You are on page 1of 4

ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทย : Royal College of Surgeons of Thailand.

Page 1 of 4

เขาสูระบบ  Password o g
L in

 
ลืมรหัสผาน          

Home CPG Burn


 

Burn

แนวทางการรักษาพยาบาลผูปวยทางศัลยกรรม จัดทําโดย ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทย

สาขา : ศัลยศาสตรตกแตง
โรค : บาดแผลไฟไหม น้ํารอนลวก (Burns)

แนวทางการดูแลรักษาคนไขที่มีบาดแผลไฟไหม น้ํารอนลวก มีหลักการเหมือนกับการดูแลรักษาคนไขที่ไดรับการบาดเจ็บที่รุนแรง


คือ
      1. การประเมินสภาพทั่วไปในระยะแรก หลังจากที่ดับไฟที่ลุกไหมติดเสื้อผาคนไขและถอดเสื้อผาที่ไหมไฟ หรือเปอนของรอน
ออก
           1.1. รักษาใหมีทางเดินหายใจเปดโลง มีการหายใจไดปกติและประคับประคองระบบหมุนเวียนโลหิต คนไขที่มีบาดแผลไฟ
ไหมลึกบริเวณศีรษะและคอ อาจเกิดการอุดตันของทางเดินหายใจสวนบนไดในเวลาตอมา เนื่องจากมีการบวมของเยื่อบุของทาง
เดินหายใจ จึงควรพิจารณาใสทอชวยหายใจ (endotracheal tube) ในระยะแรกไมควรทํา tracheostomy นอกจากจะไมสามารถใส
ทอชวยหายใจได
           1.2. ตรวจรางกายเพื่อหาการบาดเจ็บของอวัยวะสวนอื่นๆ และใหการรักษาตามลําดับความรีบดวน
           1.3. สอบถามและบันทึกประวัติ วิธีการเกิดบาดแผลไฟไหม น้ํารอนลวก และสถานที่ซึ่งเกิดอุบัติเหตุ ถาเกิดไฟไหมภายใน
หองที่มีการระบายอากาศไมดี ตองคํานึงวาอาจเกิด inhalation injury รวมดวย
1.4. ตรวจดูบาดแผลไฟไหมในคนไข หลังจากถอดเสื้อผาออกหมด ประเมินดูความลึกและขนาดของบาดแผลที่คนไขไดรับ

      2. การประเมินบาดแผลไฟไหม น้ํารอนลวก การประเมินบาดแผลไฟไหม น้ํารอนลวก ใหประเมินจาก ความลึกของบาดแผล


และขนาดของบาดแผล ความลึกของบาดแผลไฟไหม แบงไดเปน 3 ระดับคือ
             ระดับแรก (First degree burn) ผิวหนังมีสีแดง, ไมมีถุงน้ําพองใส, มีอาการปวดแสบและกดเจ็บ
             ระดับที่สอง (Second degree burn) ผิวหนังมีถุงน้ําพองใสเกิดสขึ้น ถาผนังของถุงน้ําแตก จะเห็นผิวหนังสีชมพูหรือแดง
และมีน้ําเหลืองซึม, ขนจะติดกับผิวหนัง และมีอาการปวดแสบแผล ความยืดหยุนของผิวหนังยังปกติอยู
             ระดับที่สาม (Third degree burn) ผิวหนังจะถูกทําลายตลอดชั้นความหนาของผิวหนัง ซึ่งจะแหง, แข็ง, ไมมีความยืดหยุน,
เสนเลือดบริเวณ ผิวหนังอุดตัน, ขนหลุดจากผิวหนัง, ไมมีความรูสึกเจ็บปวด

ขนาดของบาดแผล ประเมินออกมาเปนเปอรเซนตของพื้นที่ผิวหนังทั่วรางกาย ทั้งนี้สามารถใชวิธีประเมินไดหลายวิธี ไดแก


       - ประเมินพื้นที่ 1 ฝามือของคนไขเทากับ 1% ของพื้นที่ผิวหนังของคนไข
       - ประเมินโดยอาศัย Rule of Nine (ในผูใหญ) ตามตารางที่ 1 แบงตามสวนตาง ๆ ของรางกาย
       - ประเมินโดยอาศัย Lund - Browder chart ตามตารางที่ 2

      3. แนวทางในการรักษา วิธีการรักษาแตกตางกันตามความรุนแรงของบาดแผลไฟไหม โดยอาศัยจากความลึก และขนาดของ


บาดแผลไฟไหมดังกลาวแลว โดยจําแนกแยกกลุมของคนไขออกเปน 3 กลุม คือ
           3.1. กลุมที่ไดรับบาดเจ็บไมรุนแรง หรือรุนแรงนอย สามารถใหการรักษาแบบคนไขนอกได ไดแกคนไขที่มีลักษณะตอไปนี้
                 3.1.1 First degree burn
                  3.1.2 Second degree burn ในเด็กที่มีขนาดของแผลนอยกวา 10% ของพื้นผิวของ รางกายทั้งหมด
                  3.1.3 Second degree burn ในผูใหญที่มีขนาดของแผลนอยกวา 15% ของพื้นผิวของ รางกายทั้งหมด
                  3.1.4 Third degree burn ที่มีขนาดของแผลนอยกวา 2% ของพื้นผิวของรางกายทั้งหมด
          3.2. กลุมที่ไดรับบาดเจ็บรุนแรงมาก ตองรับไวในโรงพยาบาล ไดแก
                  3.2.1 Second degree burn ในเด็กที่มีขนาดของแผล 10-15% ของพื้นผิวของรางกายทั้ง หมด
                  3.2.2 Second degree burn ในผูใหญที่มีขนาดของแผล 15-30% ของพื้นผิวของรางกาย ทั้งหมด
                  3.2.3 Third degree burn ที่มีขนาดของแผล 2-10% ของพื้นผิวของรางกายทั้งหมด
                  3.2.4 มีบาดแผลไฟไหมที่บริเวณใบหนา, มือ, เทา, บริเวณ perineum
                 3.2.5 มีบาดแผลเกิดจากไฟฟาช็อต, บาดแผลจากการสัมผัสกับสารเคมี, มี inhalation injury รวมดวยหรือสงสัยวาจะมี
                 3.2.6 มีโรคทางอายุรกรรมรวมดวย หรือ มีกระดูกหักบริเวณที่มีบาดแผลไฟไหม หรือ มีการบาดเจ็บของอวัยวะหลาย
อยางรวมดวย
          3.3. กลุมที่ไดรับบาดเจ็บรุนแรงในระดับอันตราย ควรรับไวรักษาในโรงพยาบาลที่มีศูนยดูแลรักษาคนไขไฟไหมน้ํารอนลวก
(Burn Center) โดยเฉพาะ ไดแกคนไขในกลุมตอไปนี้
                 3.3.1 Second degree burn ในเด็กที่มีขนาดของแผลมากกวา 15%ของพื้นผิวของรางกาย
                 3.3.2 Second degree burn ในผูใหญที่มีขนาดของแผลมากกวา 30% ของพื้นผิวของราง กาย
                 3.3.3 Third degree burn ที่มีขนาดของแผลมากกวา 10% ของพื้นผิวของรางกาย

หลักการในการดูแลคนไขบาดแผลไฟไหม น้ํารอนลวก
       มีหลักการอยูที่ การดูแลสภาพทั่วไป การสูญเสียน้ํา เกลือแร และโปรตีน การปองกันการติดเชื้อ รวมไปถึงการกําจัดเนื้อตายที่
เปนตนตอของเชื้อ การปองกันภาวะแทรกซอนเชน compartment syndrome การเสริมสรางภูมิตานทานของผูปวย และการปดบาด
แผล
       1. Aseptic technic หรือ aseptic precaution ในการดูแลบาดแผล
       2. Isolation ในกรณีบาดเจ็บระดับรุนแรงมาก และ ระดับอันตราย ซึ่งควรจะแยกคนไขออกจากคนไขประเภทอื่น หรือแมแตใน
กลุมผูปวยบาดแผลไฟไหม น้ํารอนลวกดวยกันเอง ก็ควรใหอยูเปนหอง ๆ แยกจากกัน บรรยากาศภายในหอง ควรจัดอุณหภูมิและ
การถายเทอากาศ ที่เหมาะสม ทุกคนที่ผานเขาออกควรลางมือทุกครั้ง ในการทําแผลคนไขแตละรายไมควรจะใชเครื่องมือปะปนกัน
       3. การใหยาปฏิชีวนะ ยาปฏิชีวนะที่สําคัญไดแก topical antibacterial agent สวนการใหยาปฏิชีวนะแบบ systemic ไมแนะนํา
ใหใชในระยะแรก แตใหเมื่อมีขอบงชี้เมื่อพบวาแผลมีการติดเชื้อที่มีอาการและอาการแสดง เมื่อพบรีบใหยาปฏิชีวนะพื้นฐานกอน
และเปลี่ยนชนิดเมื่อทราบผลการเพาะเชื้อแลว
       4. การกําจัดเนื้อตาย ซึ่งเปนตนตอของเชื้อ โดยเฉพาะเนื้อตายที่อยูที่แผลลึก ควรกําจัดออกแลวทําความสะอาด
       5. พยายามหาทางปดแผลใหเร็วที่สุดเทาที่จะกระทําได เชนการใช skin grafting

ตอไปนี้จะกลาวถึงแนวทางปฏิบัติโดยรวม ทั้งเกี่ยวกับการใหน้ําเกลือ การดูแลบาดแผล และอื่น ๆ ซึ่งเลือกวิธีปฏิบัติตามความ


เหมาะสมสําหรับความรุนแรง ในแตละระดับ

file://C:\Documents and Settings\Administrator.BUA\Local Settings\Temp\Framewor ... 29/11/2553


ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทย : Royal College of Surgeons of Thailand. Page 2 of 4

แนวทางปฏิบัติสําหรับการดูแลคนไขที่มีบาดแผลไฟไหมที่หองฉุกเฉิน
      แพทยที่ดูแลผูปวยที่หองฉุกเฉินควร สวมถุงมือที่ปราศจากเชื้อกอนที่จะจับตองหรือตรวจคนไข ถอดเสื้อผาที่คนไขสวมอยูออก
ใหหมด เพื่อจะไดสามารถทําการตรวจรางกายไดอยางละเอียด และเสาะหาการบาดเจ็บอื่นที่อาจเกิดรวมดวย แลวประเมินความ
รุนแรงของบาดแผลดังไดกลาวไวแลว

แนวทางปฏิบัติสําหรับคนไขที่มีบาดแผลไฟไหมขนาดความรุนแรงนอย
       สามารถใหการรักษาแบบคนไขนอกได โดยลางแผลดวยน้ําเกลือที่ปราศจากเชื้อ และถามีคราบเขมาติดแนน อาจใชสบูชวย
ลางออกได ถาผนังของถุงน้ํา ยังไมแตก ใหใชเข็มที่ปราศจากเชื้อเจาะและดูดเอาน้ําออก และเก็บผนังของถุงน้ําทิ้งไวเปน
biologic dressing หามถูแผลแรงๆ เพราะจะทําใหมีการบาดเจ็บ เพิ่มขึ้น หลังจากลางแผลแลว ใชผาที่ปราศจากเชื้อซับน้ําใหแหง
ใหยาปฏิชีวนะชนิดทาและใหยากันบาดทะยัก
       แผล Second degree burn ขนาดไมกวาง หลังจากลางแผลแลว ทายาลงบนแผล และปดทับดวย non adherent dressing
หรือปดแผลดวย biologic dressing เลย แลวใชผากอซหลายๆ ชั้นปดทับอีกครั้ง
       แผล Second degree burn ขนาดกวางมากกวา 3% หรือแผล Third degree burn ควรทาแผลดวย topical
chemotherapeutic agent แลวปดทับดวย non adherent dressing และ ผากอซหลายๆ ชั้น และควรเปดแผลดูและเปลี่ยน
dressing หลังจากนั้น 24-48 ชั่วโมง ถาแผลไมมีอาการ ติดเชื้อก็ทิ้งไวนาน 2-3 วัน จึงเปลี่ยนแผลอีกครั้ง ถาแผลไมหายเองภายใน
3 อาทิตยและมีขนาดใหญควรทํา skin graft
       เมื่อแผลหายดีแลวตองระวังไมใหถูกแสงแดด 3-6 เดือน และใชน้ํามันมะกอก (olive oil) ทาที่ผิวหนัง เพื่อลดอาการแหง
และคัน สําหรับแผลที่หาย โดยใชเวลามากกวา 3 อาทิตย หรือแผลที่หายหลังจากทํา skin graft แนะนําใหใช pressure garment
เพื่อปองกัน hypertrophic scar

แนวทางปฏิบัติสําหรับกรณีบาดเจ็บไฟไหมชนิดรุนแรง ที่ตองรับไวในโรงพยาบาล
การดูแลในชวงแรกรับที่หองฉุกเฉิน
       ตองแนใจวาคนไขมีทางเดินหายใจโลงสะดวกดี ใหอ็อกซิเจนแกคนไขโดยใช humidified Oxygen 40% ถาคนไขไดรับ
บาดแผลไฟไหมในหองที่ปดทึบ มีการระบายอากาศไมดี ใหประเมินวาคนไขมี inhalation injury หรือไม ถามีหรือสงสัยให
พิจารณาใสทอชวยหายใจ (endotracheal tube) แตควรเลี่ยงการทํา Tracheostomy ใหมากที่สุด
       แทงหลอดเลือดดําเพื่อใหน้ําเกลือดวยเข็ม plastic ขนาดเบอร 18 หรือขนาดใหญกวานี้ ควรเลือกผิวหนังสวนที่ปกติ ถาหา
หลอดเลือดดําไมได ควรแทง percutaneous central venous catheter ซึ่งถาจําเปนก็สามารถแทงผานบริเวณผิวหนังที่มีบาดแผล
ไฟไหมได ไมควรทํา venesection เพราะพบวามีโอกาสติดเชื้อที่แผลผาตัดไดงาย
       ให สารละลาย Ringer lactate solution โดยในชั่วโมงแรกเริ่มที่อัตรา 4 มล. ตอน้ําหนักของคนไข (กิโลกรัม) ตอเปอรเซนต
ของบาดแผลไฟไหม ใสสายสวนปสสาวะ เพื่อตรวจและวัดปริมาณปสสาวะ ถาคนไขไดรับ fluid เพียงพอ ควรจะมีปสสาวะประมาณ
0.5-1 มล. ตอน้ําหนักของคนไข (กิโลกรัม) ในระยะเวลา 1 ชั่วโมง
       ถาคนไขมีบาดแผลไฟไหมมากกวา 20% ของพื้นผิวหนังทั้งหมดของรางกาย ใหใสสาย nasogastric ไวดวย เพื่อ
decompress กระเพาะอาหารและใชสําหรับใหอาหารในเวลาตอมา
       ถาคนไขมีอาการปวดแผลมาก สามารถให Narcotics ไดในขนาดนอยๆ ทางหลอดเลือดดํา
       คนไขที่มีบาดแผลจากสารเคมีไหมผิวหนัง ตองรีบทําการลางเอาสารเคมีนั้นออกจากผิวหนังโดยเร็วที่สุด โดยใชน้ําปริมาณ
มากๆ เพื่อลดความรุนแรงจากสารเคมีทําลายผิวหนัง
       หาผา สะอาด เพื่อใหคนไขนอนและหม
       ถามีบาดแผลไฟไหมลึกรอบแขนหรือขา จะตองตรวจดูบริเวณปลายนิ้ววามีเลือดไปเลี้ยงเพียงพอหรือไม อาจตองพิจารณา
ทํา Escharotomy ถาพบวามีการบวมและขาดเลือดไปเลี้ยงของปลายนิ้ว ซึ่งตองทํากอนจะทําการยายคนไขไปยังโรงพยาบาลอื่น
บาดแผลไฟไหมที่ลึก บริเวณรอบทรวงอก จะทําใหการขยายตัวของทรวงอกลดลง ซึ่งจะตองทํา Escharotomy เพื่อใหคนไข
หายใจไดสะดวก
       คนไขที่ไดรับบาดแผลจากไฟฟาแรงสูง อาจมีกระดูกหัก หรือการเตนของหัวใจผิดปกติได ตองถายภาพรังสีสวนที่สงสัย
และตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจ (EKG) ดวย

การดูแลในชวง 24 ชั่วโมงแรกหลังจากอุบัติเหตุ
       แนะนําใหใหสารละลาย ringer lactate ในปริมาณ 4 มล.ตอน้ําหนักตัว (กิโลกรัม) ตอ % บาดแผลไฟไหม โดยแบงใหครึ่งหนึ่ง
ของปริมาณที่คํานวณไดใน 8 ชั่วโมงแรก และ อีกครั้งละ 1 ใน 4 ของปริมาณที่คํานวณได ในชวง 8-16 ชั่วโมง และ 16-24 ชั่วโมง
ตอมา ระหวางที่ให fluid นี้ ควรจะมีปสสาวะออก 0.5 - 1 มล./กก./ชม. คนไขที่มีบาดแผลไฟไหมมากกวา 40% และมีระดับอัลบูมิน
(Albumin) ในเลือดต่ํา อาจตองให plasma หรือสารละลาย Albumin รวมดวย ซึ่งมักจะใหหลังจากให fluid ไปแลว 8-12 ชั่วโมง
เพื่อใหมีปสสาวะออก เพราะการที่พบปสสาวะออกนอยมักจะเกิดจากการให fluid ทดแทนไมเพียงพอหรือวามี Albumin ต่ํา ทําให
intravascular osmotic pressure ลดลง

การดูแลในชวง 24-48 ชั่วโมงหลังจากประสบอุบัติเหตุ


       แนะนําใหให fluid ทดแทนตอในปริมาณรวมเทากับ maintenance fluid กับ evaporative water loss ปริมาณของ
maintenance fluid คํานวณไดจากสูตรดังนี้
       ให 100 มล./กิโลกรัม สําหรับน้ําหนักคนไข 10 กิโลกรัมแรก
       ใหเพิ่ม 50 มล./กิโลกรัม สําหรับน้ําหนักในสวน 11-20 กิโลกรัม
       ใหเพิ่มอีก 20 มล./กิโลกรัม สําหรับน้ําหนักสวนที่เกิน 20 กิโลกรัม
       ชนิดของสารน้ําที่ใหควรเปนชนิด low salt (มีปริมาณโซเดียม 25 มิลลิอิควิวาเลนท/ลิตร (mEq/L), คลอไรด 22 mEq/L
และโปแตสเซียม 20 mEq/L)
       สวนปริมาณของ evaporative water loss คํานวณใหตามเปอรเซนตของบาดแผลและน้ําหนักตัวในปริมาณ 1-2 ml/kg/%
burn
       ชนิดของสารละลายอาจใหในรูปของ 5% D/W (no salt) และให plasma 0.3-0.5 ml/kg/% burn หรือ 5% Albumin 1
gm/kg/day รวมดวย เพื่อชวยดึงน้ํากลับเขามาใน intravascular space

การดูแลในชวงที่เลย 48 ชั่วโมงหลังจากประสบอุบัติเหตุไปแลว
       แนะนําให fluid ทดแทนในปริมาณเทากับ maintenance fluid บวกกับ evaporative water loss
       ใหเลือดทดแทน เพื่อรักษาระดับฮีมาโตคริตใหอยูระหวาง 35-40%
       ให Albumin ทดแทนเพื่อใหไดคา Albumin > 3 gm%
       การ monitor คนไขในระหวางที่ให fluid resuscitation ใหพิจารณาตรวจวัดสัญญาณชีพ vital sign, sensorium, EKG
รวมถึงการตรวจ complete blood count, electrolyte, coagulogram และ blood chemistry ดวย
       ควรใหอาหารทางปาก หรือ ใหอาหารผานทางสาย nasogastric เมื่อระบบทางเดินอาหารเริ่มทํางานดีแลว สําหรับอาหารที่
ใหผานทางสายเริ่มที่ปริมาณและความเขมขนนอยๆ กอน แลวจึงคอยๆ เพิ่มทั้งปริมาณและความเขมขนจนถึงระดับที่ตองการ อาจ
ให peripheral parenteral nutrition รวมดวยในระยะแรก และควรพิจารณาเอา catheter ออกใหหมดโดยเร็วที่สุด เพื่อลดโอกาส
ติดเชื้อ ปริมาณแคลอรี่ที่คนไขบาดแผลไฟไหมตองการสามารถคํานวณไดตามสูตรดังนี้ Calories needed = [25 x Weight (kg)]
+ [40 x %burn] ปริมาณโปรตีน ที่ใหทดแทนควรจะไดประมาณ 25% - 30% ของปริมาณแคลอรี่ทั้งหมด ภาวะทองเสียหรือทอง
อืดในคนไขอาจเกิดจาก ความเขมขนของอาหารมากไป หรือ feed เร็วแบบ bolus dose หรือมีภาวะ sepsis ดังนั้นควรใหอาหารใน
ลักษณะของ continuous drip
       ตองให Vitamin และเกลือแรชดเชยในอาหารดวย

file://C:\Documents and Settings\Administrator.BUA\Local Settings\Temp\Framewor ... 29/11/2553


ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทย : Royal College of Surgeons of Thailand. Page 3 of 4

       พิจารณาใหยาปฏิชีวนะชนิด systemic ตามความเหมาะสมและเมื่อมีขอบงชี้


       ลางแผลดวยน้ําเกลือที่ปราศจากเชื้อ แลวใช topical chemotherapeutic agent ทาแผล ปดดวยผากอซหลายๆ ชั้น เพื่อดูด
ซับน้ําเหลือง ควรเปลี่ยนผาปดแผลวันละ 1-2 ครั้ง และตัดเนื้อตายที่บริเวณแผลทุกครั้งที่ทําแผล ใหยาแกปวดชนิด Narcotics
หรือ Ketamine กอนทําแผลทุกครั้ง ไมจําเปนตองวางยาสลบคนไขในขณะทําแผลทุกวัน
       คนไขที่มีบาดแผลลึกที่มีเนื้อตาย หรือมีลักษณะ eschar ควรทําการตัดออกตั้งแตระยะแรกเชนในวันที่ 2 หรือ 3 หลังไดรับ
บาดเจ็บ (แตอาจตองทําเร็วขึ้น ถาเห็นวาอาจมีปญหาจาก deep circumferential burn หรือ compartment syndrome) การตัด
eschar (escharectomy) แนะนําใหทําในลักษณะ tangential escision คือตัด eschar ออกไปบางสวนเทานั้น ซึ่งตางไปจากการทํา
fascial excision ที่จะตัดลงไปลึกถึงชั้น fascia และตัดเอาชั้นไขมันออกไปดวย การทํา escharectomy แนะนําใหทําในหองผาตัด
และวางยาสลบคนไข การตัดเนื้อเยื่อที่ตายออกไมควรทํามากในครั้งเดียว ควรแบงทําหลาย ๆ ครั้ง และดูแลไมใหมีเลือดออกหลัง
ทํา เมื่อตัดเนื้อตายออกหมดแลว ควรปดแผลดวย biological dressing จนกวาจะมี granulation
       บาดแผลที่มี granulation ดีแลว ใหพิจารณาปดแผลดวย skin graft เพื่อใหหายเร็วขึ้นและลดปญหาการติดเชื้อ

การดูแลบาดแผลเฉพาะที่
       บาดแผลไฟไหมบริเวณใบหนา ควรทาแผลดวย 1% chloramphenicol ointment และเปดแผลทิ้งไว ควรทายาบอยๆ วันละ
3-4 ครั้ง เพื่อไมใหแผลแหง ถาจะใชยาทา silver sulfadiazine ตองระวังอยาใหยาเขาตา
       ถาคนไขมีอาการเคืองตา ตองตรวจดูวามี corneal injury หรือไม ควรปรึกษาจักษุแพทยเพื่อประเมิน
       บาดแผลไฟไหมบริเวณหู ตองระวังอยาปดแผลกดทับหู ควรทาแผลดวย topical chemotherapeutic agent และอาจปด
แผลดวย fluffy, bulky dressing
       บาดแผลไฟไหมที่มือ หลังจากทายาแลวแนะนําใหปดแผลดวย bulky dressing และใส splint ในทา functional position
ยกมือและแขนสูงกวาระดับหัวใจ หลังจาก 72 ชั่วโมงไปแลว สามารถถอดเฝอกออกและเริ่มทําการบริหารกลามเนื้อบริเวณที่มีบาด
แผลตอ
       บาดแผลไฟไหมที่ขา หลังจากทายาและปดแผลดวย bulky dressing แลวใหยกขาสูง และ bed rest นาน 72 ชั่วโมง แลว
จึงเริ่มใหเดินได ถาไมมีแผลที่ฝาเทา
       บาดแผลไฟไหมที่บริเวณอวัยวะสืบพันธุ (genitalia) ใหเปดแผลทิ้งไวหลังจากทายาแลวโดยไมตองปด dressing และลาง
แผลและทายาใหมทุกครั้งที่ขับถาย
       บาดแผลที่ไมลึก โดยทั่วไปจะหายภายใน 3 อาทิตย ถาบาดแผลลึกจะมี eschar หนา จําเปนตองรีบตัด Eschar ออก มิ
ฉะนั้นจะมีการติดเชื้อเกิดขึ้น
       บาดแผลไฟไหมระดับลึกที่เปนรอบบริเวณแขนและขา จะตองตรวจดู perfusion ที่บริเวณปลายนิ้ว บอยๆ แนะนําใหประเมิน
ทุกครึ่งชั่วโมง ถาพบวา perfusion ไมดี จะตองรีบทํา escharotomy ทันที ซึ่งสามารถทําไดที่ขางเตียงคนไขโดยไมตองวางยา
สลบ แตจะตองดูแลหามเลือดจากแผลใหดีหลังทํา

การดูแลรักษาคนไขที่ถูกกระแสไฟฟาแรงสูงช็อต
       นอกจากจะใชหลักการเดียวกับการดูแลบาดแผลไฟไหมน้ํารอนลวกโดยทั่วไปแลว การใหสารน้ําทดแทนจะตองใหมากกวาใน
คนไขที่มีบาดแผลไฟไหมทั่วไป ถาปสสาวะมีสีโคลา แสดงวามีการตายของกลามเนื้อมากจนเกิด methemoglobinuria หรือ
myoglobinuria จะตองเพิ่มปริมาณ fluid ใหมากขึ้น เพื่อใหไดปสสาวะมากกวาปกติ คือประมาณ 1.5 มล./กก./ชั่วโมง (75-100
มล./ชั่วโมง) และจนปสสาวะมีสีใส อาจตองให Mannitol และ Sodium bicarbonate ดวย
       บาดแผลที่เกิดจากกระแสไฟฟาแรงสูง จะมีการทําลายเนื้อเยื่อใตผิวหนังมากกวาที่เห็น และมักจะเกิด compartment
syndrome ตามมา ดังนั้น มักจะตองทํา fasciotomy เสมอ การรักษาแผลควรจะรีบตัดเนื้อตายออกโดย เปดแผลใหยาวขึ้น และ
กลับมาตัดเนื้อที่ตายออก หลังจากการผาตัดครั้งแรก 48 - 72 ชั่วโมง แลวรีบทํา wound coverage ซึ่งสวนใหญจะตองใช flap มา
ปดแผล

การดูแลรักษาบาดแผลที่เกิดจากสารเคมี
      จะตองลางสารเคมีที่เปอนผิวหนังออก ใหมากที่สุด และใชเวลาลางนานพอสมควร เพื่อมิใหมีสารเคมีตกคาง ถามี antidote
พิจารณาใชรวมดวยหลังจากที่ลางดวยน้ําแลว สารเคมีบางชนิดมีการดูดซึมผานผิวหนัง อาจจะมี systemic toxicity ได การรักษา
แผลจะตองรีบตัดผิวหนังสวนที่ถูกทําลายชนิด full thickness ออก สวนการดูแลอื่นๆ ก็ใหการรักษาแบบแผลที่ถูกไฟไหม การให
fluid ทดแทนจะตองใหมากกวาคนไขที่มีแผลจากถูกไฟไหม เพราะอาจมีการทําลายของเนื้อเยื่อเพิ่มขึ้นจากเดิมได

ตารางที่ 1 การประเมินขนาดของบาดแผลไฟไหมน้ํารอนลวกโดย Rule of nines

%TBSA 
Body part Total (%)
(total body surface
area)
Head, anterior 4  total head = 9
Head, posterior 4   
Upper extremity,
4  (1 extremity = 9)
anterior
Upper extremity,
4  (2 extremities = 18)
posterior
Trunk, anterior 18  
Turnk, posterior 18 total trunk = 36
Lower extremity,
9 (1 extremity =18)
anterior
Lower extremity,
9 (2 extremities = 36)
posterior
Perineum 1 1
    100%

file://C:\Documents and Settings\Administrator.BUA\Local Settings\Temp\Framewor ... 29/11/2553


ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทย : Royal College of Surgeons of Thailand. Page 4 of 4

ตารางที่ 2 การประเมินขนาดของบาดแผลไฟไหมน้ํารอนลวก โดย Lund-Browder burn estimate chart and diagram.

Full
Birth- 1-4 5-9 10- 15 Partial
Area Adult  thickness Total
1 yr yr yr 14 yr yr thickness 2o
3o
Head 19 17 13 11 9 7      
Neck 2 2 2 2 2 2      
Anterior
13 13 13 13 13 13      
trunk
Posterior
13 13 13 13 13 13      
turnk
right
2  2  2  2  2  2       
buttock
Left buttock 2 2  2  2 2 2       
Genitalia 1 1 1 1 1 1      
Right upper
4 4 4 4 4 4      
arm
Left upper
4 4 4 4 4 4      
arm
Right lower
3 3 3 3 3 3      
arm
Left lower
3 3 3 3 3 3      
arm
Right thigh 2  2  2  2  2  2       
Left hand 2  2  2  2  2  2       
Right thigh 5  6  8 8  9 9       
Left thigh 5  6 8 8  9 9       
Right leg 5 5 5  6 6  7      
Left leg 5 5 5  6 6  8      
Right foot 3 3  3  3  3  3       
3
Left foot 3 3 3  3  3       
ฝ 

total      

Home | About us | Committee | Member | Newsletter | Webboard | Annual Meeting | Contact us

Copyright 2008 www.surgeons.or.th. All rights reserved

file://C:\Documents and Settings\Administrator.BUA\Local Settings\Temp\Framewor ... 29/11/2553

You might also like