกรตางก็มีบทบาทสําคัญเชนเดียวกัน เพราะทุกองคกรตางสรางผลกระทบไดทั้งดานบวก
และดานลบ รวมทั้งมีอิทธิพลตอสังคม
การพัฒนาสังคมใหมีความเทาเทียมกันนัน้ มีอุปสรรคสําคัญ ไดแก ความยากจน ความไม
เทาเทียมกันทางสังคม ปญหาสุขภาพ ขอจํากัดในการเขาถึงการศึกษา การขาดแคลนที่อยูอาศัย และ
การกีดกันชนกลุมนอย เปนตน ดังนั้น องคกรควรเอาชนะอุปสรรคเหลานี้ใหไดเสียกอน เพื่อสราง
สิทธิในการรวมมือกันพัฒนาใหเกิดขึ้นจริง
ในประเทศกําลังพัฒนา โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในหมูประเทศรายไดนอยและรายไดปานกลาง
ประเด็นการพัฒนาสังคมยิ่งมีสิ่งทาทายมากขึ้น สมาชิกทุกคนในสังคมควรมีสวนรวมอยางเปน
รูปธรรมเพื่อใหการพัฒนาสังคมบรรลุผล องคกรไมควรคํานึงถึงแตเรือ่ งผลิตภัณฑมวลรวม
ประชาชาติ (Gross National Product) ของประเทศเทานั้น แตควรคํานึงถึงการกระจายรายไดและ
ความมั่งคั่งดวย
ในบริบทของการพัฒนาสังคมนั้น การมีสวนรวมของชุมชนทําใหองคกรและชุมชนเกิด
ความคุนเคยกัน เคารพในบทบาทหนาที่ ทัศนคติและความสนใจทีต่ างกัน รวมทัง้ เปนการสรางความ
ไวเนื้อเชื่อใจระหวางกันดวย ผลลัพธของกระบวนการดังกลาวนี้เปนการประสานระหวางการพัฒนา
สังคมและเศรษฐกิจเขากัน โดยมีพ้นื ฐานอยูบนความยุติธรรมและความถูกตอง

6.8.2 หลักการพิจารณา
องคกรควรคํานึงถึง 4 ประเด็นหลักในการจําแนกปญหาในการพัฒนาสังคม
- สงเสริมการปฏิบัติอยางเปนธรรมและเคารพในสิทธิมนุษยชน
- กระตุนใหเกิดการประเมินคาศักยภาพ ทรัพยากร และโอกาสของตน
- การทํางานเปนพันธมิตร มีการแลกเปลีย่ นประสบการณ ทรัพยากร และเปาหมาย
ระหวางองคกร ทั้งระดับสากล ระดับประเทศ ระดับภูมภิ าค หรือระดับทองถิ่น
- สงเสริมการกระจายรายไดและความมั่งคั่งอยางเทาเทียม

6.8.3 การพัฒนาสังคม ขอ 1 การมีสวนรวมในการพัฒนาสังคม (contribution to social


development)
องคกรสรางผลกระทบใหกบั สังคมไดทั้งดานบวกและดานลบจากการดําเนินการขององคกร
เองและองคกรในเครือขาย องคกรที่มีแนวปฏิบตั ิดานบวกในเรื่องการพัฒนาสังคม จะชวยสราง

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 57 
ความสัมพันธกับกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย สรางชื่อเสียง รวมทั้งบริหารความเสี่ยงไดอยางมี
ประสิทธิภาพ
องคกรสามารถมีสวนรวมในการพัฒนาสังคมได โดย สงเสริมกลุมเจาหนาที่ที่มีศกั ยภาพให
ตระหนักในบทบาทของการพัฒนาสังคม ระบุและจัดการศึกษาอบรมในประเด็นทีส่ ําคัญ ใหการ
สงเสริมและมีสวนรวมในการอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรม ซึ่งรวมถึง ศิลปะ ภาษา ภูมิปญญาชาวบาน
ควบคูไปกับการอนุรักษโบราณสถาน หรือสถานที่สําคัญทางประวัตศิ าสตร

1) ความตระหนักรูของประชาชน (citizenship awareness)


องคกรควรสรางความตระหนักรูใหแกพลเมือง ผานการสื่อสาร โดยใหพลเมืองรับรูถึงผล
สําคัญตอการพัฒนาสังคมที่เกิดจากการกระทําของตัวเอง โดยองคกรควร
- สงเสริมความตระหนักในเรือ่ งสิทธิและหนาที่ของพลเมือง
- เสริมสรางศักยภาพชุมชนและประชาชนในการมีสวนรวมในการกําหนด วางแผน และ
ดําเนินนโยบายสาธารณะ

2) สงเสริมสุขอนามัยที่ดี (promotion of good health)


องคกรสามารถสงเสริมสุขอนามัยที่ดี โดย
- สงเสริมเรื่องสุขอนามัยที่ดีใหกับพนักงาน
ƒ ปรับปรุงสภาพการทํางาน
ƒ ใหพนักงานไดรับยาและวัคซีนรักษาโรค
ƒ สงเสริมการออกกําลังกาย และการรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ
ƒ ใหความรูเรื่องโรคสําคัญๆ เชน โรคเอดส มาลาเรีย และวัณโรค
- สนับสนุนพนักงานและครอบครัวใหเขาถึงบริการสาธารณสุขที่จําเปน
- จัดการรักษาความปลอดภัยขั้นสูงเพื่อปกปองสุขภาพของพนักงานและชุมชน

3) สงเสริมวัฒนธรรมและอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรม (promotion of cultural and


preservation of cultural heritage
องคกรควรปฏิบัติดังนี้
- สงเสริมกิจกรรมดานวัฒนธรรมตอกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย
- ตระหนักถึงคุณคาวัฒนธรรมและขบบธรรมเนียมประเพณีทองถิ่น
- สงเสริมกิจกรรมดานวัฒนธรรมที่สรางเอกลักษณของชนกลุมนอย
- อนุรักษและปกปองมรดกทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อการดําเนินการของ
องคกรมีผลกระทบตอมรดกทางวัฒนธรรม

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 58 
4) สงเสริมการศึกษา (promotion of education)
องคกรสามารถสงเสริมการศึกษา โดยปฏิบัติดังนี้
- สงเสริมการศึกษาทุกระดับชั้นแกพนักงานขององคกรและครอบครัว
- สงเสริมใหบุตรหลานของพนักงานสมัครเขาศึกษาในการศึกษาภาคปกติ
- พัฒนาคุณภาพการศึกษาและขจัดการไมรูหนังสือ
- กําจัดอุปสรรคในการเขาถึงการศึกษาของเยาวชน เชน การใชแรงงานเด็ก
- สงเสริมการศึกษาและการฝกอบรมแบบ การศึกษาตอเนื่องตลอดชีวติ (lifelong
learning) โดยเฉพาะอยางยิ่งแกพนักงาน

กรอบที่ 12 ตัวอยางการสงเสริมการศึกษา

บริษัทขนาดใหญสรางหองเรียนสําหรับพนักงานขึ้นในโรงงานเพื่อใหการศึกษาใน
ระดับประถมและมัธยมศึกษา
ภาครัฐใหเงินชวยเหลือครอบครัวที่มีฐานะยากจนเพื่อชวยครอบครัวเหลานี้สงเสียบุตรหลาน
ใหไดเลาเรียน ซึ่งนับเปนวิธกี ารหนึ่งในการสงเสริมการศึกษาและตอสูกับปญหาแรงงานเด็ก

5) บรรเทาความยากจนและความหิวโหย (contribution to alleviation of poverty and


hunger)
องคกรควรปฏิบัติดังตอไปนี้
- สรางงานและสรางรายได โดยเฉพาะอยางยิ่งตอชนกลุม นอย ผานทางกิจกรรมหลักของ
องคกร และการลงทุนในโครงการทางสังคม
- จัดทําโครงการชวยเหลือผูดอยโอกาส เพื่อเพิ่มศักยภาพ ทรัพยากร รวมทั้งเห็น
ความสําคัญในการเพิ่มศักยภาพ ทรัพยากร และใหโอกาสใหแกคนกลุมนี้
- สงเสริมการลงทุนรวมกันของผูประกอบการทางสังคม (social entrepreneurship
ventures) และการพัฒนาเทคโนโลยีทใี่ ชตนทุนต่ํา งายตอการผลิต แตมีผลตอสังคม
อยางสูงในเรื่องการบรรเทาความยากจนและความหิวโหย

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 59 
กรอบที่ 13 ตัวอยางการมีสวนรวมในการขจัดความยากจนและความหิวโหย

องคกรพัฒนาเอกชนทํางานรวมกับภาครัฐในการสรางอางเก็บน้ําซึ่งชวยใหชาวบานมีน้ํา
อุปโภคบริโภคในชวงหนาแลง
รัฐบาลทองถิน่ พัฒนาโครงการที่สนับสนุนการผลิตเพือ่ ยังชีพ (subsistence production) ใน
เขตชนบท
สถาบันทางการเงินพัฒนาโครงการสินเชือ่ รายยอยขึ้นมา

6.8.4 การพัฒนาสังคม ขอ 2 การมีสวนรวมในการพัฒนาเศรษฐกิจ (contribution to


economic development)
การดําเนินงานขององคกรลวนมีผลกระทบตอเศรษฐกิจและการพัฒนาในภาพรวม ทั้งใน
ระดับสากล ระดับประเทศ หรือระดับทองถิ่น แตบอยครั้งที่ผลกระทบหลักๆ จากองคกร ทั้งดานบวก
และดานลบนัน้ ตกอยูกับระดับทองถิ่น การพัฒนาทางเศรษฐกิจไมเพียงแตชวยใหเอาชนะปญหาทาง
สังคมได แตยังชวยสรางความเขมแข็งใหกับองคกรดวย
การใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ การจายภาษี การพัฒนาเทคโนโลยีใหมๆ และการ
ลงทุน ลวนแลวแตเปนกิจกรรมในการพัฒนาเศรษฐกิจ ภาครัฐใชรายไดจากภาษีเพื่อจัดการและ
พัฒนาระบบสาธารณูปโภค เชน ระบบขนสงสาธารณะ องคกรสามารถใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
เพื่อพัฒนาสินคาและบริการใหมๆ ซึ่งมีสวนชวยในการพัฒนาอยางยั่งยืน การลงทุนอยางมีความ
รับผิดชอบถือไดวาเปนการสรางประโยชนตอสวัสดิการทางสังคมในปจจุบันและอนาคต
การพัฒนาทางเศรษฐกิจ เชน การใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ การจายภาษี การพัฒนา
เทคโนโลยีใหมๆ และการลงทุน ชวยบรรเทาปญหาทางสังคมและยังชวยสรางความเขมแข็งใหกบั
องคกรที่เกี่ยวของ ในการลงมือปฏิบัติ องคกรควรเนนในเรื่องสําคัญเหลานี้

1) การใชทรัพยากร (use of resources)


องคกรควร
- ใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ มีวิธใี ชที่หลากหลาย และเปนไปเพื่อลดความยากจน
- สนับสนุนและสงเสริมการเคารพทรัพยสินทางปญญา
- เคารพการใชทรัพยากรธรรมชาติตามวิถดี ั้งเดิมของทองถิ่น
- ไดรับการอนุญาตอยางเปนทางการจากชุมชนทองถิ่นกอนเขาไปใชทรัพยากรธรรมชาติ

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 60 
กรอบที่ 14 ตัวอยางการมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่นในการใชทรัพยากรธรรมชาติ

บริษัทกระดาษและเยื่อกระดาษรายใหญที่เปนเจาของการปลูกปา สามารถชวยธุรกิจขนาด
เล็กในทองถิ่นจากการขายพื้นที่ปาไมของพวกเขาได
รัฐวิสาหกิจถามความเห็นจากชุมชนทองถิน่ กอนที่จะมีการสรางเขื่อน

2) การมีสวนรวมในเศรษฐกิจทองถิ่น (contribution to the local economy)


องคกรควร
- สรางผลกระทบดานบวกใหเศรษฐกิจทองถิ่น มีสวนรวมในการสรางศักยภาพให
เศรษฐกิจในทองถิ่นและการพัฒนาบุคคลากร
- ใหสิทธิพิเศษแกคูคาทองถิน่ โดยจัดหาสินคาและบริการจากทองถิ่น และมีสวนรวมใน
การพัฒนาคูคาทองถิ่น

กรอบที่ 15 ตัวอยาง

บริษัทผูผ ลิตรถยนตจัดอบรมทางดานเทคนิคและการจัดการ ใหแกธุรกิจขนาดกลางและ


ขนาดยอมในทองถิ่น

3) ภาษี (taxes)
องคกรควรมีความรับผิดชอบในเรื่องภาษีและใหขอมูลที่จําเปนแกรฐั เพื่อการคํานวณภาษีที่
ถูกตอง รัฐควรมีบทบาทสําคัญในการจัดการเรื่องระบบภาษีที่เหมาะสมและการใชภาษีเงินไดอยางมี
ประสิทธิภาพ องคกรทางสังคมสามารถมีสวนชวยในเรื่องของระบบการจัดเก็บภาษีที่เขมแข็ง และ
การใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ และควรจะตรวจสอบการดําเนินงานเหลานี้ของภาครัฐดวย

4) นวัตกรรม เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร (innovation, technology and science)


องคกรควร
- เปนพันธมิตรกับองคกรทองถิ่น ตัวอยางเชน มหาวิทยาลัยและหนวยคนควาทดลอง เพื่อ
ทําการทดลอง
- ควรมีการพัฒนาเทคโนโลยีและวิทยาศาสตรภายในทองถิ่นและจางคนในทองถิ่นทํางาน

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 61 
- กําหนดกรอบและขอบังคับที่สมเหตุสมผลในเรื่องใบอนุญาตหรือการโอนถายเทคโนโลยี
- อนุญาตใหมีการถายโอนและการกระจายเทคโนโลยี

5) การลงทุนที่รับผิดชอบตอสังคม (socially responsible investment)


องคกรสามารถจัดสรรทรัพยากรและทําการลงทุนในกิจกรรมที่แสดงถึงความรับผิดชอบ ตอ
สังคม โดยพิจารณาเรื่องสิ่งแวดลอม สังคมและบรรษัทภิบาลภายในองคกร ใหเหมาะกับทองถิน่ ที่
องคกรประกอบกิจการอยู

กรอบที่ 16 ตัวอยางการลงทุนที่รับผิดชอบตอสังคม

ธนาคารเพื่อการลงทุนขนาดใหญตั้งกองทุน เพื่อลงทุนในองคกรที่มีคุณสมบัติตรงตามหลัก
สําคัญสามประการ (Triple Bottom line) อันไดแก เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม

6.8.5 การพัฒนาสังคม ขอ 3 การมีสวนรวมในชุมชน (community involvement)


องคกรจําเปนตองมีสัมพันธภาพกับผูมีสวนไดสวนเสีย บนพื้นฐานของความเคารพและความ
เชื่อใจกัน การสรางสัมพันธภาพอันดีนั้นใชเวลานาน ในประเด็นการมีสวนรวมในชุมชนนี้ องคกรควร
คํานึงถึงการปรึกษาหารือ การสานเสวนา และการเจรจาตอรอง เชนเดียวกับการเสริมสรางศักยภาพ
ใหชุมชนและการลงทุนทางสังคม
การปรึกษาหารือ การสานเสวนา และการเจรจาตอรองนั้น เปนการสรางโอกาสในการพัฒนา
ความสัมพันธระหวางองคกรและชุมชน องคกรควรเขาใจถึงลักษณะเฉพาะและองคประกอบของ
ชุมชนที่ไดรับผลกระทบจากองคกร และหาวิธีการทีเ่ หมาะสมเพื่อประเมินผลกระทบเหลานี้
ความทาทายที่สําคัญในเรื่องการมีสวนรวมในชุมชน ไดแก การรักษาความยุตธิ รรมใหกับ
สมาชิกในชุมชน และการสนับสนุนใหสมาชิกในชุมชนมีทักษะในการเจรจาตอรองถึงผลประโยชนที่
ตองการได
นอกจากนี้ องคกรควรปรับแนวทางการดําเนินกิจการของตนใหตอบสนองตอผลประโยชน
สูงสุดของสังคมเทาๆ กับผลประโยชนขององคกรเอง องคกรที่คํานึงถึงผลกระทบตอชุมชนทั้งใน
ปจจุบันและอดีต จะสามารถจัดการกับประเด็นการมีสวนรวมของสังคมไดดีกวา

1) ผลกระทบตอชุมชน (impacts on the community)


องคกรควร
- จัดการผลกระทบดานสังคม สิ่งแวดลอม และเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการทั้งใน
อดีต ปจจุบัน

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 62 
- รวบรวมขอมูลชุมชนเพื่อใชในการตัดสินผลกระทบและประเด็นการพัฒนาในชุมชน
- ทําการชดเชยอยางเปนธรรมใหกับผูไดรับผลกระทบซึง่ ไมอาจหลีกเลี่ยงได โดยชุมชนที่
ไดรับผลกระทบควรเขามามีบทบาทในการกําหนดการชดเชยที่เหมาะสม

กรอบที่ 17 ตัวอยางการจัดการผลกระทบดานสิง่ แวดลอมที่มตี อสังคม

บริษัทศึกษาผลกระทบของการดําเนินการตอแมน้ําในบริเวณทีบ่ ริษทั ตั้งอยู และพัฒนา


เทคโนโลยีเพือ่ บําบัดน้ําเสียกอนปลอยทิง้ ลงแมน้ํา ชุมชนทองถิ่นจึงถือโอกาสนี้ใชแมน้ําเปนสถานที่
พักผอนหยอนใจ

2) การปรึกษา การสานเสวนา และการเจรจาตอรอง (consultation, dialogue and


negotiation)
องคกรควร
- องคกรควรรับฟงผูมีสวนไดสวนเสีย อยางมีความรับผิดชอบ
- ใหโอกาสชุมชนเขาถึงขอมูลที่เกี่ยวของและสามารถสื่อสารกับองคกรได
- สรางสัมพันธภาพอันดีและมีการสื่อสารกับชุมชนอยางตอเนื่อง รวมถึงผูมีสวนไดสวนเสีย
ที่องคกรเคยละเลยไมใหความสําคัญดวย และยังตองใหความสําคัญกับกลุมผูเปราะบาง
ที่ตองไดรบั การดูแลเปนพิเศษ เชน คนพืน้ เมือง หรือคนนับถือศาสนาสวนนอย
- เปดใจกวางในการเจรจาตอรองกับชุมชน ดวยความปรารถนาอยางแทจริงที่จะบรรลุ
ขอตกลง อาจจะพัฒนาเปนพันธมิตรกันระหวางองคกรกับชุมชน

กรอบที่ 18 ตัวอยางการปรึกษาหารือและการสานสนทนา

ภาครัฐใหชุมชนเขามามีสวนรวมในการวางแผนพัฒนาเมือง
องคกรพัฒนาเอกชนใหชุมชนเขามามีสวนรวมในการวางแผน การดําเนินการ การตรวจสอบ
และประเมินโครงการที่เกี่ยวของกับชุมชน
ในการกอสรางโครงการใหม บริษัท หนวยราชการในพื้นที่ และองคกรพัฒนาเอกชนดาน
สิ่งแวดลอมทําการจัดเวทีชมุ ชนขึ้น โดยมีเปาหมายเพื่อรับฟงขอกังวลและความคาดหวังของผูมีสวน
ไดสวนเสีย และจัดการกับผลกระทบของโครงการที่มีตอชุมชน

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 63 
3) การสรางความเขมแข็งใหกับชุมชน (community empowerment)
องคกรควรระบุและประเมินความตองการของผูมีสวนไดสวนเสียในชุมชนในเรื่องทรัพยากร
ตัวอยางเชน เจาหนาที่ งบประมาณ และเวลา และในดานศักยภาพ ตัวอยางเชน เรื่องความ
เชี่ยวชาญและประสบการณ เพื่อสรางและใหความเขมแข็งแกศักยภาพของชุมชน

กรอบที่ 19 ตัวอยางการสรางความเขมแข็งใหกับชุมชน

องคกรที่สรางผลกระทบดานสิ่งแวดลอมตอชุมชนขางเคียง ไดริเริ่มกลไกคณะกรรมการ
สิ่งแวดลอมชุมชนขึ้น เพื่อใหกลุมที่ไดรับผลกระทบเขามามีสวนรวมในกระบวนการตัดสินใจของ
องคกร และเพื่อบอกกลาวถึงผลกระทบที่ไดรับ หนวยงานดานสิ่งแวดลอมของทางราชการใหการ
สนับสนุนดานเทคโนโลยีและบริการสาธารณสุขมูลฐาน อีกทั้งองคกรไดรวมมือกับองคกรพัฒนา
เอกชน ในการพัฒนาโครงการฝกอบรมดานสิ่งแวดลอมสําหรับตัวแทนชุมชน โดยองคกรใหขอมูลดิบ
และใหคํามั่นสัญญาที่จะดําเนินการปรับปรุงอยางเปนรูปธรรม โดยมีชุมชนและเจาหนาที่ทองถิ่นของ
ภาครัฐเปนผูต รวจสอบ

4) การลงทุนเพื่อสังคม (community social investing)


องคกรควร
- การลงทุนเพื่อสังคมควรสัมพันธกับผลกระทบตอสังคมและสิ่งแวดลอมอยางเหมาะสม
และควรพิจารณาการลงทุนจากลักษณะ ที่ตั้ง ขนาดขององคกร และขอกังวลของชุมชน
- การลงทุนเพื่อสังคมควรสอดคลองกับการสรางศักยภาพในชุมชน
- การลงทุนเพื่อสังคมขององคกรไมไดทําใหกิจกรรมเพื่อสังคมอื่น ๆ และการบริจาคของ
องคกรสิ้นสุดลง เชน การใหทุนสนับสนุน งานอาสาสมัคร และการบริจาค นอกจากนี้
กิจกรรมทั้งหมดควรสอดคลองกับเปาหมายในการลงทุนทางสังคม
- สงเสริมโครงการลงทุนเพื่อสังคมอยางยั่งยืน โดยใหชุมชนเขามามีสวนออกแบบและ
พัฒนาโครงการ การเขามามีสวนรวมของชุมชนจะชวยใหโครงการอยูรอดและประสบ
ความสําเร็จ เมื่อองคกรถอนตัวออกไป
- สงเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและมนุษย ในการวางแผนการลงทุนเพื่อสังคม
รวมทั้งควรขยายโอกาสใหประชาชน เชน จัดหาทรัพยากรตางๆ จากชุมชนทองถิ่น จาง
วานบริษัททองถิ่นทํางาน (outsource)
- หลีกเลี่ยงการกระทําที่ทําใหชมุ ชนตองพึ่งพาการบริจาคขององคกรอยางถาวร
โดยเฉพาะอยางยิ่งในชุมชนที่มีฐานะยากจน
- ประเมินผลตอบรับในดานความสําเร็จ ความยั่งยืน และระบุประเด็นที่ควรปรับปรุง
รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 64 
กรอบที่ 20 ตัวอยางการลงทุนทางสังคมในชุมชน

บริษัทหาทางเพิ่มการจัดหาทรัพยากรตางๆ จากชุมชนทองถิ่น สรางศักยภาพใหทองถิ่นดวย


การเขามามีสวนสอนและอบรมในดานตางๆ เชน การทําสวน บริการซักรีด การซอมแซมยานพาหนะ
และการนําวัตถุกลับมาใชใหม
บริษัทคาไมสง ออกไมซุงที่ไดรับอนุญาต อีกทั้งรวมเปนพันธมิตรกับองคกรพัฒนาเอกชนใน
การชวยเหลือผูผลิตรายยอยใหไดรับใบอนุญาต โดยชวยเหลือดานเทคนิคและจัดการฝกอบรม ควบคู
ไปกับการใหความชวยเหลือดานเงินทุน กิจกรรมนี้เปนการผนวกผูผ ลิตรายยอยเขาเปนสวนหนึ่งของ
หวงโซอุปทาน

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 65 
7. แนวทางปฏิบัติดานความรับผิดชอบตอสังคม

7.1 บททั่วไป
ประเด็นนี้เปนเรื่องเกี่ยวกับแนวทางการปฏิบัติดานความรับผิดชอบตอสังคม โดยจะกลาวถึง
กิจกรรมที่องคกรทุกรูปแบบและทุกขนาดสามารถนําไปใชได รวมทัง้ ใหแนวทางเพิ่มเติมสําหรับ
องคกรที่มีลักษณะพิเศษ เชน องคกรขนาดกลางและขนาดยอม และองคกรพัฒนาเอกชน ในประเด็น
ที่เกี่ยวเนื่องกัน กิจกรรมที่จะกลาวถึงในทีน่ ี่ไมจําเปนตองนําไปประยุกตใชแบบขั้นตอขั้น แตควร
พิจารณาถึงปจจัยสําคัญทั้งหมด
การปฏิบัติอยางมีความรับผิดชอบตอสังคมเปนกิจกรรมที่ตองทําอยางตอเนื่องและอาศัยเวลา
บอยครั้งที่องคกรซึ่งริเริ่มเรื่องความรับผิดชอบตอสังคมจะกลาวถึงสิง่ ที่องคกรปฏิบัติ เชน กิจกรรม
ตางๆ สินคาและบริการ กลาวถึงแนวทางปฏิบัติ เชน นโยบาย กลยุทธ และขั้นตอนการดําเนินงาน
ขององคกร สิ่งสําคัญมากไปกวานั้นคือ การปฏิบัติอยางมีความรับผิดชอบตอสังคมยังรวมถึงการใสใจ
เรื่องผลกระทบตอผูมีสวนไดสวนเสียขององคกรดวย ดังนั้น องคกรจึงควรจัดลําดับความสําคัญและ
จัดกิจกรรมดานความรับผิดชอบตอสังคมใหสอดคลองกับโครงสราง ความซับซอน บริบทในการ
ดําเนินงาน บริบทในการดําเนินงานขององคกรสงผลกระทบตอวิสัยทัศน นโยบาย กลยุทธ และ
ความสัมพันธกับผูมีสวนไดสวนเสีย องคกรจึงควรทบทวนและสื่อสารกิจกรรมการดําเนินงานตอ
สาธารณะ มาตรฐานดานความรับผิดชอบตอสังคมนี้ควรบูรณาการเขากับรูปแบบ กลยุทธ และแนว
ปฏิบัตทิ ี่มีอยูขององคกร

7.2 การทําความเขาใจในบริบทของความรับผิดชอบตอสังคม

7.2.1 ขอพิจารณา
องคกรจําเปนตองไดรับขอมูลและทําการวิเคราะหเพื่อพัฒนาวิสัยทัศน ภารกิจ กลยุทธ
วัตถุประสงคและเปาหมาย ในการบูรณาการดานความรับผิดชอบตอสังคมเขากับการดําเนินการของ
องคกร การรวบรวมขอมูลและการวิเคราะหนี้เปนวิธกี ารที่ดีที่สุดทีท่ ําใหองคกรสามารถเขาใจถึง
บริบททางสังคม สิ่งแวดลอม และเศรษฐกิจที่องคกรดําเนินการอยู โดยควรทําความเขาใจใน
โครงสรางขององคกร วิเคราะหขอบเขตและบริบทของความรับผิดชอบตอสังคม และเขาใจถึงขอ
กังวลของผูมสี วนไดสวนเสียดวย

7.2.2 การทําความเขาใจในองคกร
องคกรควรรวบรวมและประเมินขอมูลดังตอไปนี้ เพื่อทําความเขาใจในโครงสรางขององคกร
ใหดียิ่งขึ้น
- สินคาและบริการหลัก ขอบเขตที่ตั้งและสภาพทางภูมิศาสตร โครงสรางการทํางาน
โครงสรางภาครัฐ กําลังแรงงานรายได คาใชจายตอปและขอมูลเชิงปริมาณอื่นๆ

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 66 
- กิจกรรมและแนวทางดําเนินงานขององคกรที่สอดคลองและตอบสนองตอสังคมภายนอก
- เปาหมายสําคัญและแนวทางดําเนินงานในปจจุบันเพื่อบรรลุเปาหมาย
- การเปลี่ยนแปลงในสินคา บริการ กิจกรรม กลยุทธและนโยบาย
- การคาดการณแนวโนมในการดําเนินธุรกิจ
- ประเมินจุดแข็งและขีดความสามารถในดานทรัพยากรมนุษยและทรัพยากรอื่นๆ

7.2.3 การวิเคราะหขอบเขตและบริบทของความรับผิดชอบตอสังคม
องคกรควรระบุและวิเคราะหประเด็นความรับผิดชอบตอสังคม ซึ่งสัมพันธกับขอบเขตความ
รับผิดชอบภายในองคกรและหวงโซอุปทาน และภายในเครือขายของผูมีสวนไดสวนเสีย การประเมิน
ขอบเขตนี้ สามารถระบุประเด็นความรับผิดชอบตอสังคมทั้งจากกิจกรรม สินคา และบริการของ
องคกรเอง และจากภายในหวงโซอุปทานและเครือขายกลุมผูมีสวนไดสวนเสียที่องคกรสามารถ
ควบคุมหรือมีอิทธิพลอยู โดยระดับการควบคุมจะสัมพันธกับความซับซอน ขนาดขององคกร สภาพ
การแขงขัน และจํานวนองคกรในหวงโซอุปทาน
การประเมินขอมูลตามบริบท ควรใหความสําคัญกับประเด็นดังตอไปนี้
- ทําความเขาใจเรื่องแนวโนมที่เกี่ยวกับขอกังวลดานความรับผิดชอบตอสังคม
ƒ ระบุวาการกระทําใดที่ไดลงมือปฏิบัติแลว และระบุถึงประเด็นความรับผิดชอบตอ
สังคมที่เดนชัด
ƒ ระบุแนวทางการบรรลุเปาหมายในเรื่องความรับผิดชอบตอสังคม
ƒ วิเคราะหโอกาส ความเสี่ยง และความทาทายที่เกิดขึน้ จากประเด็นหลักๆ ดานความ
รับผิดชอบตอสังคม ในชวงระยะสั้น และระยะยาว
คําถามดังตอไปนี้ อาจชวยในการประเมินขอมูลตามบริบท
- กิจกรรมใดบางที่ขัดตอกฎหมาย สนธิสัญญา พิธีสาร และขอตกลงระหวางประเทศ
- กระบวนการ วิธีการ กิจกรรม หรือการกระทําใดบาง ที่ไมสัมพันธหรือขัดกับกลยุทธและ
วัตถุประสงคขององคกรในเรื่องความรับผิดชอบตอสังคม
- ปจจัยดานวัฒนธรรมขององคกรดานใดบาง เชน ปรัชญา บรรทัดฐาน ความเชื่อพื้นฐาน
และการลงโทษทางวินัย มีสวนชวยในการตระหนักถึงกลยุทธเรื่องความรับผิดชอบตอ
สังคม และในทางกลับกัน ปจจัยดานวัฒนธรรมขององคกรดานใดบางที่ไมมีสวนชวยและ
จําเปนจะตองเปลี่ยนแปลง

7.2.4 การทําความเขาใจกับขอกังวลของผูมีสวนไดสวนเสีย
องคกรควรทําความเขาใจกับขอกังวลของผูมีสวนไดสวนเสียในประเด็นเรื่องความรับผิดชอบ
ตอสังคมภายในขอบเขตของกิจกรรมที่ดําเนินการ ขอกังวลเหลานีส้ ามารถประมวลไดจาก
กระบวนการจําแนกผูมีสวนไดสวนเสีย

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 67 
กรอบที่ 21 วิเคราะหขอบเขตของความรับผิดชอบตอสังคม

ตัวอยาง 3 ตัวอยางดานลางแสดงใหเห็นถึง บริษัทผลิตอาหารขนาดใหญ รานซอมรถยนต


ขนาดเล็ก และองคกรพัฒนาเอกชนดานการวิจัยพัฒนา ตางวิเคราะหขอบเขตความรับผิดชอบตอ
สังคมของตัวเอง การวิเคราะหนี้ระบุใหเห็นตัวอยางประเด็นความรับผิดชอบตอสังคมที่ตองพิจารณา
เพื่อกําหนดขอบเขต กอนจะตั้งเปาหมายและผสานความรับผิดชอบตอสังคมเขากับการดําเนินการ
สินคาและบริการขององคกร

บริษัทผลิตอาหารขนาดใหญ
หนวยงานทีอ่ งคกรสามารถควบคุม ตัวอยางผลกระทบดานความรับผิดชอบตอ
หรือมีอิทธิพลเหนือ สังคมจากหนวยงานดานซายมือ
เกษตรกร สหกรณการเกษตร และบริษัทดาน การทําไรอยางยั่งยืนเพื่อสิ่งแวดลอม เชน ระบบ
เกษตรกรรม รับซื้อผลิตภัณฑจากไรเพื่อใชใน ชลประทานและการใชยาฆาแมลง การปนเปอน
ผลิตภัณฑอาหารของบริษทั โดยบริษัทรับซื้อ ของสารพิษในน้ํา การควบคุมการขุดเซาะหนาดิน
ผลิตภัณฑอยางนอยรอยละ 20 หรือมูลคาการ การตัดไมทําลายปา และการอนุรักษถิ่นที่อยูอาศัย
จําหนาย 2 ลานดอลลารสหรัฐ ตามธรรมชาติของสัตวปา
การทําไรอยางยั่งยืนเพื่อสังคม เชน คาแรงและแนว
ปฏิบัติ ความปลอดภัยในไรและพืชผลทางการ
เกษตรและสัตวที่ถูกตัดตอทางพันธุกรรม
บริษัทสาขาทีบ่ ริษัทแมเปนเจาของเต็ม หรือ บริษัทสาขามีประเด็นความรับผิดชอบตอสังคมที่
เปนกิจการรวมคาที่บริษทั แมลงทุนอยางนอย คลายคลึงกับประเด็นของบริษัทแม
รอยละ 35
ผูจัดจําหนายหลัก การใชพลังงาน (กาซเรือนกระจก) สุขอนามัยและ
ความปลอดภัยของคนงาน วัตถุดิบในการผลิต
บรรจุภัณฑและการทิ้งขยะ
คูคาหลัก ดานเครื่องจักรการผลิตในโรงงาน ความปลอดภัยในการใชเครื่องจักร การใชพลังงาน
อยางมีประสิทธิภาพ การยศาสตร (Ergonomic)
การกําจัดขยะ
คูคาหลักดานบรรจุภัณฑและวัตถุดบิ อื่น ๆ วัตถุดิบที่ใชแลวและขยะ การกําจัดสวนประกอบที่
อันตราย การยศาสตร(เออรกอนอมิคส-Ergonomic)
วัตถุดิบที่นํากลับมาใชใหมได
การบํารุงรักษา ผูรับเหมางานกอสรางและงาน การปองกันการทิ้งของเสีย หลีกเลี่ยงวัตถุดิบที่มี
บริการ อันตราย การกอสรางที่คํานงถึงสิ่งแวดลอม การ

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 68 
กําจัดขยะอยางถูกวิธี การปฏิบัติอยางยุตธิ รรม
สุขภาพและความปลอดภัยของคนงาน
ประเด็นเกี่ยวกับความรับผิดชอบตอสังคมที่สําคัญ ไดแก เรื่องสินคาและบริการ เชน คุณคาทาง
อาหาร ฉลากสินคาแจงวัตถุดิบและผลกระทบตอสุขภาพ ความปลอดภัยของผูบริโภค การลดบรรจุ
ภัณฑ การใชพลังงาน/กาซเรือนกระจก การปลอยมลพิษ การกอใหเกิดของเสีย การใชน้ํา สิทธิสวน
บุคคลของคนงาน สุขภาพและความปลอดภัย การพัฒนาและการปฏิบัตติ อแรงงานอยางเปนธรรม
การจัดการภาวะวิกฤตที่คํานึงถึงประเด็นความรับผิดชอบตอสังคม การสื่อสารกับกลุมผูมีสวนไดสวน
เสีย การบริจาค การมีสวนรวมของพนักงานในกิจกรรมอาสาสมัครเพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบตอ
สังคม การดําเนินกิจการอยางเปนธรรม แนวทางการตลาดและการโฆษณา บริการหลังการขาย
ทางออกกรณีพิพาท การปกปองขอมูลและขอมูลสวนบุคคล เปนตน

รานซอมรถยนตขนาดเล็ก
หนวยงานทีอ่ งคกรสามารถควบคุม ตัวอยางผลกระทบดานความรับผิดชอบตอ
หรือมีอิทธิพลเหนือ สังคมจากหนวยงานดานซายมือ
ผูรับเหมางานซอมแซมและงานบริการ ความปลอดภัย การลดปริมาณขยะ ความ
หลากหลาย
ประเด็นเกี่ยวกับความรับผิดชอบตอสังคมที่สําคัญ ไดแก สินคาและบริการของราน เชน ความ
ปลอดภัยของลูกคา ลดการใชสารละลายที่เปนอันตราย การนําตัวทําละลายและผาเช็ดมือกลับมาใช
ใหม การนํายางลอรถที่ใชแลวและสวนประกอบอื่นๆ กลับมาใชใหม สุขภาพและความปลอดภัยของ
คนงาน การพัฒนาและสภาพการทํางาน การมีสวนรวมและชวยเหลือกิจกรรมชุมชน เปนตน

องคกรพัฒนาเอกชนดานการวิจัยและพัฒนา
หนวยงานทีอ่ งคกรสามารถควบคุม ตัวอยางผลกระทบดานความรับผิดชอบตอ
หรือมีอิทธิพลเหนือ สังคมจากหนวยงานดานซายมือ
คูสัญญาที่รับทําวิจัยและพัฒนา ที่ปรึกษาดาน การปฏิบัตติ อแรงงานอยางเปนธรรม สุขภาพและ
การวิจัยและพัฒนา ความปลอดภัยของพนักงาน ลดผลกระทบของ
สินคาและบริการตอสิ่งแวดลอม ปกปองขอมูลที่
เปนความลับหรือขอมูลสวนบุคคล เปนตน
ประเด็นเกี่ยวกับความรับผิดชอบตอสังคมที่สําคัญ ไดแก การใหบริการที่ยึดมั่นกับการรับผิดชอบตอ
สังคม การนํากระดาษกลับมาใชซ้ํา ใชหมึกพิมพจากน้ํามันถั่วเหลือง จัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอรที่มี
ประสิทธิภาพในการใชพลังงาน สุขภาพและความปลอดภัยของพนักงาน การปฏิบัติตอพนักงาน
อยางเปนธรรม เลือกโรงแรมที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมเปนสถานที่จัดประชุม เปนตน

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 69 
7.3 การทํางานกับผูมีสวนไดสวนเสีย

7.3.1 ขอพิจารณา
ทุกองคกรลวนมีความสัมพันธกับผูมีสว นไดสวนเสีย โดยผานทางการสื่อสารกับปจเจกหรือ
องคกร เชน ลูกคา พนักงานหรือคูคา การสื่อสารกับผูมีสวนไดสวนเสียไมจําเปนเสมอไปที่จะตอง
พัฒนาระบบการสื่อสารขึ้นใหม แตสามารถตอยอดจากประสบการณ แนวทางเดิมที่ทําอยู การมีสวน
รวมของผูมีสวนไดสวนเสีย มีองคประกอบหลัก 2 ประการ คือ
- การจําแนกกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย
- กระบวนการเขาไปมีสวนรวม

องคกรปรารถนาจะเขาไปมีสวนรวมกับผูม ีสวนไดสวนเสีย บนพื้นฐานของกิจกรรมทั้งหมดที่


สัมพันธกับความรับผิดชอบตอสังคม หรือบนพื้นฐานเปนรายโครงการ เปาหมายของการเขาไปมีสวน
รวมควรจะชัดเจนตั้งแตระยะเริ่มตนเพื่อจัดการกับความคาดหวังของทุกคนที่เกี่ยวของใน
กระบวนการ

7.3.2 การจําแนกผูมีสวนไดสวนเสีย
ผูมีสวนไดสวนเสียทั้งปจเจกและกลุมเกี่ยวของกับเรื่องผลประโยชนขององคกรในรูปแบบที่
แตกตางกันไป องคกรควรจําแนกผูมีสวนไดสวนเสียขององคกร ตามพื้นฐานของของผลประโยชน
และความสัมพันธของผูมีสวนไดสวนเสียตอองคกร การจําแนกผูมีสวนไดสวนเสียเปนการเสริมสราง
คุณคาของการสานเสวนากับผูมีสวนไดสว นเสียและชวยรักษาสัมพันธภาพในระยะยาว
ไมมีองคกรใดที่สามารถเขาไปมีสวนรวมกับกลุมผูมีสวนไดสวนเสียทั้งหมดไดในเวลา
เดียวกันหรือในระดับเดียวกัน และองคกรไมจําเปนตองจําแนกความตองการของผูมีสวนไดสวนเสีย
ทั้งหมดไดในเวลาเดียวกันและดวยประสิทธิภาพที่เทาเทียมกัน ผูมีสวนไดสวนเสียมีผลประโยชนที่
แตกตางกันออกไปและอาจขัดแยงกับผลประโยชนของผูมีสวนไดสวนเสียอื่นๆ รวมทั้งอาจขัดแยงกับ
ผลประโยชนของตัวบริษัทเองดวย

7.3.2.1 กระบวนการจําแนกผูมีสวนไดสวนเสีย
องคกรสามารถจําแนกกลุมผูมีสวนไดสวนเสียผานการสัมภาษณกลุม ยอย การสํารวจ การ
ประกาศใหสาธารณชนรับทราบเกี่ยวกับกระบวนการจําแนก และเชิญใหกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย
ชี้ใหเห็นความตองการและผลกระทบที่จะเกี่ยวพันกับกลุม โดยมีเกณฑในการจําแนกกลุมผูมีสวนได
สวนเสีย 6 ขัน้ ตอนดังตอไปนี้

1) พิจารณาความสําคัญของผูมีสวนไดสวนเสียบางกลุมหรือบางคนอยางมีกลยุทธเพือ่ ใชใน
การตัดสินใจและระบุประเด็นดานความรับผิดชอบตอสังคมขององคกร

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 70 
2) สัมพันธภาพและการจําแนกผลประโยชนของผูมีสวนไดสวนเสียตองเปนไปอยาง
เหมาะสม ประเด็นนี้เปนประเด็นที่ทาทายมาก เมื่อองคกรตองเขาไปมีสวนรวมกับกลุมผู
มีสวนไดสวนเสียซึ่งยังไมไดมีการจัดตั้งอยางเปนทางการ เชน เพื่อนบานใกลเคียง
โรงงาน
3) แตละบุคคลในองคกรอาจมีมุมมองที่แตกตางกันไปในการจําแนกผูมีสวนไดสวนเสียที่
เกี่ยวของกับองคกร ตามแตประสบการณ บทบาทและการศึกษา ดังนั้น ควรใชคณะ
บุคคลในกระบวนการจําแนกผูมีสวนไดสวนเสียเพื่อปองกันการลําเอียง
4) ผูมีสวนไดสวนเสียบางรายอาจแสดงตัวเอง องคกรควรพิจารณาความถูกตองเหมาะสม
อยางรอบคอบ โดยอิงหลักการพัฒนาอยางยั่งยืนและสวัสดิการของสังคม และมีความ
โปรงใสในการตัดสินใจ
5) ผูมีสวนไดสวนเสียบางรายอาจทําหนาที่เปนตัวแทนของผูอื่น เชน กลุมเด็กและเยาวชน
องคกรควรตระหนักถึงความเปนไปไดทจี่ ะเกิดการทําหนาที่ในทางที่ไมถูกไมควร เพราะ
ตัวแทนอาจจะไมไดยึดมั่นกับการพัฒนาอยางยั่งยืนและสวัสดิการของสังคม
6) ความแตกตางของผูมีสวนไดสวนเสียอาจเปนไปตามความแตกตางภูมิศาสตรในแตละ
ภูมิภาค และกิจกรรมขององคกร

ผูที่มีสวนไดสว นเสีย หมายถึง ผูที่จะไดรับประโยชนหรือผลกระทบจากความรับผิดชอบตอ


สังคมขององคกรทั้งรายบุคคลและกลุม โดยองคกรจะตองจําแนกหรือชี้ใหเห็นถึงผูม ีสวนไดสวนเสีย
ทั้งภายในและภายนอกองคกร ซึ่งสามารถทําไดหลายวิธี เชน การระดมความคิดเห็น การประชุม
กลุมยอย การสํารวจ การประกาศใหสาธารณะทราบถึงกระบวนการและขั้นตอนในการพิจารณาระบุผู
มีสวนไดสวนเสีย รวมทั้งเชิญกลุมเปาหมายใหเขามามีสวนรวม ทั้งนี้ ควรมีการจัดทําเปนเอกสาร
รายชื่อผูมีสวนไดสวนเสีย และควรมีการปรับปรุงใหมขี อมูลที่ทันสมัยอยูเสมอ โดยอาจใชรูปแบบ
เอกสารที่เปนแผนภาพ ดังนี้

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 71 
รูปที่ 2 แผนภาพผูมีสวนไดสวนเสียขององคกร

7.3.2.2 การจัดลําดับความสําคัญของผลประโยชนและผลกระทบ
เมื่อจําแนกกลุมผูมีสวนไดสวนเสียไดแลว องคกรควรจะตองจัดลําดับความสําคัญของ
ผลประโยชนขององคกร โดยใชวธิ ีดังนี้
- การมองเรื่องของความเสี่ยง โดยพิจารณาวาผลประโยชนใดจะมีผลกระทบตอทั้งตัว
องคกรและกลุม ผูมีสวนไดสวนเสียมากทีส่ ุด
- พิจารณาถึงผลประโยชนและผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึ้น โดยเฉพาะจากกลุมผูมีสวนไดเสียที่มี
ความเกี่ยวของกับองคกรในดานกฎหมาย และดานระเบียบปฏิบัติ ทัง้ ในระดับประเทศ
และระดับสากล
- จัดการกับประเด็นปญหาทีง่ ายที่สุดกอนเพื่อเหลือเวลาใหแกปญหาทีม่ ีความยุงยาก
มากกวา
- ใชหลักการของการไดรับความยินยอมรวมกัน โดยระบุถึงผลกระทบที่กลุมผูมีสวนได
สวนเสียสวนใหญเห็นวามีความสําคัญเปนอันดับแรก

เมื่อจัดลําดับผลประโยชนและผลกระทบที่อาจเกิดขึน้ แลว องคกรจะพบวากลุมผูมีสวนได


สวนเสียที่องคกรตองเขาไปเกี่ยวของอาจมีจํานวนนอยลง ซึ่งทําใหองคกรมีกระบวนการบริหาร
จัดการที่ดีขึ้น

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 72 
7.3.3 กระบวนการเขาไปมีสวนรวม
กระบวนการมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสียควรมีจดุ มุงหมายเพื่อสรางความเชื่อถือ และ
ความไววางใจระหวางองคกร และกลุมผูม ีสวนไดสวนเสียหลักๆ โดยมีจุดมุงหมายสูงสุดคือการ
ปรับปรุงเรื่องความรับผิดชอบตอสังคมขององคกร ความเชื่อถือและความไววางใจจะเกิดจากสิ่งที่
องคกรไดดําเนินการ เกิดจากความโปรงใส และการแลกเปลีย่ นขอมูลที่เปนผลจากความรับผิดชอบ
ตอสังคมระหวางองคกรกับกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย ในการสรางความเชื่อถือไววางใจใหยั่งยืน องคกร
ควรใชวธิ ีที่เหมาะสมในการดึงผูมีสวนไดสวนเสียใหเขามาเกี่ยวของ และควรมีการทําขอตกลงใหเปน
การเฉพาะระหวางองคกรกับผูไดรับผลกระทบในประเด็นปญหาดานความถูกตองตามกฎหมายเพื่อ
รักษาความลับ เชน ขอจํากัดดานความลับทางการคา ประเด็นที่ออนไหวดานสังคม เปนตน

7.3.3.1 ควรเขาไปมีสวนรวมอยางไร
กลุมผูมีสวนไดสวนเสียหลักๆ ควรเขามามีสวนรวมในขั้นตอนดังนี้
- กําหนดวัตถุประสงคและเปาหมายของความรับผิดชอบตอสังคม
- ตรวจสอบความถูกตองของขอมูลและการอางอิงที่เกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามหลักการและ
ประเด็นดานความรับผิดชอบตอสังคม
- ตรวจทานสิ่งที่ไดดําเนินการปฏิบัตทิ ี่เกี่ยวกับประเด็นปญหาหลักๆ ที่มีความเกี่ยวของ
กันขององคกร
- ดําเนินการแกปญหาในประเด็นที่ยังคลุมเครือไมชัดเจนหรือเปนเรื่องยุงยากที่องคกร
เผชิญอยู

7.3.3.2 การเขาไปมีสวนรวมและแผนการสื่อสาร
องคกรควรมีการเตรียมการกอนที่กระบวนการมีสวนรวมจะเกิดขึ้น การวางแผนงานเพื่อ
เขาถึงกลุมผูมสี วนไดเสีย และการวางแผนการสื่อสารจะเปนประโยชนอยางยิ่งในการเลือกประเด็นที่
ตองการจะนําเสนอ พรอมทั้งควรเลือกวิธกี ารสื่อสาร และจํานวนความถี่ของการสื่อสารไปยัง
กลุมเปาหมาย นอกจากนี้ ควรจะมีการสือ่ สารแผนงานใหเปนที่รับทราบ และแผนนั้นควรนําไปใชได
งายและสามารถพัฒนาตอไปได
องคกรควรใหกลุมผูมีสวนไดสวนเสียเขามามีสวนรวมในเบื้องตน เริม่ ตั้งแตกระบวนการ
ตัดสินใจเพื่อใหเกิดความมั่นใจวาตางฝายตางเขาใจในผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นแตเนิ่นๆ ควร
เตรียมพรอมที่จะรับฟงเสียงสะทอนจากผูมีสวนไดสวนเสียในทุกกระบวนการทํางาน และตองยอมรับ
วาผลที่ออกมา อาจไมเปนไปในทางบวกตามเจตนารมณเดิมขององคกร ทั้งนี้ความสําคัญอยูที่การ
เปดกวางในกระบวนการตัดสินใจ

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 73 
7.3.3.3 เทคนิคของการเขาไปมีสวนรวม
เทคนิคของการมีสวนรวมมีหลายประการ การนําประเด็นทุกเรื่องหรือโครงการทุกเรื่องมาใช
หารือในวงประชุมกลุมยอยนั้น จะเสียเวลาและสรางความยุงยากตอกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย และอาจ
ทําใหไมอยากเขามามีสวนรวม ในสถานการณนี้ วิธีการสื่อสารอยางตอเนื่อง เชน การใชอีเมล และ
โทรศัพท จะมีประสิทธิภาพมากกวา หากมีการวางแผนจัดการประชุมกลุมยอย ก็ควรมีการ
ดําเนินการประชุมอยางมืออาชีพ
เมื่อตองการดึงกลุมผูมีสวนไดสวนเสียเขามาเกี่ยวของในประเด็นดานแรงงาน หัวขอการ
สนทนาควรจะอยูภายใตหลักการขององคการแรงงานระหวางประเทศ และเปนไปตามกฎหมาย
แรงงานในระดับทองถิ่นและระดับประเทศ รวมทั้งเปนไปตามขอตกลงระหวางองคการนายจาง
และสหภาพแรงงาน ซึ่งรูปแบบที่สําคัญที่สุดของการเขามามีสวนรวมของกลุมผูม ีสวนไดสวนเสียดาน
แรงงานคือการเจรจาตอรองรวมกัน
การสรางและการพัฒนาพันธมิตรกับกลุม ผูมีสวนไดสวนเสียหลักๆ บางครั้งก็เปนประโยชน
ตอการที่จะบรรลุเปาหมายทีเ่ ฉพาะเจาะจงในบางเรื่อง ชวยสรางโอกาสและหาแนวทางการพัฒนา
เพื่อสรางมูลคาเพิ่มใหกับองคกรและเปนประโยชนไปตอสังคมในที่สดุ อยางไรก็ดี แนวทางของการ
สรางพันธมิตรนี้อาจมีขอจํากัดในกรณีที่มีประเด็นเรื่องของผลประโยชนขัดกันระหวางองคกรและผูมี
สวนไดสวนเสีย
การเขาไปมีสว นรวมกับกลุม ผูมีสวนไดสวนเสียอยางมีความหมายนั้นไมใชกิจกรรมที่จะทํา
เดี่ยวๆ แตเปนยุทธวิธีในการตัดสินใจซึ่งอาจเกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงกระบวนการและ
วัฒนธรรมภายในองคกร องคกรจะมีโอกาสเรียนรูอยางตอเนื่องกับภายนอกองคกร กระบวน
แลกเปลีย่ นการเรียนรูซึ่งกันและกันนี้ จะชวยเสริมสรางความไววางใจระหวางองคกรและผูมีสวนได
สวนเสียหลัก และนําไปสูความนาเชื่อถือ
เมื่อกลุมผูมีสวนไดสวนเสียถูกดึงใหเขามามีสวนรวมในบริบทของความรับผิดชอบตอสังคม
การการตัดสินใจควรเปนไปตามมติรวมกัน หากไมสามารถมติรวมกันได ควรหาทางออกที่ดีที่สุดเพื่อ
ลดความเห็นที่ตางกันที่เกิดขึ้น และควรมีการสื่อสารอยางโปรงใสใหกลุมผูมีสวนไดสวนเสียอื่นๆ
ไดรับทราบ

7.4 การบูรณาการความรับผิดชอบตอสังคมในแผนยุทธศาสตรและเปาหมายขององคกร

7.4.1 ขอพิจารณา
แนวปฏิบตั ิเรือ่ งความรับผิดชอบตอสังคมควรนํามาบูรณาการอยูในเปาหมายและกลยุทธใน
การบริหารจัดการขององคกร ซึ่งจะสําเร็จไดดวยการสนับสนุนจากผูบริหารระดับสูง และควรผาน
การหารือรวมกันกับกลุมผูมสี วนไดสวนเสีย รวมทั้งนําไปอธิบายไวในพันธกิจและนโยบายขององคกร

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 74 
ตั้งแตเริ่มกระบวนการดําเนินการ ผูบริหารระดับสูงควรมีบทบาทเฉพาะ และมีขอตกลงที่จะ
ปรับปรุงการปฏิบัติดานความรับผิดชอบตอสังคมขององคกร ในการทําใหกิจกรรมเหลานี้เกิด
ความสําเร็จ ฝายบริหารนัน้ จะตองอยูในตําแหนงที่สูงพอที่จะจัดการแกปญหาที่อาจเกิดขึ้นได

7.4.2 การรับหลักความรับผิดชอบตอสังคมและเชือ่ มโยงเขากับพันธกิจขององคกร


กิจกรรมที่เกี่ยวกับความรับผิดชอบตอสังคมขององคกรควรอยูบนหลักความรับผิดชอบตอ
สังคมที่เกี่ยวกับคานิยมและกฏเกณฑขององคกร หลักการเหลานี้ควรจะมีการระบุและอธิบายไวให
ชัดเจน หลายองคกรมีการเขียนถอยแถลงในเรื่องของพันธกิจและวิสัยทัศน เพื่อสื่อสารถึงคานิยมและ
เปาหมายหลักขององคกร ซึ่งองคกรเหลานี้ควรทบทวนถอยแถลง และพิจารณาเลือกแนวปฏิบตั ดิ าน
ความรับผิดชอบตอสังคมทีเ่ หมาะสมเพื่อนําเขาไปปรับรวมเขากับถอยแถลงเดิม สวนองคกรที่ยงั
ไมไดมีการเขียนถอยแถลงถึงพันธกิจและวิสัยทัศนก็ควรที่จะลงมือทํา ถอยแถลงถึงวิสัยทัศนและ
พันธกิจขององคกร จะชวยใหกลุมผูมีสวนไดสวนเสียมีแนวทางในการประเมินองคกร ตามที่องคกร
ไดใหคํามั่นในเรื่องการทํางานอยางมีความรับผิดชอบตอสังคม
แนวปฏิบตั ิดานจรรยาบรรณที่เขียนขึ้น และที่ผานการการอนุมัติจากผูบริหารระดับสูงจะมี
ประโยชนคือ พนักงานและกลุมผูมีสวนไดสวนเสียจะไดรับทราบแนวปฏิบตั ิที่สอดคลองไปกับคานิยม
พันธกิจ วิสยั ทัศน และหลักเกณฑการปฏิบัติงาน นอกจากนี้ ยังสามารถใชเปนขออางอิงในองคกร
เพื่อใชในการตัดสินใจในงานประจํา และหากมีการเผยแพรแนวปฏิบตั ิดานจรรยาบรรณตอสาธารณะ
จะเปนแนวทางใหสังคมภายนอกใชเปนเกณฑในการประเมินการทํางานขององคกรในความ
รับผิดชอบตอสังคม

7.4.3 การกําหนดวัตถุประสงคและการพัฒนากลยุทธ
องคกรและกลุม ผูมีสวนไดสวนเสียควรกําหนดวัตถุประสงคและแผนกลยุทธในการปฏิบัติงาน
อยางมีความรับผิดชอบตอสังคมใหสอดคลองกับวิสัยทัศน พันธกิจ ถอยแถลงของการปฏิบัติงานและ
แนวปฏิบตั ิดานจรรยาบรรณ โดยรวมเขาไปในกระบวนการทํางานที่ถือปฏิบตั ิอยูแลว โดยองคกร
สามารถกําหนดวัตถุประสงคตามแนวทางดังนี้
- นําผลที่ไดจากการวิเคราะหเนื้อหา พันธกิจ และวิสัยทัศนมาปรับและรวมเขากับวิธีการ
ปฏิบัติงานและพิจารณาประกอบกับความเห็นและขอมูลจากกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย
- คัดเลือกประเด็นหลักดานความรับผิดชอบตอสังคม
- จัดลําดับความสําคัญและกําหนดระยะเวลาที่จะจัดการกับประเด็นดานความรับผิดชอบ
ตอสังคมที่คัดเลือกแลว

กลยุทธขององคกรในการจัดการประเด็นดานความรับผิดชอบตอสังคม ทําไดโดยทบทวนถึง
แนวนโยบายขององคกรที่มีอยูเดิม และพัฒนาแนวทางใหมที่จําเปน เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงค
กลยุทธขององคกรควรจะมีขอมูลเกี่ยวกับแนวทางตอไปนี้

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 75 
- การบรรลุวัตถุประสงคทตี่ ั้งไว
- กําหนดวิธกี ารปฏิบัติหรือกระบวนการเพือ่ คัดเลือกประเด็นดานความรับผิดชอบตอสังคม
ใหเขากับการดําเนินการ สินคา และบริการขององคกร
- จัดการกับประเด็นปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นตามสภาวะในทองถิ่นของแตละประเทศ
พิจารณาประเด็นดานความแตกตางของวัฒนธรรม และเงื่อนไขทางเศรษฐกิจและสังคม
- ระบุกรณีที่อยูใ นความสนใจและอยูในขั้นของความขัดแยงและมีผลกระทบตอกลุม ผูมี
สวนไดสวนเสียดวยกันเองหรือตอองคกร
- ใหอํานาจและทรัพยากรแกกลุมผูทํางานในองคกรเพื่อดําเนินกิจกรรมดานความ
รับผิดชอบตอสังคม
- จัดสรรตนทุนในการดําเนินกิจกรรมดานความรับผิดชอบตอสังคมกับกลุมคูคาในระบบ
หวงโซอุปทาน อยางเปนธรรม
- เขาไปมีสวนรวมกับผูมีสวนไดสวนเสีย
- พัฒนากรอบการทํางานเพื่อบริหารจัดการการดําเนินการดานความรับผิดชอบตอสังคม
รวมทั้งการทบทวนผลการปฏิบัติงานและความคืบหนา

7.5 การดําเนินการดานความรับผิดชอบตอสังคมในงานประจํา

7.5.1 ขอพิจารณา
การที่จะนําความรับผิดชอบตอสังคมมารวมเขากับการดําเนินการ สินคา และบริการของ
องคกรไดอยางประสบความสําเร็จนั้น ควรมีการวางแผนกลยุทธ โดยใหกลุมผูมีสวนไดสวนเสียเขา
มามีสวนรวมกําหนดเปาหมายระยะสั้น รวมทั้งแผนปฏิบัติงาน และตัวชี้วัด
นอกจากนั้น ควรใชประโยชนจากระบบการทํางานที่มีอยู ตัวอยางเชน ทีมผูบริหาร ระบบ
ฐานขอมูลที่มคี ุณภาพ เครื่องมือ และโครงสรางการทํางาน ไดแก การตัดสินใจ และการพิจารณาให
รางวัล องคกรไมควรมีระบบงานซ้ําซอน แตอาจจะปรับปรุงใหดีขึ้น
องคกรควรรวมเจาหนาที่ทุกระดับใหเขามามีสวนรวมในการปฏิบัตติ ามแผนกลยุทธ นโยบาย
และวัตถุประสงคในระยะกลางและระยะยาว ตลอดจนแนวปฏิบตั ิในดานจรรยาบรรณ และควรสราง
ความตระหนัก และพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพใหแกทุกฝายในองคกร

7.5.2 การสรางความตระหนักและการพัฒนาความสามารถในการทํางาน
แผนการปฏิบตั ิงานในการสรางความตระหนักใหเกิดขึน้ ในองคกรมีดังตอไปนี้
- กระตุนผูบริหารระดับสูงใหเขามาใหการสนับสนุน สงเสริม จูงใจ ในงานดานความ
รับผิดชอบตอ สังคมอยางเปดเผยและโปรงใส

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 76 
- อธิบายและใหเจาหนาที่ทุกระดับขององคกรเขาใจองคประกอบที่เกีย่ วของกับความ
รับผิดชอบตอสังคมขององคกรและแนวปฏิบัติดานจรรยาบรรณ พันธกิจ วิสัยทัศน และ
นโยบาย
- กระตุนใหเกิดการมีสวนรวม เชน สรางทีม และสนับสนุนการมีสวนรวมของพนักงานทุก
ระดับ
- จัดการประชุมใหขอมูล โดยใชผูเชี่ยวชาญทั้งภายนอกและภายในองคกร และกลุมผูม ี
สวนไดสวนเสีย
- ใหขอมูลแกเจาหนาที่ที่เปนฝายพัฒนารูปแบบกิจกรรมดานความรับผิดชอบตอสังคม ซึ่ง
งานนั้นจะตองเกี่ยวของตั้งแตจุดเริ่มตนของงานผลิตสินคาและบริการ โดยระบุระยะเวลา
ที่องคกรตองการกําหนดประเด็นความรับผิดชอบตอสังคมใหสาธารณะรับทราบ

องคกรจําเปนตองพัฒนาความสามารถภายในองคกร ซึ่งการจะบรรลุเปาหมายไดควรทําตาม
แผนการปฏิบตั ิงานดังนี้
- ระบุตวั บุคคลากรในองคกรหรือในเครือขายที่มีการติดตอกันอยู ที่มีความรูและ
ประสบการณในประเด็นที่องคกรเลือกที่จะทํา ตัวอยางเชน ผูเชี่ยวชาญทางดาน
สิ่งแวดลอมหรือดานการบริหารทรัพยากรมนุษย หรือที่ปรึกษาจากภายในขององคกรเอง
- ระบุตวั บุคคลากร ที่มักจะไดรับการสนับสนุนจากคนอื่นๆ ในการปฏิบัติงาน
- จัดการฝกอบรมโดยใชผูเชีย่ วชาญจากภายในและภายนอกองคกร
- เรียนรูถึงกรณีศึกษาทีเ่ ปนตัวอยางที่ดีที่สดุ และตัวอยางที่ไมดี จากองคกรอื่นๆ ในกลุม
ธุรกิจเดียวกัน
- สรางทีมงานที่มีบุคคลามาจากหนวยงานที่หลากหลายเพื่อใหเกิดการแลกเปลีย่ นความรู
- จัดการฝกอบรมเชิงปฎิบัตกิ ารเพื่อกระตุน ใหพนักงานเขาใจปจจัยแหงการสําเร็จ ในงาน
ของตน
- กระตุนใหเกิดความคิดสรางสรรคในการสรางกิจกรรม ผลิตสินคาและบริการ ทํางาน
ศึกษาวิจัย หรือพัฒนาผูเชี่ยวชาญ โดยเปดโอกาสใหทําโครงการนํารอง
- เปดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูและหารือรวมกันระหวางเจาหนาที่ขององคกร กับกลุมผูมีสวน
ไดเสีย ในเรื่องความสําเร็จของงานดานความรับผิดชอบตอสังคม

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 77 
กรอบที่ 22 จะเริ่มลงมือปฏิบัติงานในองคกร ขนาดกลางและขนาดยอมไดอยางไร

การเอาชนะปญหาและอุปสรรค
- ประเมินขอกังวลที่จะตัดสินใจเริ่มตน โดยเฉพาะอยางยิ่ง จากองคกรขนาดกลางและ
ขนาดยอม ที่จะตองทํางานดานความรับผิดชอบตอสังคมอยางเปนระบบ เชน การขาดเคลน
งบประมาณ บุคลากร เวลา และอื่นๆ
- ระบุสาเหตุของขอกังวล เชน ประสบการณที่ไมดีจาก ระบบงานราชการ ที่สงผลกระทบ
ตอการทํางานอยางมีประสิทธิภาพ ตนทุนของการออกใบอนุญาต การขาดความรู ในการระบุประเด็น
ปญหา และการขาดผูเชี่ยวชาญในองคกร

ปจจัยที่นํามาพิจารณา เพื่อหาทางเอาชนะปญหา
- เริ่มตนจากการเลือกประเด็นดานสังคม ขึ้นมาหนึ่งเรื่อง กําหนดเปาหมายในระยะสั้น ที่
คิดวาสามารถทําใหเกิดความสําเร็จ ใดในระยะเวลาอันรวดเร็วและกําหนดแผนปฎิบัติการ เพื่อบรรลุ
เปาหมาย
- ใหตระหนักวา จะมีผูเชีย่ วชาญมากกวาที่คาดหวังไวในองคกร ซึง่ จะทําใหเกิดมุมมองที่
หลากหลายในเรื่องความรับผิดชอบตอสังคม
- มองวาการรวมงานดานความรับผิดชอบตอสังคมจะเปนโอกาสในการปรับปรุงสินคาและ
บริการ กิจกรรม หรือความสัมพันธ กับกลุมที่มีสวนไดสวนเสีย และมองกระบวนการเหลานี้ เปน
โอกาสในการเรียนรู

7.5.3 การวางโครงสรางและทบทวนแผนปฏิบัติงานโดยอิงกับกลยุทธ
ในการบูรณาการกิจกรรมดานความรับผิดชอบตอสังคมเขากับการปฏิบัติงานประจํา เริ่มทํา
ไดโดย ทบทวนโครงสรางการปฏิบัติงานและปรับขยายโครงสรางการทํางานในสวนที่เกี่ยวของกับ
งานดานความรับผิดชอบตอสังคมตามความจําเปน โดยมีขั้นตอนดังนี้
- ระบุวธิ ีปฏิบัตงิ านที่เกี่ยวของกับผูมีสวนไดสวนเสียทั้งภายในและภายนอกองคกรโดยวิธี
ปฏิบัติงานมีสว นในการสนองตอบตอความเห็นที่ไดรบั จากกลุมเหลานั้น
- วางแนวทางในการพิจารณาผลงานและการใหรางวัล สําหรับความคิดสรางสรรค หรือ
การปฏิบัติงานที่ประสบความสําเร็จ และรวมเขาไปเปนสวนหนึ่งของการบริหารงานดาน
ทรัพยากรมนุษย
- มอบหมายความรับผิดชอบใหกับพนักงานแตละคนในทุกระดับขององคกรโดยใน
กระบวนการการตัดสินใจจะตองสนองตอบตอการดําเนินงานอยางมีความรับผิดชอบตอ
สังคม

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 78 
- ทบทวนถึงแนวทางการดําเนินงานและพฤติกรรมขององคกรเทียบกับแผนกลยุทธ และ
ปรับใหเขากันตามความจําเปน
- เลือกแนวทางการทํางาน ที่ใชวธิ ีตางๆ กันเชนการกระจายอํานาจความรับผิดชอบ หรือ
ใหการทํางานขึ้นกับสวนกลาง หรือใชทั้งสองแนวทาง
- ทบทวนผลที่เกิดขึ้นจากการที่ประเมินสาระในเนื้อหาทีเ่ ขียนไว

7.5.4 การวางเปาหมายของงานดานความรับผิดชอบตอสังคม
การวางเปาหมายของงานดานความรับผิดชอบตอสังคมที่ชัดเจน ควรใชแนวปฏิบตั ิดงั นี้
- นําเปาหมายระยะยาวและระยะกลางทีต่ ั้งไวมาแปลงเปนเปาหมายระยะสั้นในระดับ
ปฏิบัติงาน สําหรับการผลิตสินคาและบริการ วงจรของธุรกิจ หนวยงานและตัวบุคคลากร
- จัดลําดับความสําคัญของเปาหมายของงานดานความรับผิดชอบตอสังคม หาวิธีและวาง
มาตรการในการนําไปเปนแนวทางการปฏิบัติงานประจําวัน โดยพิจารณาใหเหมาะสม
กับความแตกตางกันในระดับภูมิภาค ระดับประเทศ และพื้นที่ในระดับทองถิ่น ให
ความสําคัญกับวัฒนธรรม ประเพณี ความตระหนักในเรื่องความแตกตางทางเศรษฐกิจ
- ระบุกิจกรรมและโอกาส เพื่อสามารถนําไปใชในระดับปฏิบัติงานใหไดมากที่สุด
- ระบุเรื่องของความเสี่ยงและแนวทางที่จะลดความเสี่ยงในระดับปฏิบตั ิงาน รวมทั้งการ
บริหารจัดการเพื่อรับมือในภาวะวิกฤติ
- กําหนดกรอบของระยะเวลาและงบประมาณ

การทํางานตามเกณฑของตัวชีว้ ัดที่สรางขึน้ จะเปนทางเลือกหนึ่งที่จะชวยในการกํากับดูแล


และสนับสนุนความพยายามขององคกรในเรื่องความรับผิดชอบตอสังคม

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 79 
กรอบที่ 23 ตัวชี้วัดดานความรับผิดชอบตอสังคม

เมื่อองคกรไดกําหนดวัตถุประสงคของแผนกลยุทธเรื่องความรับผิดชอบตอสังคมในระยะยาว
แลว เชน การลดปริมาณการใชทรัพยากรน้ํา หรือการเพิ่มปริมาณการซื้อสินคาจากคูคาที่เปนกลุม
สตรี องคกรควรกําหนดเปาหมายระยะสัน้ เชน ลดปริมาณการใชน้ําตลอดทั้งปลงรอยละ 10 โดย
เทียบจากปกอ น หรือเพิ่มรายชื่อผูผลิตทีเ่ ปนกลุมสตรีในรายชื่อที่ผานการพิจารณาและอนุมัติแลว อีก
3 รายในระยะเวลาที่กําหนดแนนอน เชน 2 เดือน
ทางเลือกอีกทางหนึ่งในการกํากับดูแลการดําเนินกิจกรรมดานความรับผิดชอบตอสังคมของ
องคกรคือระบุตัวชี้วัดที่เหมาะสม เพื่อรองรับเปาหมายที่ตั้งไว เชน วัดปริมาณน้ําที่ใชเปนแกลลอน
หรือลูกบาศกเมตร หรือ กําลังการผลิต หรือ รอยละของคาใชจายที่จะจายใหคูคาทีเ่ ปนกลุมสตรี

เกณฑการพิจารณาเพื่อกําหนดตัวชีว้ ดั
ตัวชี้วัดควรจะมีลักษณะดังนี้
- วัดในเรื่องที่องคกรสามารถควบคุมไดเพื่อใชในกระบวนการตัดสินใจที่จะชวยใหประสบ
ความสําเร็จตามวัตถุประสงคของแผนกลยุท และเขาถึงกลุมเปาหมายที่ตั้งไว
- ความเหมาะสม ในการเสนอเกี่ยวกับปริมาณการวัด ที่สอดคลองกับประเภทของขอมูลอัน
เปนที่ตองการของผูที่มีสวนไดเสีย
- ความเหมาะสมของขอบเขตและที่ตั้งของการดําเนินการขององคกร
- ความตั้งใจที่จะใหผูฟงเขาใจไดงาย
- เหมาะสมที่จะเปนเกณฑมาตรฐาน
- มีความนาเชื่อถือในการวัดขอมูลที่เปนตัวเลขหรือขอมูลอื่นๆ และอยูในระยะเวลาที่
ตองการ
- ความคิดในการทําตัวชีว้ ัดอาจมาจากคูมือ รวมทั้งจากรายงานเกี่ยวกับเรื่องความ
รับผิดชอบตอสังคมขององคกรประเภทเดียวกัน และจากแหลงขอมูลอื่นๆ

ขอสังเกต องคกรไมจําเปนที่จะตองเลือกหรือกําหนดตัวชีว้ ัดที่ตองเปดเผยขอมูลสวนตัวหรือเรือ่ ง


ภายในองคกร หรือไดรับความคุมครองทางดานกฎหมายจากการเปดเผยขอมูล นอกจากนี้ ตัวชีว้ ัด
ไมควรเปนภาระในการวัดและรายงานผล

ประเภทของตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดมีหลายประเภทดังนี้
- แสดงในรูปของตารางทีบ่ อกผลถึงการวัดในเชิงคุณภาพหรือจัดเรียงอันดับผลของการ
สํารวจ

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 80 
- ตัวชี้วัดที่บง บอกถึงสถานะเกี่ยวกับโครงการหรือชิ้นงานที่แบงแยกกันไดโดยสิ้นเชิง
- ตัวชี้วัดที่ใหขอมูลเปนคําอธิบายเชิงพรรณนาจะแสดงใหทราบถึงสภาวะหรือสถานการณ
- ตัวชี้วัดสามารถบงบอกทัศนคติ พฤติกรรม ความพยายาม หรือเงื่อนไขซึ่งในที่สุดอาจมี
ผลกระทบตอผลลัพธขั้นสุดทาย
- ตวชี้วัดแบบเดิมๆ ที่วัดกิจกรรมในการปฎิบัติงานขององคกร

หลักในการพัฒนาตัวชี้วดั
องคกรควรใหความสําคัญถึงหลักเกณฑทจี่ ะนํามาสรางตัวชี้วัด เชน การใหกลุมผูม ีสวนได
สวนเสียเขามามีสวนรวม ตัวชีว้ ัดที่สามารถนําผลมาเปรียบเทียบกันได การใหความสําคัญ ความ
ถูกตองแมนยํา ความนาเชือ่ ถือ กรอบระยะเวลา และความชัดเจน

แนวทางการปฏิบัติ
แนวทางโดยทั่วไปที่ใชกันคือ การมีตัวชีว้ ัดที่ใชประเมินคาสิ่งตางๆ ดังตอไป
- ปจจัยนําเขา (process input) ที่ใสเขาไปในกระบวนการปฏิบัติงาน เชน จํานวนผูฝกสอน
และงบประมาณการจัดอบรม
- ผลผลิต(process output) ที่เกิดจากกระบวนการปฏิบัติงาน เชน จํานวนผูที่ไดรับการ
ฝกอบรม
- ผลการดําเนินกิจกรรม (process performance) ทีท่ ําใหบรรลุผลสําเร็จ เชน จํานวนครั้งที่
ฝกอบรม
- ผลลัพธ (process outcomes) ที่เกิดจากกระบวนการปฏิบัติงาน เชน การลดการฝาฝน
มาตรฐานบําบัดน้ําเสีย การลดลงของคาปรับ และการลดลงของเหตุอันตรายในทีส่ าธารณะจากปที่
ผานมา

แนวทางอื่นทีอ่ งคกรอาจเห็นวาเปนประโยชนคือ การกําหนดตัวชีว้ ัดเปนกลุมซึ่งเปนการทํา


ใหการวัดเกิดความสมบูรณยิ่งขึ้น เชน ตัวชีว้ ัดที่วัดการปฏิบัติงานของหนวยงานแตละระดับในองคกร
เชน ระดับสํานักงานใหญหรือในระดับภูมิภาค ระดับของสิ่งอํานวยความสะดวก หรือวัดกระบวนการ
ทํางานที่มีขั้นตอนหลายขั้น หรือ วัดหนวยงานตางๆ ในหวงโซอุปทาน หรือวัดเพื่อสาเหตุและ
ผลกระทบ (cause and effect)

การนําเอาตัวชี้วัดที่หลากหลายมาผสมผสานกัน จะชวยใหการจัดทําแผนปฏิบัติงานมี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 81 
7.5.5 แผนปฏิบัติงาน เครื่องมือ และวิธีการนําไปปฏิบัติ
แผนการปฏิบตั ิงานชวยใหการดําเนินงานดานความรับผิดชอบตอสังคมเปนระบบ โดยใน
แผนจะระบุถึง
- การกําหนดกิจกรรมและการจัดลําดับการปฏิบัติงานโดยเลือกประเด็นดานความ
รับผิดชอบตอสังคม ที่มีความเกี่ยวของกับการดําเนินงานที่องคกรทําอยู หรือเกี่ยวกับ
ผลิตภัณฑ สินคา และบริการ
- กําหนดระยะเวลาของการปฏิบัติงานในระยะสั้น-ระยะกลาง-และระยะยาว โดยใหมีการ
เชื่อมโยงหรือรวมเขาไปกับกิจกรรมที่เปนสวนหนึ่งของแผนของการมีสวนรวมของกลุมผู
มีสวนไดสวนเสีย แผนการสื่อสาร การใหความรูและฝกอบรมพนักงาน หาวิธีการลด
ความเสี่ยงและผนวกกิจกรรมความรับผิดชอบตอสังคมใหสอดคลองกับการประเมินผล
ตามตัวชี้วัดทีก่ ําหนดขึ้นมา
- จัดสรรทรัพยากร เชน งบประมาน ทรัพยากรบุคคล ความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง
เทคโนโลยีและระบบขอมูล
- อธิบายวิธีการของการปฏิบตั ิงานและผลของการวัด

ในการทําแผนการปฏิบัติงานดานความรับผิดชอบตอสังคม ควรใชอุปกรณเครื่องมือเครื่องใช
ระบบงาน และเครือขายที่มอี ยูแลวเพื่อหลีกเลี่ยงการจัดสรรทรัพยากรที่ซ้ําซอนกัน

7.6 การสื่อสารงานดานความรับผิดชอบตอสังคม

7.6.1 ขอพิจารณา
การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ เกี่ยวกับความรับผิดชอบตอสังคมตอผูมีสวนไดสวนเสีย จะมี
ลักษณะดังนี้
- ทําใหเกิดการตระหนักถึงแผนงาน วิธีการปฏิบตั ิงานและปญหาที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับความ
รับผิดชอบตอสังคมภายในองคกร
- กระตุนใหเกิดการปรับปรุงเพื่อตอบสนองประเด็นหรือปญหาที่เกี่ยวกับความรับผิดชอบ
ตอสังคม
- นําไปสูการจัดทําแผน กําหนดกิจกรรมและวางบทบาทในการปฏิบตั ิงานที่เกี่ยวกับความ
รับผิดชอบตอสังคมใหตอบสนองตอความคาดหวังของผูมีสวนไดสวนเสีย
- สรางชื่อเสียงใหองคกรจากการทํากิจกรรมที่แสดงถึงความรับผิดชอบ การที่องคกรเปด
กวาง มีความจริงใจที่รับผิดชอบและสามารถตรวจสอบได จะชวยสรางความไววางใจ
และเชื่อมั่นตอกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 82 
- สามารถตอบสนองตอขอเรียกรองของนักลงทุน ผูบริโภคและกลุมผูม ีสวนไดสวนเสีย
เกี่ยวกับขอมูลของกิจกรรมดานความรับผิดชอบตอสังคมขององคกรซึ่งสามารถนํามาใช
ในการประเมินองคกรได
- เปนการแสดงใหเห็นถึงการปฏิบัตติ ามขอกฎหมายและขอบังคับอื่นๆ ขององคกร
- แสดงใหเห็นถึงการปฏิบัตติ ามคํามั่นขององคกรที่จะดําเนินงานดวยสํานึกความ
รับผิดชอบตอสังคมตามที่องคกรไดแถลงไว
- เปนการแสดงใหเห็นถึงกรอบการทํางานเพื่อใหเกิดความมั่นใจในความฉับไว และการ
ตอบสนองที่เพียงพอเมื่อเกิดเรื่องฉุกเฉินที่เกี่ยวของกับประเด็นการรับผิดชอบตอสังคม

การนําเสนอประเด็นความรับผิดชอบตอสังคม ควรมีความนาเชื่อถือในสายตาของกลุมผูมี
สวนไดสวนเสีย ดังนั้น เมื่อองคกรจะทําการสื่อสาร ควรจะปฏิบัติดังนี้
- ใชเครื่องมือและเทคนิคที่หลากหลายตามความเหมาะสม
- ควรทําอยางสม่ําเสมอและใหทันกับประเด็นที่เปนเรื่องเรงดวน
- บงบอกถึงกลุม เปาหมายในระยะสั้นละวัตถุประสงคในระยะยาว
- พิจารณาทั้งความสําเร็จและปญหาที่เกิดขึ้น
- เปดกวาง มีความโปรงใส ซื่อสัตยถูกตองตามหลักจริยธรรมและตอบสนองกับสิ่งที่
เรียกรองอยางสมเหตุสมผลของกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย โดยไมกระทบกับขอมูลที่เปน
ความลับ
- มีความสม่ําเสมอและสามารถเปรียบเทียบไดในทุกๆ ชวงระยะเวลา สามารถนําไปปรับ
ใช และนําไปกําหนดเปนเกณฑขั้นต่ําทีพ่ ึงมีในการดําเนินงาน และมีความสมเหตุสมผล
- มีความเปนไปไดสูง และสามารถลงมือปฏิบัตติ ามนัน้ ไดจริง
- เหมาะสมกับเวลา ชัดเจน กระชับ และสมบูรณตามวัตถุประสงคทตี่ องการ

7.6.2 ประเภทของการสื่อสารเรื่องความรับผิดชอบตอสังคม

7.6.2.1 การรายงานตอสาธารณะอยางสม่ําเสมอ
องคกรควรสื่อสารขอมูลที่เปนกิจกรรมและผลของการดําเนินงานดานความรับผิดชอบตอ
สาธารณะอยางสม่ําเสมอ เนื้อหาที่จะเปนขอมูลในรายงานมีดังนี้
- ขอมูลที่เปนประเด็นปญหาที่องคกรจัดใหเปนเรื่องสําคัญที่จะมีผลกระทบตอกลุมผูมีสวน
ไดสวนเสียหรือมีผลตอการตัดสินใจตอองคกร
- ขอมูลที่เกี่ยวกับการจัดการกับประเด็นปญหาที่ระบุไวในขอความ ในหัวขอที่ 6
โดยเฉพาะประเด็นปญหาทีก่ ลุมผูมีสวนไดสวนเสียตั้งความคาดหวังไว เวนแตวาประเด็น
ปญหาเหลานัน้ จะไมเกี่ยวของโดยตรงกับองคกรและกลุม ผูมีสวนไดสวนเสีย

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 83 
- ขอมูลที่เกี่ยวกับคูมือที่เปนแนวทางการปฏิบัติงาน กลยุทธ วัตถุประสงค เปาหมาย
ตัวชี้วัด เรื่องที่เปนประเด็นปญหา การลงมือปฏิบัติ ผลการดําเนินงาน ประเด็นที่อยูใน
ความสนใจและจัดเปนเรื่องที่สําคัญของกลุมผูมีสวนไดสวนเสียที่สอดคลองกับการ
ดําเนินงานขององคกร สินคา และบริการ
- ขอมูลที่แสดงใหเห็นถึงการปฏิบัติอยางมีความรับผิดชอบตอสังคมตามถอยแถลงที่มีตอ
บุคคลภายนอกและแนวปฏิบัติที่อยูใ นคูมอื การทํารายงานที่องคกรระบุไว
- ขอมูลที่เกี่ยวกับปญหาหรือประเด็นที่องคกรเห็นวาเปนเรื่องที่มีความสําคัญและระบุวามี
ความเกี่ยวของกับความรับผิดชอบตอสังคมขององคกร
- ความสําเร็จและขอจํากัดที่เกี่ยวกับความรับผิดชอบตอสังคมขององคกรและแผนการที่จะ
บรรเทาขอจํากัดนั้นๆ
- การดําเนินงานและกิจกรรมที่เกี่ยวกับประเด็นหลักทีจ่ ะเกี่ยวของกับเรื่องความรับผิดชอบ
ตอสังคม ตัวอยางเชนการปฏิบัตติ ามกฎระเบียบขอบังคับ ตัวชีว้ ัด โอกาสและความเสี่ยง
แนวความคิดใหมๆ และการจัดทําเนื้อหาของขอมูล
- ขอมูลที่เปนการผสมกันระหวางขอมูลตัวเลขกับขอมูลที่เปนการอธิบายเพื่อใหเห็นภาพที่
ชัดเจนและครบถวนของการดําเนินงาน

ขอมูลเหลานีอ้ าจจะทําเปนรายงานแยกตางหาก หรือรวมเขาไปกับรายงานเลมอื่น หรือ


สอดแทรกไปกับเอกสารอื่นๆ
ควรใหมีคณะทํางานจากภายในและภายนอกทําการสอบทานรายงานขอมูลที่ทําขึน้ มา
ตลอดจนกระบวนการทีท่ ําการรวบรวมขอมูลและการจัดทํารายงานเพื่อนําเสนอ เพื่อใหเกิดความ
นาเชื่อถือ ความถูกตองสมบูรณ และความเหมาะสมของรายงาน และอยางนอยขอมูลทั้งหมดที่อยูใน
รายงานควรจะผานการตรวจสอบจากบุคลากรในองคกรที่เปนอิสระไมขึ้นกับคณะผูจัดทํารายงานเพื่อ
รับประกันความมั่นใจ องคกรควรจะขอใหบุคคลภายนอก ที่เปนหนวยงานอิสระ หรือกลุมผูมีสวนได
สวนเสียชวยสอบทานเพื่อเปนการรับประกันความนาเชื่อถือดวย

7.6.2.2 สวนเพิ่มเติมของการสื่อสารเรื่องความรับผิดชอบตอสังคม
การเปดเผยขอมูลอื่นๆ ที่เปนไปตามความตองการขององคกรและผูมีสวนไดสวนเสีย และ
เกี่ยวของกับการรับผิดชอบตอสังคมอาจไดรับการรับรอง โดยทําการสื่อสารเรื่องเหลานี้เปนประจํา
อยางสม่ําเสมอหรือจัดทําเปนภารกิจเรงดวนทั้งนี้แลวแตตามความเหมาะสม ตัวอยางดังกลาวรวมถึง
- การสื่อสารกับฝายบริหารและลูกจางขององคกรเพื่อสรางความตระหนักในเรื่องความ
รับผิดชอบตอสังคมและกิจกรรมที่เกี่ยวของ
- การสื่อสารกับผูมีสวนไดสวนเสียใหรับรูถ งึ เรื่องแหลงขอมูลอางอิงเรื่องความรับผิดชอบ
ตอสังคมที่เกีย่ วของกับการปฏิบัติ สินคาและบริการขององคกร การอางอิงควรไดรับการ
ยืนยันจากบุคคลภายในองคกรวาเปนจริงโดยผานการตรวจสอบและการรับประกัน

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 84 
ความนาเชื่อถือจะเพิ่มขึ้นเมื่อขออางอิงเหลานี้ไดรับการตรวจสอบและการรับรองจาก
ภายนอก
- การสื่อสารตอคูคา ในเรื่องทีเ่ กี่ยวกับการจัดซื้อจัดจางที่เกี่ยวเนื่องกับการมีความ
รับผิดชอบตอสังคม
- การสื่อสารขณะที่อยูในเหตุการณที่องคกรเผชิญกับภาวะวิกฤต โดยมีขอบงชี้ถึงความ
รับผิดชอบตอสังคม
- การสื่อสารกับผูมีสวนไดสวนเสียในประเด็นที่เฉพาะเจาะจงหรือโครงการดานความ
รับผิดชอบตอสังคม

7.6.3 การวางแผนและเลือกรูปแบบของสื่อในการสื่อสาร
การวางแผนสามารถชวยเพิม่ ประสิทธิภาพและลดคาใชจายของการสื่อสารเกี่ยวกับความ
รับผิดชอบตอสังคม แผนเหลานี้สามารถระบุถึง
- ขอมูลที่จะตองนํามาสื่อสาร
- กลุมเปาหมายที่เปนผูรับฟงซึ่งก็คือผูมีสวนไดสวนเสียขององคกร
- สาเหตุและวัตถุประสงคของการสื่อสาร เชน เพื่อใหขอมูล ใหคําปรึกษา โตตอบหรือให
กลุมเปาหมายที่เปนกลุมผูม ีสวนไดสวนเสียเขามามีสวนรวม
- กลุมบุคคลจากภายนอกและภายในที่เปนผูที่จะสื่อสารดวย
- เวลาและความถี่ในการสื่อสาร
- ขอมูลที่เหมาะสมที่สุดที่จะสื่อสารใหเหมาะกับงานดวนหรืองานเฉพาะกิจ
- สื่อที่ใชในการสื่อสาร
- ประมาณการขนาดและความยาวของเอกสารในการสื่อสาร และจํานวนในการจัดพิมพ
ถานําเสนอโดยการพิมพ
- โครงสรางของเนื้อหาที่จะสื่อสาร เชน สวนตางๆ ของรายงานและเนือ้ หาของรายงานที่
เกี่ยวกับความรับผิดชอบตอสังคม
- การจัดลําดับเรียบเรียงเนื้อหาและกําหนดเวลาของการสื่อสาร ถามีการเรียบเรียงขึ้นมา
จากขอมูลหลายสวน
องคกรควรนําปจจัยตอไปนี้มาพิจารณาในการพัฒนาแผนงาน
- งบประมาณและแหลงขอมูลอื่นๆ ที่สามารถจัดหาได รวมทั้งการเขาถึงระบบการ
ใหบริการของมืออาชีพเพื่อชวยเหลือในการพัฒนาและ หรือปฏิบัตติ ามแผน
- ทําแผนการสื่อสารใหสอดคลองกับกลยุทธขององคกรและแผนการปฏิบัติงาน
- ระบุขอจํากัดของเวลา
- คํานึงถึงภูมิหลังดานวัฒนธรรม สังคม การศึกษา เศรษฐกิจและการเมืองของ
กลุมเปาหมาย ตลอดจนคานิยม ทัศนคติและความสนใจที่มี

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 85 
- ความคาดหวังของระดับการเขามามีสวนรวมของกลุมเปาหมาย เชน ใหขอคิดเห็นและ
ขอเสนอแนะเพื่อชวยในการตัดสินใจ หรือสื่อสารตอผูอื่น
- สามารถเขาถึงผูฟงที่เปนกลุมเปาหมายไดงาย
- ระดับของความนาเชือถือของขอความทีน่ ําเสนอ

เครื่องมือและเทคนิคทีใ่ ชในการสื่อสารขอความโดยตรง ผานทางสิ่งพิมพและสื่ออิเล็กโทรนิก


มีหลายอยาง เชน ตัวอยางรายงาน จดหมายขาว นิตยสาร โปสเตอร ปายโฆษณา แผนโปสการด
เว็ปไซด หรืออาจจะสื่อผานวิธีการอื่นๆ เชนการสัมภาษณ เขียนบทความ

กรอบที่ 24 ขอเสนอแนะในการลดตนทุนในการสื่อสาร

ขอเสนอแนะดังตอไปนี้ จะชวยในการลดตนทุนในการสื่อสารที่จะเปนประโยชนตอ องคกร


ขนาดกลางและขนาดยอม
- รวมขอมูลเขาไวกบั ชองทางการสื่อสารที่มีอยูในปจจุบัน เชน ผานทางจดหมายขาว
เอกสารสงออกรายไตรมาส หรือผานสื่ออิเล็กโทรนิกส
- จัดลําดับความสําคัญของขอความ ตัดทอนสวนที่สําคัญนอยกวาออกไป
- ขอความที่สื่อจะเปนสวนที่สําคัญที่สุด ดังนั้นควรใชคาใชจายนอยที่สุดในการนําเสนอ
ขอความอยางสวยงามตระการตา
- ความถี่ในการรายงานควรทําใหเหมาะสม ตัวอยางเชน ทํารายงานทุกๆ 2 ป แทนที่จะ
เปนรายป แตในขณะเดียวกัน มีการปรับปรุงหัวขอที่คดั เลือกใหทันสมัย ผานทางอินเตอรเน็ต
- ใชที่ปรึกษาที่เปนอาสาสมัครมาตรวจทานรายงาน โดยเนนไปทีห่ ัวขอที่ตองการจะ
ประเมินความนาเชื่อถือ ในประเด็นที่เห็นวาสําคัญทีส่ ุด
- ใชขอมูลทีเ่ ปนผลจากการดําเนินงานที่ผานการสอบทานและพรอมเผยแพร เชน รายงาน
ดานสิ่งแวดลอม รายงานดานความปลอดภัยและสุขอนามัย รายงานของแรงงานตางดาวตอหนวย
ราชการ เอกสารการบริจาคที่ทําสงสรรพากร ขอมูลการใชพลังงานทีเ่ กี่ยวของกับภาวะเรือนกระจก
หรือใบเสร็จรับเงินคาน้ํามัน คาน้ํา และคาใชจายอื่นๆ ที่ระบุไว
- ใชคูมือสําหรับการสื่อสารงานดานความรับผิดชอบตอสังคมที่จัดทําไวโดยเฉพาะสําหรับ
องคกรขนาดกลางและขนาดยอม
- เลือกพื้นที่เปาหมายในการเผยแพรขาวสารใหแคบลง และขยายขอบเขตเปนครัง้ คราว
- ใหพนักงานในองคกรเขามาชวยวางแผนและเตรียมการจัดทําขอมูลขาวสาร หรือขอความ
ชวยเหลือจากผูเชี่ยวชาญมืออาชีพจากภายนอก ที่ประสงคจะใหความอนุเคราะหโดยไมคิดคาใชจาย
หรือติดตอผานสมาคมวิชาชีพดานสื่อ

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 86 
7.6.4 การสานเสวนากับกลุมผูมีสวนไดสวนเสียในเรื่องการสื่อสารขอมูลขององคกรดาน
ความรับผิดชอบตอสังคม
องคกรควรทําการสานเสวนากับกลุมผูมีสว นไดสวนเสียเพื่อ
- ประเมินเนื้อหาที่จะสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ เลือกสื่อ ความถี่ และกรอบของการ
นําเสนอ เพื่อที่จะไดทําการปรับปรุงตามความเหมาะสม
- จัดลําดับความสําคัญของขอความที่จะสือ่ สารในอนาคต
- ทําใหกลุมผูมสี วนไดสวนเสียและกลุมบุคคลภายนอกทัว่ ไปเกิดความมั่นใจในขอมูลที่
รายงาน
- ระบุกรอบและหลักเกณฑของแนวปฏิบัตทิ ี่ดี

7.7 การประเมินผลการดําเนินงานดานความรับผิดชอบตอสังคม

7.7.1 ขอพิจารณา
องคกรควรสรางความนาเชือ่ ถือและแสดงถึงความมีประสิทธิภาพของกิจกรรมดานความ
รับผิดชอบตอสังคม โดยทําการประเมินผลอยางสม่ําเสมอ ซึ่งจะเนนไปที่ผลที่เกิดขึ้นจากกิจกรรม
เพื่อจะนําไปปรับปรุง อยางไรก็ดี หากผลของการประเมินถูกเก็บไวเปนความลับหรือใชแตภายใน
องคกร คุณคาของการประเมินก็จะนอยลงไป และถาไมมีการเผยแพรการวัดผลของกิจกรรมใหแกคน
ทั้งภายในและภายนอกองคกร ก็จะเปนการปดกั้นการเรียนรู ไมสงเสริมใหเกิดการพัฒนา หรือการ
แลกเปลีย่ นประสบการณทไี่ ดรับระหวางกัน
การเปดเผยผลการประเมินกิจกรรม จะเปนการชวยใหกลุมผูมีสวนไดสวนเสียเกิดการเรียนรู
ไปดวย และจะปนการสรางความไววางใจระหวางองคกรและกลุมผูม ีสวนไดสวนเสีย ความไววางใจ
จะนําไปสูความนาเชื่อถือ นอกจากนี้ ควรใหกลุมผูมสี วนไดสวนเสียเขามามีสวนในการประเมินและ
ทบทวนกิจกรรมที่กําลังดําเนินอยู โดยผานการจัดประชุมกลุมยอย และรับฟงขอเสนอแนะ และแจง
กลับไปยังองคกรเพื่อรับทราบถึงโอกาสและความเสี่ยง ความเห็นและขอเสนอแนะจากกลุมผูมีสวนได
สวนเสีย จะมีคุณคาตอองคกรมากในการกําหนดพันธกิจ วิสัยทัศน นโยบาย แนวปฏิบัติดาน
จริยธรรม และการทบทวนวัตถุประสงค และเปาหมายของงานดานความรับผิดชอบตอสังคม

7.7.2 การกํากับดูแลเพื่อขับเคลื่อนใหเกิดการปฏิบตั ิงาน


องคกรควรทบทวนผลการดําเนินงานดานความรับผิดชอบตอสังคม ตามกรอบที่วางไวใน
ชวงเวลาที่กําหนดอยางสม่ําเสมอ และคอยติดตามตรวจตราการปฏิบัติงานของกิจกรรมนั้นๆ ควรจะ
สื่อสารขอมูลโดยใชวธิ ีที่เหมาะสมไปยังกลุม ผูมีสวนไดสวนเสียและสาธารณะ นอกจากนี้ควร
ตรวจสอบความสมบูรณ ความถูกตอง และความเชื่อถือไดของขอมูล ควรมีการจดบันทึกและการ
ติดตามตรวจสอบได

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 87 
ในการรวบรวมขอมูลและตัวเลข องคกรอาจจะประสบปญหา เชน คาใชจาย การไดรับขอมูล
สํารวจกลับคืน และความถูกตองของขอมูล ดังนั้น องคกรควรทําการประเมินคาใชจาย และ
ทรัพยากรที่ลงไป โดยเปรียบเทียบกับประโยชนที่ไดรบั จากการรวบรวมขอมูล
การติดตามเพือ่ ขับเคลื่อนการปฏิบัติงาน ควรรวมกิจกรรมที่เกี่ยวกับความรับผิดชอบตอ
สังคม และหาวิธีในการวัดผลใหได การวัดผลของวัตถุประสงคบางขอนั้นยากที่จะทํา เชน การหา
ขอมูลเรื่องการติดสินบน อาจใชวธิ ีการใหกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย เชน องคกรพัฒนาเอกชน หรือ
หนวยงานในทองถิ่น เขามาชวยสอบทานการปฏิบัติงานใหเปนไปตามระเบียบขอบังคับหรือตาม
กฎหมาย ก็เปนจุดเริ่มตนในการวางแนวปฏิบัตินใี้ หครอบคลุมยิ่งขึ้น
ในกระบวนการของการชวยผลักดัน ควรดูผลจากการปฏิบัติงานโดยเทียบกับถอยแถลงที่
องคกรใหไวในการทํางานดานความรับผิดชอบตอสังคมและเทียบกับตัวชีว้ ัดที่ตงั้ ขึ้นตามลักษณะและ
ประเภทขององคกร และดูในเรื่องที่เปนประเด็นที่ยังคลุมเครือในการที่จะเจาะจงในเรื่องความถูกตอง
ในมุมมองขององคกรและกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย
องคกรควรใหกลุมผูมีสวนไดสวนเสียเขามามีสวนในการสอบทานงานดานความรับผิดชอบ
ตอสังคมเปนชวงๆ ตัวอยางเชน การจัดเวทีเสวนา และการตรวจสอบ และควรใชผูตรวจสอบอิสระ
หรือบุคคลภายนอกเขามาตรวจรับรองความถูกตองสมบูรณของขอมูลที่รวบรวมมา ในขั้นตอนของ
การสอบทานการบริหารจัดการ เพื่อใหเกิดความมั่นใจยิ่งขึ้น นอกจากนี้ กลุมผูมีสวนไดสวนเสียควรมี
สวนรวมในเชิงสรางสรรคถา มีความมั่นใจในขอมูลที่นําเสนอ
องคกรควรจะรวบรวมขอมูลและจดบันทึกกิจกรรมดานความรับผิดชอบตอสังคมที่ทําไป
รวมทั้งผลทีเ่ กิดขึ้น เพื่อใหฝายบริหารใชในการสอบทาน ขอมูลควรจะรวมถึงความสําเร็จของผลของ
งานดานความรับผิดชอบตอสังคมในประเด็นหรือหัวขอที่สําคัญๆ ทีเ่ ลือกและไดทาํ ไป อยางไรก็ดีควร
กลาวถึงประเด็นหรือหัวขออื่นๆ ที่ไมไดจัดใหอยูในลําดับสําคัญตนๆดวย

7.3.3 ทางเลือกในการปรับปรุง
วัตถุประสงคของการสอบทานของฝายบริหาร คือการระบุกิจกรรมที่เกี่ยวกับความรับผิดชอบ
ขององคกร วัตถุประสงค การจัดสรรทรัพยากร เปาหมายและแผนปฏิบัติงาน โดยองคกรจะไดรับ
ประโยชนจากการจัดตั้งคณะทํางานเพื่อทําการตรวจสอบ
องคกรควรมีการกําหนดการวัดผลและประเมินอยางเหมาะสม ถาไมไดมีการปฏิบัตติ ามถอย
แถลง วัตถุประสงค และกลุม เปาหมาย องคกรควรจดบันทึกสิ่งเหลานี้ เพื่อใหเกิดการเรียนรูอยาง
ตอเนื่อง
ผลจากการสอบทานของฝายจัดการควรสือ่ สารไปยังกลุม ผูมีสวนไดเสียขององคกร องคกร
เอง ควรจะสื่อสารผลตอบรับจากผูมีสวนไดเสียภายในระยะเวลาทีเ่ หมาะสมไปยังสาธารณะ

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 88 
กรอบที่ 25 ประเภทของการสอบทานเอกสารรายงาน

การสอบทานเอกสารมีหลายวิธขี ึ้นอยูกับประเภทและขนาดขององคกร ซึ่งสามารถหาขอมูล


ไดจากแหลงตอไปนี้
- การจดบันทึกตัวชีว้ ัดผลการดําเนินงานที่วัดในชวงเวลาทีส่ ม่ําเสมอ ตัวอยางเชน การให
คํามั่นขององคกรตอการปฏิบัตติ ามกฎหมายที่เกี่ยวของ
- ผลจากการตรวจสอบดานสิ่งแวดลอม
- ผลจากการตรวจสอบคูค าในหวงโซอุปทาน
- ผลจากการประเมินพฤติกรรมดานจริยธรรม หลักธรรมาภิบาล และกิจกรรมอื่นๆ
- การประเมินผลกิจกรรมดานความรับผิดชอบตอสังคม ทั้งดานที่สําเร็จและลมเหลว
- การจดบันทึกคํารองเรียนจากพนักงาน ลูกคา องคกรโดย ประชาชนทั่วไปและอื่นๆ
- การสํารวจความพึงพอใจของพนักงานและลูกคา
- เอกสารที่เกี่ยวกับการยอมรับของสาธารณะชนตอองคกร เชน หนังสือพิมพ
- ผลของการประเมิน ดานการปฏิบัตติ ามขอบังคับ คูมือ และมาตรฐาน ตามที่องคกรไดให
คําอธิบายไว

รางมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม 89 

You might also like