You are on page 1of 3

www.thaihvac.

com

ทําอยางไรเมื่อแอรไมเย็น
จักรพันธ ภวังคะรัตน
วิศวกรเครื่องกลอาวุโส
บริษัท เอ็นไวรอนเมนตอล เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนส จํากัด
ที่มา : วารสารเทคนิค ฉบับที่ 173

ในชวงฤดูรอน ปญหาที่มีมารบกวนใจเจาหนาที่ฝายชางของอาคารตางๆมากที่สุดคือ การไดรับ


โทรศัพทแจงวาแอรไมเย็น “ฮัลโหล ฝายชางใชไหมคะ ตอนนี้แอรไมเย็นเลย หองทํางานทาน
ประธานฯรอนจะแยอยูแลว ชวยขึ้นมาดูเดี๋ยวนี้ไดไหม” เสียงตามสายแจงแอรไมเย็นมักจะมีอารมณไม
เย็นแฝงมาดวย เพราะอากาศรอบๆตัวก็ไมเย็น แถมยังโดนเจานายอารมณเสียใสอีกตางหาก

เมื่อไดรับแจงปญหาแอรไมเย็น สิ่งที่ชางเกือบทุกคนดูเปนสิ่งแรกคือ เทอรโมสตัทตั้งไวถูกตอง


หรือไม ถาตั้งไวสูงเกินไป ก็ปรับลดลงมาก็เปนอันหมดปญหา แตสวนใหญแลวจะไมโชคดีอยางนั้น
เพราะเทอรโมสตัทมักจะตั้งไวถูกตองอยูที่ 23-24 องศาเซลเซียส (หรือต่ํากวา) แตอุณหภูมิในหองก็
ยังสูง 29-30 องศาเซลเซียสอยู มาถึงตอนนี้ ชางเกือบรอยทั้งรอย ก็จะตั้งเทอรโมสตัทต่ําลงไปอีก
บางทีก็บิดกันจนสุด โดยมีความหวังเล็กๆนอยๆวามันจะชวยใหเย็นขึ้นบาง แตสวนใหญแลวมันจะไม
ชวยอะไร เพราะถาเครื่องแอรปรกติดีอยูก็จะตองทําความเย็นตามที่ตั้งไวเดิมไดอยูแลว ไมตองมาตั้ง
กันลงไปอีก

ถาทานเคยพบปญหาลักษณะนี้ บทความนี้อาจชวยทานได ในการตรวจสอบไปทีละขั้นทีละตอน


เพื่อใหรูแนวาปญหาแอรไมเย็นเกิดจากอะไรกันแน แลวจะไดแกปญหาไดถูกจุด เหมือนกับเกาไดถูก
ที่คัน

การแกปญหาแอรไมเย็น
1. ตรวจสอบอุณหภูมิลมจาย
2. ตรวจสอบปริมาณลมจาย

เมื่อพบปญหาแอรไมเย็นใหเริ่มตรวจสอบดังนี้

1. ตรวจสอบอุณหภูมิลมจาย

การตรวจสอบอุณหภูมิลมจายทําโดยใชเทอรโมมิเตอร ถาจะใหดีควรเปนแบบดิจิตอล ซึ่งจะวัดได


แมนยําและรวดเร็วกวา ทําการวัดโดยวัดใหใกลกับหนากากจายลมเย็นใหมากที่สุด ถาจะใหดีควรยื่น
เขาไปวัดในหนากากจายลมเลย แตตองระวังไมใหหัววัดสัมผัสกับหนากาก

(1.1) ถาวัดได 10 – 15oC ถือวาปกติ

(1.2) ถาวัดไดสูงกวา 15oC ถือวาสูงผิดปกติใหตรวจสอบดังนี้

1.2.1 ทั่วไป

• ตรวจสอบวามี Fresh Air เขามามากเกินไปหรือไม


• ตรวจสอบวาทอลมกลับรั่วและดูดลมรอนเขามาหรือไม

1
www.thaihvac.com

• ตรวจสอบวาในชองฝา หรือในจั่วมีรอยรั่วใหลมรอนเขามาไดหรือไม ในกรณี


ดูดลมกลับเหนือฝา

1.2.2 แอรแบบ Split Type

• ตรวจสอบวาน้ํายาหมดหรือไม
• ตรวจสอบวาคอยลเย็นและคอยลรอนสกปรกหรือไม
• ตรวจสอบวามีสิ่งกีดขวางทางระบายลมรอนหรือไม
• ตรวจสอบวาลมรอนถูกดูดยอนกลับหรือไม

1.2.3 แอรแบบน้ําเย็น

• ตรวจสอบอัตราไหลน้ําเย็นวาตรงตามขอกําหนดหรือไม (ปกติจะตองการ 2.4


GPM / ตัน)
• ตรวจสอบอุณหภูมิน้ําเขาเครื่องวาสูงกวาขอกําหนดหรือไม (ปกติจะมีคา 45
o
F)
• ตรวจสอบวาคอยลสกปรกหรือไม

หากตรวจสอบตามรายการดานบนแลวไมพบสิ่งผิดปกติ ก็อาจเปนไปไดวาเครื่องแอรมีขนาดทําความ
เย็นไมเพียงพอ หรือเครื่องแอรมีขนาดเล็กเกินไปนั่นเอง ทั้งนี้ขอใหตรวจสอบปริมาณลมจายในขอ
ถัดไป และแกไขใหมีลมจายมากขึ้น ก็อาจจะทําใหหองเย็นขึ้นไดหากเครื่องแอรมีขนาดเล็กเกินไปไม
มากนัก

2 ตรวจสอบปริมาณลมจาย

การวัดปริมาณลมจายทําโดยวัดความเร็วลมแลวนําไปคูณกับพืน้ ที่ของหนากากจายลม เครื่องวัด


ความเร็วลมมีหลายแบบแตสวนใหญจะใชเครื่องแบบใบพัด ซึ่งมีความแมนยําและราคาไมแพง
สําหรับหนากากลมขนาดใหญควรวัดความเร็วลมหลายๆ จุด แลวนําคามาเฉลี่ยกัน สําหรับหัวจายลม
ติดเพดานจะสะดวกกวาถาทํากรวยไปครอบแลวตอคอลงมาถึงระดับที่วัดไดงาย

ปริมาณลม (CFM) = ความเร็วลม (FPM) x พื้นที่ (FT2)

2
www.thaihvac.com

(2.1) ตรวจสอบวาปริมาณลมวานอยกวาที่กําหนดในแบบหรือขอกําหนดหรือไม ถาไมมีแบบหรือขอ


กําหนดใหพิจารณาดังนี้

2.1.1 หองทั่วไป

ควรมีปริมาณลมจาย 15 ถึง 30 CFM/m2

2.1.2 หองติดริมกระจก

ควรมีปริมาณลมจาย 30 ถึง 40 CFM/m2

(2.2) เมื่อพบวาปริมาณลมจายนอยเกินไปใหตรวจสอบดังนี้

• ตรวจสอบวาแผงกรองอากาศอุดตันหรือไม
• ตรวจสอบวาความเร็วรอบของพัดลมต่ํากวาขอกําหนดหรือไม หรือตรวจสอบ
วาสายพานสลิปหรือไม
• ตรวจสอบวาลมไปออกหองอื่นๆ มากเกินไปหรือไม
• ตรวจสอบวามีทอลมรั่วตามตะเข็บรอยตอหรือไม
• ตรวจสอบวาทอลมออนฉีกขาดหรือไม
• ตรวจสอบวามีลมรั่วที่รอยตอระหวางคอหัวจายกับทอลมหรือไม

โดยทั่วไปแลวปญหาแอรไมเย็นมากกวา 90% จะเกิดจากปญหาอุณหภูมิลมจายสูงเกิน หรือปริมาณ


ลมจายนอยเกินไป หรือเกิดจากทั้งสองอยางพรอมกัน ดังนั้น เมื่อทําการตรวจสอบตามรายการขางตน
แลว ก็นาจะพบสาเหตุของปญหา และสามารถแกไขปญหาไดอยางถูกตองตอไป

You might also like