You are on page 1of 25

การเสนอหัวข้ อและโครงร่ างวิทยานิพนธ์ และ

การค้ นคว้ าแบบอิสระ (Thesis/IS Proposal)

โดย
นางสาววิภารัตน์ ชุมอินทร์
บัญฑิตวิทยาลัย
หลักสู ตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการงานวิศวกรรม มหาวิทยาลัยสยาม
ขัน้ ตอนการทำวิทยานิพนธ์ /การค้ นคว้ าแบบอิสระ

ชื่อเรื่อง
ปัญหาหรื อปัจจัยที่เป็ นแรงจูงใจทำให้
พนักงานลาออก กรณี ศึกษาบริ ษทั
ประกันภัยแห่งหนึ่ง

2/25
1. ความเป็ นมาและความสำคัญของปัญหา

โดย

3/25
2. กรอบแนวความคิด
ปัจจัยทางด้ านประ
ปัจจัยทีส่ ่ งผลต่ อ
ชากรศาสาตร์
•อายุ การตัดสิ นใจลาออก
•วุฒิการศึกษา ของพนักงาน
•รายได้ •ปัจจัยส่ วนบุคคล
•สถานภาพการสมรส •ปัจจัยด้านเพื่อนร่ วม
•ระยะเวลาในการปฏิบัติ งานและหัวหน้างาน
งานทีบ่ ริษทั •ปัจจัยด้านองค์การ
4/25
ลำดับหัวข้ อของโครงร่ างฯ
1. ชื่อและสกุล(ผู้เสนอ) (Name and Surname)
2. ชื่อเรื่อง Thesis/IS (Title)
2.1 ภาษาไทย (Thai)
2.2 ภาษาอังกฤษ (English)
3. หลักการ ทฤษฎี เหตุผล และ/หรือสมมติฐาน (Principle, Theory,
Rationale, and/or Hypotheses)
4. เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง (Literature review)
5. วัตถุประสงค์ ของการศึกษา (Purposes of the study)
5/25
6. ประโยชน์ ทจี่ ะได้ รับจากการศึกษาเชิงทฤษฎีและ/หรือเชิงประยุกต์
(Education/application advantages)
7. แผนดำเนินการ ขอบเขตและวิธีการวิจัย (Research designs, scope
and methods)

8. สถานทีท่ ใี่ ช้ ในการดำเนินการวิจัยและรวบรวมข้ อมูล (Location)

9. ระยะเวลาในการดำเนินการวิจัย (Duration)

10. เอกสารอ้ างอิง (References)


6/25
การตั้งหัวข้ อ Thesis/IS
“หัวข้ อเรื่องทีด
่ จี ะต้ องเป็ นหัวข้ อทีส่ ้ ั น แต่ สามารถบ่ งถึงสาระ
ของงานวิจัยนั้นอย่ างครบถ้ วน”

หลักเกณฑ์ ในการตั้งหัวข้ อ IS
1. ตั้งหัวข้ อให้ ตรงตามวัตถุประสงค์ ของงานวิจัย
การปรับปรุงรู ปแบบการเสริมไอโอดีนของกระทรวงสาธารณสุ ขในตำบลสะเมิงใต้
อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ ไม่ ตรงประเด็น

ผลสั มฤทธิ์ของการปรับปรุงการเสริมไอโอดีน..........
7/25
2. หัวข้ อต้ องสื่ อความหมายได้ ชัดเจน ไม่ ส้ ั นหรือยาวเกินไป

สั้ นเกินไป เมทริกซ์ เฉพาะขนาด 3


ยาวเกินไป ความสั มพันธ์ ระหว่ างการสนับสนุนทางการเรียน
ของผู้ปกครอง ทัศนคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ นิสัย
และทัศนคติในการเรียนกับผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน
วิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
ใช้ คำ “เปลือง” การเผชิญความเครียดของสตรีจีนทีเ่ ป็ นมะเร็ง
อวัยวะสื บพันธุ์สตรี
กว้ างเกินไป อาชีพเสริมของข้ าราชการครู จังหวัดลำปาง
8/25
3. ความสำคัญของการเรียงลำดับคำ
การเรียงลำดับคำ หากไม่ ถูกต้ อง ชัดเจน อาจทำให้ เข้ าใจ
ความหมายผิดไป เช่ น
ตัวอย่ างที่ 1
อิสมรรถภาพการผลิ
ทธิพลของไก่ พนื้ เมืตอและคุ
งและลูณกภาพเนื
ผสมต่อ้ อของไก่
สมรรถภาพการผลิ
พนื้ เมืองและลูตกและคุ
ผสมณภาพเนือ้
ตัวอย่ างที่ 2
Technical Efficiency of
forDendrobium
Cut Flower Production of Dendrobium
Orchid for Cut Orchid
Flower Production

ตัวอย่ างที่ 3
Mechanism of Suppression of Nontransmissible Pneumonia in
Induced
Mice
in Mice bybyNewcastle
Induced NewcastleDisease
DiseaseVirus
Virus
9/25
4. หัวข้ อภาษาไทยและหัวข้ อภาษาอังกฤษ ควรสื่ อ
ความหมายชัดเจนและสอดคล้องกันทั้งสองภาษา
หัวข้ อภาษาไทย ทุกคำจะต้ องเขียนเป็ นภาษาไทย หากคำนั้น
ไม่ มคำ
ี แปลหรือ ศัพท์ บัญญัติ ก็ให้ ใช้ ทบั ศัพท์ โดยใช้ เกณฑ์ ของ
ราชบัณฑิตยสถาน เช่ น
ฤทธิ์คลายกล้ ามเนือ้ หลอดลมของอนุพนั ธ์ ฟีนิลอัลเคน
Relaxant Effects of Phenylalkane Derivatives on Tracheo-
bronchial Muscles
ศัพท์ บัญญัตขิ องราชบัณฑิตยสถาน สามารถตรวจสอบได้ ใน
www.royin.go.th 10/25
- การเขียนชื่อภาษาอังกฤษของ ตำบล อำเภอ จังหวัด ให้ ใช้
หลักเกณฑ์ ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี/ราชบัณฑิตสถาน
ซึ่งจะใช้ การทับศัพท์ หรือศัพท์ ภาษาอังกฤษก็ได้ แต่ ต้องเลือกใช้
อย่ างใดอย่ างหนึ่งให้ สอดคล้องกัน เช่ น
Amphoe Mueang Chiang Mai
Amphoe San Sai, Changwat Chiang Mai
King Amphoe Mae On, Amphoe San Kamphaeng
หรือ San Sai District, Chiang Mai Province

11/25
ชื่อหัวข้ อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ควรจะต้ องสอดคล้ องกัน
ตัวอย่ าง
การทดสอบเครื่องยนต์ ขนาดเล็กในการใช้ งานระยะยาว โดยใช้
น้ำมันผสมเอทานอลชีวภาพเป็ นเชื้อเพลิง
Long-Term Tests of a Small Engine Fueled with Bio-
Ethanol Blends
การทดสอบเครื่องยนต์ ขนาดเล็กในระยะยาว โดยใช้ น้ำมันผสม
เอทานอลชีวภาพเป็ นเชื้อเพลิง

12/25
5. หัวข้ อทำหน้ าทีเ่ ป็ นเพียงฉลาก
- หัวข้ อเป็ นเพียงกลุ่มคำทีใ่ ห้ การสื่ อความหมายทีด่ ี ไม่ ใช่
ประโยคทีส่ มบูรณ์ จึงไม่ ควรกังวลเกีย่ วกับหลักไวยากรณ์
มากนัก
- หัวข้ อจะต้ องมี keyword ทีบ่ ่ งถึงเนือ้ หาของงานวิจัย
- การใช้ comma ในหัวข้ อ ใช้ ได้ เมือ่ จำเป็ น
Separation, Quality Control and Health Product
Development of Mucilage from Hairy Basil Seeds
13/25
6. หัวข้ อหลักและหัวข้ อรอง
ไม่ ควรตั้งหัวข้ อ แยกเป็ นหัวข้ อหลัก ตามด้ วยหัวข้ อรอง
ตัวอย่ างที่ 1
สมุ นไพรเพื
การใช้พืชสมุ่อนสุไพรชนิ
ขภาพ: การใช้
ดต้นไม้ตใน้ บเพื
ไม้ใ่อบเพื ่อรักษาโรคเบาหวาน
รักษาโรคเบาหวาน
ตัวอย่ างที่ 2
AThe Meaning
Buddhist of Death: AInterpretation
Philosophical Buddhist Philosophical Interpretation
of the Meaning of Death
หมายเหตุ หัวข้ อทีไ่ ด้ รับอนุมตั แิ ล้ ว อาจจะมีการแก้ ไขเพือ่ ความเหมาะสม
ในภายหลังอีกได้ โดยกรอกคำร้ องขอเปลีย่ นแปลง
14/25
หล ักการ ทฤษฎี เหตุผล และ/หรือสมมติฐาน

- ส่ วนนีเ้ ป็ นหัวใจของโครงร่ างฯ


- กล่ าวถึงประเด็นปัญหาทีน
่ ่ าจะทำการวิจัย ค้ นคว้ า หาคำตอบ
ในหัวข้ อทีต่ ้งั ขึน้ มา
- ระบุเหตุผลสำคัญทีป่ ระเด็นปัญหาของหัวข้ อวิจัยต้ องได้ รับ
การศึกษาค้ นคว้ า
- มีหลักการ ทฤษฎีหรือสมมติฐาน ใดบ้ างทีจ่ ะสนับสนุนเหตุผล
ทีเ่ ลือกทำวิจัยเรื่องนี้
15/25
แนวทางการเขียน
- เขียนในรูปแบบของการตอบคำถาม เช่ น
1. ประเด็นปัญหา หรือคำตอบทีต่ ้ องการค้ นหาคืออะไร ?
มีกปี่ ัญหา? ต้ องการกีคำ
่ ตอบ?
2. มีความจำเป็ นเพียงใดทีจ่ ะค้ นหาคำตอบดังกล่ าวฯ
ถ้ าไม่ ค้นหาจะเสี ยหายอย่ างไร? ถ้ าค้ นหาได้ แล้ วจะช่ วยให้
อะไรดีขนึ้ อย่ างไร?
3. การค้ นหาคำตอบนี้ ทำได้ อย่ างไร? ใช้ วธิ ีการใดบ้ าง?
16/25
4. มีหลักการ หรือแนวคิดใดทีน่ ่ าเชื่อว่ าใช้ วธิ ีการนี้ (ข้ อ 3)

แล้ วจะได้ คำตอบ?


5. มีสมมติฐานหรือทฤษฎีสนับสนุนโดยตรงหรือเทียบเคียง
ได้ บ้างหรือไม่ ?
6. มีปัจจัยใด ๆ เกีย่ วข้ องกับวิธีการค้ นหาคำตอบนีบ้ ้ างหรือไม่ ?
อย่ างไร?
สรุปแล้ ว ต้ องชี้ให้ เห็นประเด็นปัญหาของหัวข้ อวิจัยทีต่ ั้งขึน้ มา
ว่ าสมควรมีการศึกษาค้ นคว้ า โดยทีห่ ลักการหรื อแนวคิดทีนำ ่ เสนอ
มีความเป็ นไปได้ หรื อเป็ นไปตามหลักวิชาและวิธีการทีจ่ ะใช้ ศึกษา
ค้ นคว้ านั้นเหมาะสมแล้ ว 17/25
เอกสารและงานวิจ ัยทีเ่ กีย
่ วข้อง
ต้ องมีองค์ ประกอบอย่ างน้ อยสองส่ วน ได้ แก่
1. ส่ วนทีส่ รุ ปให้ ทราบถึงสถานภาพปัจจุบันหรือองค์ ความรู้ทมี่ อี ยู่ใน
ปัจจุบัน เกีย่ วกับประเด็นปัญหาของหัวข้ องานวิจัย เช่ น เคยมีใคร
ศึกษาค้ นคว้ าเพือ่ หาคำตอบในประเด็นนี้ หรือประเด็นใกล้ เคียง
มาแล้วบ้ าง? ใช้ วธิ ีการใด? และได้ ผลอย่ างไร?
2. ส่ วนทีส่ รุ ปสาระเกีย่ วกับระเบียบวิธี (methodology) หรือเทคนิค
ทุกๆวิธีทจี่ ะนำมาใช้ ในโครงการวิจัยนี้ ว่ าเคยมีใครใช้ วธิ ีการ/เทคนิค
ดังกล่าวมาแล้ วบ้ าง ภายใต้ ข้อจำกัดหรือเงือ่ นไขใดประยุกต์ กบั
ประเด็น ปัญหาใด มีขอบเขตของการศึกษาครอบคลุมเพียงใด และ
ได้ ผลอย่ างไร เป็ นต้ น 18/25
ประโยชน์ ของ literature review นอกเหนือจากทีก่ ล่ าวมาข้ าง
ต้ นนีแ้ ล้ว ยังช่ วยให้ เราทราบถึงแหล่งข้ อมูลต่ อเนื่อง สามารถขยาย
ผลต่ อไปได้ สามารถนำมาเปรียบเทียบ วิเคราะห์ อ้ างอิง กับงาน
วิจัยของเราได้ และช่ วยให้ สามารถหลีกเลีย่ งการศึกษาค้ นคว้ า
ซ้ำซ้ อนกับงานทีเ่ คยมีผ้ ูทำมาก่อนแล้ว

ึ ษา
ว ัตถุประสงค์ของการศก
ควรกำหนดวัตถุประสงค์ ให้ กระชับและตรงเป้ าทีส่ ุ ด วัตถุประสงค์
ของการศึกษาตามโครงการวิจัยเพือ่ วิทยานิพนธ์ จึงควรมีเพียงประการ
เดียว คือ เพือ่ ค้ นหาคำตอบของประเด็นปัญหาวิจัยนั้น
19/25
อย่ างไรก็ตาม โครงการวิจัยบางโครงการอาจมีวตั ถุประสงค์
สำคัญหลายประการ (แต่ กไ็ ม่ ควรหลากหลายนัก อย่ างมากทีส่ ุ ด
ไม่ น่าสู งถึงสามวัตถุประสงค์ ) ในกรณีเช่ นนีค้ วรระบุวตั ถุประสงค์
แยกเป็ นข้ อ ๆ โดยเรียงลำดับความสำคัญ
ประโยชน์ทจ ึ ษาเชงิ ทฤษฎี
ี่ ะได้ร ับจากการศก
และ/หรือเชงิ ประยุกต์

ควรระบุเป็ นข้ อ ๆ ว่ าหากผลการค้ นคว้ าวิจัยเป็ นไปตามทีค่ าด


หมายจะพึงมีประโยชน์ อะไรบ้ าง โดยเรียงลำดับความสำคัญ

20/25
แผนดำเนินการ ขอบเขตและวิธก
ี ารวิจ ัย
ควรระบุ วิธีการ/เทคนิค ทีจ่ ะใช้ ในการค้ นหาคำตอบของ
ประเด็นปัญหาวิจัย อาจระบุรายการวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ
วิธีการวิเคราะห์ การออกแบบ การทดลอง การเก็บรวมรวม
ข้ อมูล ฯลฯ ที่จำเป็ นต้ องใช้ ในโครงการ (ระบุฉพาะทีสำ่ คัญ
ไม่ จำเป็ นต้ องแจงรายละเอียด)
ขอบเขตของโครงร่ างฯทีพ่ งึ ระบุ อาจเป็ นขอบเขตเชิง
พืน้ ที่ เชิงเวลา เชิงสมบัตเิ ฉพาะ ของกลุ่มตัวอย่ าง/ข้ อมูลหรือ
อืน่ ๆ เพือ่ ให้ ชัดเจนว่ า สิ่ งทีเ่ สนอแนะจะทำในงานวิจัยนีค้ รอบ
คลุมแค่ ไหน 21/25
ควรกำหนดแผนดำเนินการ โดยประมาณ อาจแสดงในรู ป
ของตารางการทำงาน แสดงระยะเวลาของแต่ ละกิจกรรมย่ อย
ของโครงการ หรือในรู ปของ flow chart

ทีสำ
่ คัญคือ ต้ องมีความชัดเจน ต้ องสอดคล้ องกับหัวข้ อ
วิจัยและวัตถุประสงค์ เพราะเป็ นส่ วนทีค่ ณะกรรมการที่
พิจารณาจะใช้ เป็ นเครื่องตัดสิ นว่ ามีปริมาณงานเหมาะสมหรือ
ไม่ และวิธีการทีจ่ ะใช้ มคี วามเป็ นไปได้ เพียงใด เพือ่ การ
พิจารณาอนุมตั ิ
22/25
่ ใี่ ชใ้ นการดำเนินการวิจ ัยและ
สถานทีท
รวบรวมข้อมูล
หมายถึงภาควิชา และคณะทีส่ าขาวิชาสั งกัดอยู่ ในกรณี
ทีม่ กี ารดำเนินการนอกคณะหรือมหาวิทยาลัย เช่ น ต้ องมีการ
เก็บข้ อมูลนอกสถานทีห่ รือดำเนินการทดลอง หรือปฏิบัตใิ น
ห้ องทดลองอืน่ ๆ ก็ให้ ระบุสถานทีเ่ หล่ านั้นด้ วย
ระยะเวลาดำเนินการวิจ ัย
หมายถึง ระยะเวลาของทั้งโครงการ ประมาณการตั้งแต่
เริ่มปฏิบัตงิ านจนเขียนรายงานการค้ นคว้ าแบบอิสระแล้ วเสร็จ
ควรสอดคล้ องกับแผนดำเนินการทีร่ ะบุไว้
23/25
เอกสารอ้างอิง

ประกอบด้ วยรายละเอียดของรายการเอกสารทุกรายการ
ทีไ่ ด้ มกี ารอ้ างถึงในการเขียน proposal นี้ วิธีเขียนรายการ
เอกสารอ้ างอิง ควรเขียนตามรู ปแบบทีน่ ิยมใช้ ในสาขาวิชา
นั้น ๆ และควรใช้ เพียงรู ปแบบเดียว

24/25
25/25

You might also like