You are on page 1of 11

เรื่องนารูเกี่ยวกับUPS http://www.ee.mut.ac.th/home/peerapol/semi_6.

htm

เรื่องนารูตางๆเกี่ยวกับ คุณภาพไฟฟา , ชนิดตางๆของ UPS และการเลือกใชงาน UPS ที่เหมาะสม

ลักษมณ กิจจารักษ
ภาควิชาอิเล็กทรอนิกส
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
luck@mut.ac.th

“ UPS ” เปนอุปกรณชนิดแหลงจายกําลังงานไฟฟาประเภทหนึ่ง ที่ชวยใหอุปกรณสามารถมีกําลังงานไฟฟาใช และ ทํางานไดอยางตอเนื่อง ซึ่งไดมีการออกแบบใช


งานมาเปนเวลานานแลว แตในสมัยกอนเราใชงาน UPS เปนอุปกรณเสริมพิเศษเพื่อแกไขคุณภาพกําลังไฟฟา ( Power Quality ) โดยมักจะมีการใชเฉพาะงานที่จําเปน เชน ใน
ระบบเครื่องมินิคอมพิวเตอร ในเครื่องมือแพทย ในเครื่องมือวัดเก็บคาที่ใชเวลานาน เปนตน และยังไมเปนที่รูจักแพรหลายมากนักเนื่องจากราคาสูง แตในปจจุบันซึ่งนับได
วาเปนยุคไอที ไดมีการใชงานเครื่องคอมพิวเตอรจํานวนมากในระบบบริษัท และ เครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคลตามบานกันมากขึ้น อีกทั้งปจจัยทางดานราคาที่คอนขางต่ํา
ของ UPS ในปจจุบัน ยิ่งสงเสริมใหความตองการใชงาน UPS มีเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นเมื่อพูดถึงคําวา UPS เรากลาวไดวาแทบจะไมมีใครที่ไมรูจัก แตสําหรับโครงสรางและการ
ทํางานของ UPS ยังไมเปนที่รูกันมากนัก สําหรับ UPS ที่มีขายในตลาดที่แทจริงแลวมี 2 ระบบใหญๆแบงตามลักษณะของแหลงกําลังงานคือ 1. โรตารี่ UPS ( Rotary
Uninterruptable Power Supply ) ซึ่งใชพลังงานจากแหลงน้ํามันเชื้อเพลิงเพื่อแปลงเปนพลังงานไฟฟา และ 2. สเตติก UPS ( Static Uninterruptable Power Supply ) ซึ่งมีแบตเตอรี่
เปนแหลงพลังงานไฟฟา
สําหรับบทความนี้เราจะพิจารณาถึง สเตติก UPS เทานั้น เนื่องจากเปนอุปกรณใกลตัวและมีการใชงานกันอยู ซึ่งมีหลายขนาด หลายยี่หอ อีกทั้งผลิตภายในประเทศ
และนําเขาจากตางประเทศ ทําใหมีราคาแตกตางกันไป ตลอดจนมีการออกสินคาใหมที่มีเทคนิคใหมๆออกสูตลาดเพิ่มขึ้นทุกวันทําใหผูซื้อมีทางเลือกมากขึ้น ในขณะเดียวกัน
ก็สรางความยุงยากในการตัดสินใจเลือกซื้ออยูไมนอย เนื่องจาก UPS ตางยี่หอกันตางก็ระบุคุณสมบัติ ( Specification ) พื้นฐานที่ใกลเคียงกันทั้ง อัตราวีเอ ( VA ) ระยะเวลาใน
การสํารองไฟฟา ( Back up Time ) และราคา เพราะเปนคุณสมบัติที่ผูซื้อเขาใจไดงาย ดังนั้นในการเลือกใชงานควรพิจารณาอยางไร จึงจะถูกตองตรงตามวัตถุประสงคของผู
ใช เนื่องจาก สเตติก UPS นั้นโดยแทจริงแลวสามารถแบงออกไดอีกหลายประเภท ตามลักษณะของรูปคลื่น และ โครงสรางการทํางาน ซึ่งจะเหมาะสมกับการใชงานกับ
อุปกรณ หรือ ในสภาวะไฟฟาที่แตกตางกันไป
เนื่องจากคุณสมบัติพื้นฐานของ UPS แตละรุนที่ผูผลิตแตละรายไดกําหนดออกมานั้นจะมุงเนนที่อัตรา วีเอ และ ระยะเวลาในการสํารองไฟ เปนหลัก ทําใหการ
เลือกซื้อ UPS เพื่อใชงานนั้น ผูซื้อสวนใหญจึงมักจะเขาใจวาควรพิจารณาจากคา อัตราวีเอ ระยะเวลาในการสํารองไฟ และราคาที่เหมาะสมก็เพียงพอ แตในความเปนจริง
แลวเมื่อนําไปใชงาน ผูใชบางทานอาจจะพบวา UPS ไมสามารถทํางานไดตรงกับความตองการ เชน จายกําลังงานไฟฟาไดไมเพียงพอ ไมสามารถปองกันสภาวะไฟกระชาก
ได เปนตน ดังนั้นเราควรรูจัก ชนิด โครงสราง และวิธีการทํางาน พอสังเขป เพื่อใหสามารถใชเปนความรูประกอบการตัดสินใจที่ถูกตองมากขึ้น ซึ่งในบทความนี้จะจําแนก
ชนิด และการทํางานของ UPS แตละแบบเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในการเลือกใชงานกับ เครื่องคอมพิวเตอร เครื่องเสียง ระบบไฟฟาสองสวาง ฯลฯ
กอนอื่นเราจะทําความเขาใจกับ เรื่องคุณภาพกําลังไฟฟา ( Power Quality )และปญหาที่เกิดขึ้นในระบบไฟฟา กอนเปนอันดับแรก จากนั้นเราจะทําความเขาใจเกี่ยว
กับ นิยาม หรือคําจํากัดความ บางสวนที่มีอยูในระบบการสํารองไฟฟาทั่วๆไปคือ เครื่องสํารองไฟฟา ( UPS ) อินเวอรเตอร ( Inverter ) อัตราวีเอ ( VA ) และ วัตต ( Watt )
ออน-ไลน ( On-Line ) ออฟ-ไลน ( Off-Line ) โหลด ( Load ) ระยะเวลาในการสํารองไฟ ( Back up Time ) เพื่อพิจารณาระบบ และการเลือกใช UPS ในการแกปญหา
คุณภาพกําลังไฟฟาตอไป

คุณภาพกําลังไฟฟา ( Power Quality )


คุณภาพกําลังไฟฟา เปนเรื่องของความแนนอนในการจายกําลังงานไฟฟาจากแหลงจายหลัก ( การไฟฟา ) นิยามของคุณภาพไฟฟาตามมาตรฐาน IEC และ IEEE จะ
มีความหมายถึง ลักษณะของกระแสและแรงดัน และความถี่ ของแหลงจายไฟในสภาวะปกติที่ไมทําใหอุปกรณ หรือ เครื่องใชไฟฟา มีการทํางานที่ผิดพลาด หรือ เสียหาย
ในปจจุบันเรื่องของคุณภาพกําลังไฟฟาเปนที่สนใจและนํามาพิจารณากันมาก เนื่องจากสาเหตุใหญๆ คือ กระบวนการผลิตของภาคอุตสาหกรรมมีการใชอุปกรณไฟฟาที่มี
เทคโนโลยีสูงซึ่งมีความไวในการตอบสนองตอคุณภาพกําลังไฟฟามากกวาในอดีต โดยเฉพาะอุปกรณประเภทอิเล็กทรอนิกสกําลัง , การเพิ่มขึ้นของอุปกรณไฟฟาในการ
ปรับ/เพิ่มประสิทธิภาพของระบบไฟฟา เชน การตอชุดตัวเก็บประจุ ( Capacitor Bank ) ซึ่งจะทําใหเกิดฮารมอนิกที่สูงมากขึ้นในระบบกําลัง , ระบบไฟฟาในปจจุบันมีการ
ตอเชื่อมโยงถึงกัน ถาสวนใดสวนหนึ่งของระบบมีปญหาหรือจายฮารมอนิกเขาสูระบบ จะทําใหอุปกรณ หรือระบบขางเคียงไดรับผลกระทบดวย , ตัวผูใชทราบถึงเรื่อง
ของคุณภาพไฟฟากันมากขึ้น เพราะมีผลกระทบตอการทํางานที่เปนอยู เปนตน
สําหรับปญหาที่เกิดขึ้นกับระบบไฟฟาที่ทําใหคุณภาพกําลังงานไฟฟาเสียไปนั้นเราอาจจะแบงแยกสาเหตุออกไดหลายรูปแบบเชน ปรากฏการณธรรมชาติ เชน ฟา
ผา ความผิดพลาดในระบบสงกําลังของแหลงจายไฟฟาหลัก การทํางานของอุปกรณ ประเภทสวิตชิ่ง ( Switching ) การทํางานของอุปกรณประเภทไมเปนเชิงเสน การตอ
กราวด ( Grounding ) ในระบบไมถูกตอง เปนตน เมื่อเกิดปญหาเกี่ยวกับคุณภาพของกําลังงานไฟฟาขึ้นยอมจะทําใหลักษณะของรูปคลื่น แรงดัน กระแส ตลอดจนความถี่
ของระบบไฟฟาเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งปญหาตางๆที่เกิดขึ้นเราเรียกรวมวาเปน “ มลภาวะทางไฟฟา ( Electrical Pollution ) ” ดังนั้นเราสามารถนิยาม และพิจารณาถึงมลภาวะทาง
ไฟฟาไดดังนี้

มลภาวะทางไฟฟา ( Electrical Pollution ) คือปรากฏการณที่เกิดขึ้นในระบบไฟฟา แลวทําใหเครื่องใชไฟฟา หรือ โหลด ไมสามารถทํางานไดอยางปกติ หรือ อาจเกิดปญหา
ใหโหลดเสียหายได โดย เราสามารถแบงมลภาวะทางไฟฟาที่เกิดขึ้นในระบบสายสงกําลังแบบ 220 โวลตอารเอ็มเอส ( VRMS ) ความถี่ 50 เฮิรตซ ( Hertz ) ออกตามลักษณะ
ได 10 ประเภทคือ

1. ไฟเกิน ( Over Voltage ) เปนสภาวะที่แรงดันไฟฟามีคาสูงเพิ่มขึ้นเปนระยะเวลานาน โดยอาจจะมีสาเหตุตางๆกัน เชน เกิดจากตําแหนงใชงานที่ใกลแหลงจาย

1 of 11 2/12/2553 8:09
เรื่องนารูเกี่ยวกับUPS http://www.ee.mut.ac.th/home/peerapol/semi_6.htm

ไฟฟา เกิดจากเครื่องกําเนิดไฟฟา เกิดจากการปลดโหลดขนาดใหญออกจากระบบ การสวิตชิ่งตัวเก็บประจุเขาระบบ หรือ การปรับ แทป ( Tab ) ของหมอแปลงไมเหมาะสม


เปนตน โดย “ ลักษณะของแรงดันไฟเกินจะวัดไดจากการที่คาอารเอ็มเอส ( RMS ) ของแรงดันในสายกําลังมีคาเกินกวา 242 - 264 VRMS ในชวงเวลานานกวา 1 นาที ” ซึ่งจะมี
ผลกระทบตอเครื่องใชไฟฟาที่ตอใชงานอยูใหมีคุณภาพเสื่อมลง และ มีอายุใชงานสั้นลง ลักษณะของการเกิดไฟเกินแสดงรูปคลื่นไดดังรูปที่ 1

รูปที่ 1 รูปคลื่นของแรงดันไฟเกิน

2. ไฟตก ( Under Voltage ) เปนสภาวะที่แรงดันไฟฟามีคาลดต่ําลงเปนระยะเวลานาน โดยอาจจะเกิดไดจากหลายสภาวะ เชน การใชกําลังงานไฟฟาจากแหลงกําลัง


งานสูง ตําแหนงใชงานอยูไกลจากแหลงจายไฟฟา เกิดจากการตอโหลดขนาดใหญเขาสูระบบ การสวิตชิ่งตัวเก็บประจุออกจากระบบ เปนตน โดย “ ลักษณะแรงดันไฟตกจะ
วัดไดจากการที่คาอารเอ็มเอส ( RMS ) ของแรงดันในสายกําลังมีคาต่ํากวา 176 - 198 VRMS ในชวงเวลานานกวา 1 นาที ” ซึ่งสงผลใหเครื่องใชไฟฟาไมสามารถทํางานไดดี
หรือ อาจจะดึงกระแสสูงขึ้น ( Overload ) ทําใหเกิดความเสียหาย หรือ อายุใชงานสั้นลง ลักษณะของการเกิดไฟตกแสดงรูปคลื่นไดดังรูปที่ 2

รูปที่ 2 รูปคลื่นของแรงดันไฟตก

3. ไฟดับ ( Blackout หรือ Sustained Interruptions ) เปนสภาวะที่แหลงจายกําลังงานทางไฟฟาหยุดจายกําลังงานทําใหไมมีแรงดันปรากฏในสายกําลัง โดยอาจจะมี


สาเหตุเกิดมาจาก แหลงจายกําลังงานไดรับความเสียหาย หรือ มีการลัดวงจรในสายกําลัง ทําใหอุปกรณปองกันมีการตัดวงจรแหลงจายไฟออกถาวร โดย “ ลักษณะแรงดันไฟ
ดับจะวัดไดจากการที่คาอารเอ็มเอส ( RMS ) ของแรงดันในสายกําลังมีคาลดลงเปน 0 VRMS ในชวงเวลานานกวา 1 นาที ” ซึ่งจะสงผลใหเครื่องใชไฟฟาหยุดทํางานทันที ถา
เปนเครื่องคอมพิวเตอรอาจจะสรางความเสียหายแกขอมูล หรือ อุปกรณหนวยความจําได ลักษณะไฟดับแสดงไดดังรูปที่ 3

รูปที่ 3 รูปคลื่นของแรงดันไฟดับ

4. ไฟกระชาก ( Surge หรือ Spike ) และ การออสซิลเลต ( Oscillate ) สภาวะไฟกระชากเปนสภาวะที่แรงดันสูงขึ้นทันที ซึ่งมักจะมีสาเหตุมาจากปรากฏการณ


ธรรมชาติ เชน ฟาผา และมักเปนสาเหตุใหเครื่องใชไฟฟาเสียหายทันที ลักษณะของตัวอยางแรงดันไฟกระชากสามารถแสดงไดดังรูปที่ 4 และ มีการแบงลักษณะไฟกระชาก
ตามมาตรฐาน IEEE 1159-1995 ไดดังตารางที่ 1

ตารางที่1 แสดงลักษณะของไฟกระชากตามมาตรฐาน IEEE 1159-1995


ชนิดของไฟกระชาก ( surge ) ระยะเวลาที่แรงดันเริ่มสูงขึ้น ( rise time ) ชวงระยะเวลาที่เกิด ( duration )
แบบนาโนวินาที ( Nanosecond ) 5 ns < 50 ns
แบบไมโครวินาที ( Microsecond ) 1 ms 50 ns – 1 ms

2 of 11 2/12/2553 8:09
เรื่องนารูเกี่ยวกับUPS http://www.ee.mut.ac.th/home/peerapol/semi_6.htm

แบบมิลลิวินาที ( Millisecond ) 0.1 ms > 1 ms

รูปที่ 4 รูปคลื่นตัวอยางของของแรงดันไฟกระชาก

สวนสภาวะการออสซิลเลตเปนปรากฏการณที่แรงดัน หรือ กระแส มีคาสูงอยางทันทีทันใด โดยมีการเปลี่ยนแปลงของรูปคลื่นทั้งขั้วบวกและลบ แตไมมีการเปลี่ยน


แปลงความถี่ ดังแสดงในรูปที่ 5

รูปที่ 5 รูปคลื่นของแรงดันที่เกิดออสซิลเลตชั่วขณะ

จากมาตรฐาน IEEE 1159-1995 มีการแบงการเกิดออสซิลเลตของสายกําลังในสภาวะชั่วครูตามขนาดของแรงดัน และชวงระยะเวลาที่เกิดขึ้นดังตารางที่ 2

ตารางที่ 2 แสดงลักษณะของการเกิดออสซิลเลตตามมาตรฐาน IEEE 1159-1995


ลักษณะการออสซิลเลต ความถี่ ชวงเวลาในการเกิด ขนาดแรงดันเมื่อคิดตามแหลงจาย 220
โวลต 50 เฮิรตซ
ความถี่ต่ํา ( Low Frequency ) < 5 kHz 0.3-50 ms 88 โวลต
ความถี่ปานกลาง ( Medium Frequency ) 5-500 kHz 5-20 ms 176 โวลต
ความถี่สูง ( High Frequency ) 0.5-5 MHz 0-5 ms 88 โวลต

5. ไฟตกชั่วขณะ ( Voltage Sag ) เปนปรากฏการณที่แรงดันไฟฟาขาดหายไปในชวงเวลาสั้นๆ ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นจากการใชงานมอเตอรขนาดใหญ ซึ่งตองการกระแส


สูงกวาปกติประมาณ 10 เทา ในขณะเริ่มทํางาน ทําใหมีผลกับอุปกรณ หรือ เครื่องใชไฟฟาที่ตองการความตอเนื่องของแรงดัน เชน เครื่องคอมพิวเตอร โดยอาจจะทําใหเครื่อง
คอมพิวเตอรหยุดทํางาน ( Hang ) หรือ เกิดการรีเซ็ต ( Reset ) ได โดย “ ลักษณะไฟตกชั่วขณะจะคิดจากการที่แรงดันอารเอ็มเอสของสายกําลังมีคาลดลงอยูระหวาง 22 - 198
VRMS ในชวงเวลาประมาณ 10 มิลิวินาที – 1 นาที ” แสดงไดดังรูปที่ 6

รูปที่ 6 รูปคลื่นของแรงดันไฟตกชั่วขณะ

6. ไฟเกินชั่วขณะ ( Voltage Swell ) เปนปรากฏการณที่แรงดันไฟฟาสูงขึ้นในชวงเวลาสั้นๆ ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นจากการใชงานของชุดตัวเก็บประจุ ( Capacitor Bank )


ทําใหมีผลกับอุปกรณ หรือ เครื่องใชไฟฟาที่ตองการความตอเนื่องของแรงดัน เชน เครื่องคอมพิวเตอร โดยอาจจะทําใหเครื่องคอมพิวเตอรหยุดทํางาน ( Hang ) หรือ เกิดการรี
เซ็ต ( Reset ) ไดเชนเดียวกัน โดย “ ลักษณะไฟเกินชั่วขณะจะคิดจากการที่แรงดันอารอ็มเอสของสายกําลังมีคาเพิ่มขึ้นอยูระหวาง 242 - 396 VRMS ในชวงเวลาประมาณ 10 มิลิ
วินาที – 1 นาที ” แสดงไดดังรูปที่ 7

3 of 11 2/12/2553 8:09
เรื่องนารูเกี่ยวกับUPS http://www.ee.mut.ac.th/home/peerapol/semi_6.htm

รูปที่ 7 รูปคลื่นของแรงดันไฟเกินชั่วขณะ

7. ไฟดับชั่วขณะ หรือ ไฟกระพริบ ( Short Interruption ) เปนปรากฏการณที่แรงดันไฟฟาขาดหายไปในชวงเวลาสั้นๆ ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นจากการลัดวงจรภายใน


ระบบ ทําใหอุปกรณปองกันทําการตัดวงจรชั่วคราว ทําใหอุปกรณ หรือ เครื่องใชไฟฟาหยุดทํางานได โดย “ ลักษณะไฟดับชั่วขณะจะคิดจากการที่แรงดันอารอ็มเอสของสาย
กําลังมีคาลดลงต่ํากวา 22 VRMS ในชวงเวลาประมาณ 10 มิลิวินาที – 1 นาที ” แสดงไดดังรูปที่ 8

รูปที่ 8 รูปคลื่นของแรงดันไฟกระพริบ

8. ความผิดเพี้ยนของรูปคลื่น ( Waveform Distortion ) เปนปรากฏการณที่ลักษณะของรูปคลื่นมีการเบี่ยงเบนไปจากไซน ซึ่งอาจจะเกิดจาก องคประกอบไฟตรง (


DC Offset ) ฮารมอนิก ( Harmonic ) คลื่นแบบน็อตช ( Notch ) สัญญาณรบกวน ( Noise ) และ อินเตอรฮารมอนิก ( Interharmonic ) มักจะเกิดจากสัญญาณรบกวนทางแม
เหล็กไฟฟา ( EMI ) หรือ สัญญาณวิทยุความถี่สูง ( RFI ) จากเครื่องใชไฟฟา หรือ ปรากฏการณธรรมชาติ เชน โหลดไมเปนเชิงเสน เครื่องเชื่อมไฟฟา สวิตช เครื่องสง
สัญญาณวิทยุกําลังสูง หรือ ฟาผา เปนตน ซึ่งสัญญาณรบกวนจะถูกเหนี่ยวนํากับสายสงกําลังทําใหสัญญาณแรงดันมีรูปคลื่นไมเรียบสม่ําเสมอ ทําใหเกิดความผิดพลาดในการ
ประมวลผล หรือ การสื่อสารขอมูลได ซึ่งเราอธิบายลักษณะความผิดเพี้ยนของรูปคลื่นแบบตางๆไดดังนี้

องคประกอบไฟตรง ( DC Offset ) – เปนปรากฏการณที่เกิดความไมสมมาตรของรูปคลื่น ทําใหคาเฉลี่ยของรูปคลื่นมีคาไมเปนศูนย ซึ่งก็คือคาของแรงดันไฟตรงที่


ปรากฏอยูในระบบ ผลของแรงดันไฟตรงนี้จะทําใหเกิดความสูญเสียในรูปความรอนที่หมอแปลงและ ระบบสงกําลังได

รูปที่ 9 รูปคลื่นของแรงดันที่มีองคประกอบของแรงดันไฟตรง

ฮารมอนิก ( Harmonic ) –คือองคประกอบของสัญญาณที่มีรูปรางเปนไซนที่มีความถี่เปนจํานวนเต็มเทาของความถี่ที่สัญญาณหลักมูล ( fundamental frequency )


เชน ความถี่ในระบบไฟฟาบานเรามีคา 50 เฮิรตซ ฮารมอนิกของสายกําลังจะมีคาความถี่ตางๆขึ้นอยูกับอันดับของฮารมอนิก เชน ฮารมอนิกอันดับ3 ( 3th Harmonic ) จะมี
ความถี่เทากับ 150 เฮิรตซ ฮารมอนิกอันดับ 5 ( 5th Harmonic )จะมีความถี่เทากับ 250 เฮิรตซ เปนตน ซึ่งเมื่อมีองคประกอบที่ฮารมอนิกตางๆปะปนเขามาในระบบจะสงผลให
รูปคลื่นของแรงดัน หรือ กระแส มีขนาดและเฟสเปลี่ยนไป หรือที่เราเรียกวาเกิดความผิดเพี้ยนของรูปคลื่น ( Distortion Waveform ) นั่นเอง มักจะเกิดในระบบไฟฟาที่มีการ
ใชงานโหลดที่ไมเปนเชิงเสน ปรากฏการณเชนนี้จะมีผลใหอุปกรณไฟฟาบางประเภท หยุดทํางาน หรือทํางานผิดพลาด และ อาจสรางความเสียหายกับโหลด เชน มอเตอร ได
ถาองคประกอบของฮารมอนิกมีขนาดใหญมาก

รูปที่ 10 รูปคลื่นกระแสของแหลงจายที่มีฮารมอนิกปะปนของวงจรเรียงกระแสแบบ 3 เฟส

4 of 11 2/12/2553 8:09
เรื่องนารูเกี่ยวกับUPS http://www.ee.mut.ac.th/home/peerapol/semi_6.htm

รูปคลื่นแบบน็อตช ( Notch ) –เปนสัญญาณรบกวนประเภทหนึ่งคลายกับสัญญาณรบกวนแบบทรานเซี้ยน ( Transient ) ที่มีการเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง มักจะเกิดจาก


การใชงานวงจรอิเล็กทรอนิกสกําลังที่มีการสับเปลี่ยนกําลังงานจากแหลงจาย โดยอาจสงผลรบกวนการทํางานของวงจรอิเล็กทรอนิกส อื่นๆ ใหทํางานผิดพลาดได

รูปที่ 11 รูปคลื่นของแรงดันที่มีการเกิดน็อตช

สัญญาณรบกวน ( Noise ) – เปนปรากฏการณที่เกิดสัญญาณไฟฟาที่ไมตองการ และมีความถี่ต่ํากวา 200 kHz ปะปนเขามาในสัญญาณของแรงดัน หรือ กระแสใน


สายกําลัง ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นไดจากการที่ระบบไฟฟาไมมีการตอสายลงดิน ( grounding ) ที่ถูกตองเหมาะสม ซึ่งอาจเกิดรวมกับความผิดพลาดทางไฟฟาแบบอื่นดวย ในขณะที่มี
การใชงานอุปกรณสวิตชิ่งอื่นๆในระบบ ผลของสัญญาณรบกวนอาจจะทําใหวงจรควบคุมทางอิเล็กทรอนิกส หรือ ไมโครคอนโทรลเลอร ทํางานผิดพลาด หรือ หยุดทํางาน
ได ลักษณะของสัญญาณรบกวนในสายกําลังแสดงตัวอยางดังรูปที่ 12

รูปที่ 12 รูปคลื่นของสัญญาณรบกวนของแรงดันที่สายกําลังในสภาวะไฟตก

อินเตอรฮารมอนิก ( Interharmonic ) – เปนองคประกอบรูปไซนที่มีผลเชนเดียวกันกับฮารมอนิก เพียงแตความถี่ของสัญญาณรูปไซนนั้นจะมีคาไมเปนจํานวนเทา


ของคาความถี่หลักมูล ( fundamental frequency ) เชน ที่ความถี่ 104 Hz , 117 Hz , 157 Hz , 214 Hz เมื่อความถี่หลักมูลเทากับ 50 เฮิรตซ เปนตน

9. แรงดันกระเพื่อม ( Voltage Fluctuation ) เปนปรากฏการณที่มีการเปลี่ยนแปลงของคาแรงดันอยางตอเนื่องดังรูปที่ 13 โดยอาจจะเกิดไดจากการเชื่อมไฟฟา ซึ่ง “


คาของแรงดันมีขนาดอยูระหวาง 209 – 231 VRMS ” และ ผลกระทบตอการทํางานของโหลดจะเกิดขึ้นไดมาก หรือ นอยขึ้นอยูกับขนาดของแรงดันกระเพื่อมเอง

รูปที่ 13 รูปคลื่นของแรงดันกระเพื่อม

10. การเปลี่ยนความถี่ ( Frequency Variation ) เปนปรากฏการณที่ความถี่ของระบบไฟฟามีคาเปลี่ยนแปลงจาก 50 เฮิรตซดังแสดงในรูปที่ 14 ซึ่งมักจะมีผลมาจาก


เครื่องกําเนิดไฟฟา ซึ่งจะมีผลกระทบตอการทํางานของโหลดประเภทเชิงกลอยางมาก เนื่องจากมีการทํางานสัมพันธกับความถี่

รูปที่ 14 รูปคลื่นของแรงดันที่มีการเปลี่ยนความถี่

5 of 11 2/12/2553 8:09
เรื่องนารูเกี่ยวกับUPS http://www.ee.mut.ac.th/home/peerapol/semi_6.htm

นิยามและคําจํากัดความบางสวนที่สําคัญเกี่ยวกับระบบ UPS

เครื่องสํารองไฟฟา ( UPS ) เครื่องสํารองไฟฟา หรือ ที่เปนที่รูจักกันดีในชื่อยอทางภาษาอังกฤษวา “ UPS ” ที่มีที่มาจากชื่อเต็มวา “ Uninterruptable Power Supply
” ซึ่งเปนอุปกรณที่ทําหนาที่ในการจายกําลังงานใหกับเครื่องใชไฟฟาที่เปนโหลด เมื่อเกิดสภาวะแรงดันไฟฟาดับ ( Blackout ) หรือ ไฟฟาตก ( Brownout ) จากสภาวะไฟฟา
ปกติ เครื่อง UPS ที่มีใชงานอาจจะมีหลายขนาด รูปราง และ ความสามารถในการจายกําลังงานที่แตกตางกันออกไป แตมกั จะมีหลักการทํางานพื้นฐานที่เหมือนๆกันคือ ใน
ขณะที่มีการใชงานจากแหลงจายไฟฟาอยางปกติ แบตเตอรี่ที่อยูภายในตัว UPS จะไดรับการประจุพลังงานไฟฟาเก็บไว และเมื่อมีปรากฏการณ ไฟฟาตก หรือ ไฟฟาดับ เกิด
ขึ้น แบตเตอรี่จะทําหนาที่เปนแหลงจายกําลังงานไฟฟาแทนเพื่อใหโหลดยังไดรับกําลังงานไฟฟาอยางตอเนื่อง ( online ) ในทางปฏิบัติแบตเตอรี่แตละตัวจะมีความสามารถ
ในการจายกําลังงานไดอยางจํากัด ดังนั้นโดยหลักการแลว UPS จะตองสามารถจายกําลังงานไฟฟาไดอยางเพียงพอในชวงเวลาหนึ่งเพื่อใหผูใชสามารถทําการปดระบบที่ใช
งานอยูไดอยางสมบูรณ

อินเวอรเตอร ( Inverter ) อินเวอรเตอร หรือ ตัวผันกลับ เปนอุปกรณทางอิเล็กทรอนิกสที่ทําหนาที่ในการแปลงแรงดันไฟตรง ใหเปนแรงดันไฟสลับเทียม ที่ใช


คําวา “ เทียม ” เนื่องจากวารูปคลื่นของแรงดันไฟสลับที่ไดจากตัวอินเวอรเตอรนั้นจะไมเรียบเหมือนกับสัญญาณไซนจริงๆ เพราะการทํางานของตัวอินเวอรเตอรจะใชวิธีการ
เปด/ปด คาของแรงดันไฟตรงใหมาปรากฏที่ดานขาออก ( output ) ดวยชวงเวลาสั้นๆและมีความไวสูง เพื่อทําการปรับระดับของแรงดันขาออกใหใกลเคียงกับไฟสลับรูปไซน
ใหมากที่สุด ซึ่งในกระบวนการสรางสัญญาณไฟสลับดานขาออกนี้มีหลากหลายวิธี เชน Frequency Modulation ; FM Pulse Width Modulation ; PWM เปนตน ซึ่งเราสามารถ
อธิบายการทํางานอยางงายๆของตัวอินเวอรเตอรไดดังนี้ เนื่องจากระบบไฟฟากระแสสลับในประเทศไทยมีการทํางานที่แรงดันรูปคลื่นเปนไซนขนาด 220 VRMS และความถี่
50 เฮิรตซ ( Hertz ) โดยการทํางานเปนคาบเวลาเริ่มจากจุดอางอิง 0V เพิ่มเปนบวกถึงคาสูงสุดประมาณ 311 V และลดลงจนกระทั่งมีคาเปนลบสูงสุดที่ –311 V จากนั้นมีคาเพิ่ม
ขึ้นเขาจุด 0 V เปนการครบ 1 คาบเวลาที่ 1/50 วินาที ( 20 ms ) หรือ 50 เฮิรตซ ดังแสดงในรูปที่11 ( เสนประ ) ดังนั้นตัวอินเวอรเตอรจะตองทํางานเพื่อใหสอดคลองกับ
ลักษณะของแรงดันที่ไดกลาวมาแลวขางตน ถาเราพิจารณาอินเวอรเตอรอยางงายที่ทํางานไมละเอียดนักโดยทําการจายแรงดันเริ่มตนที่ 78 V จากนั้นเปลี่ยนระดับของแรงดัน
เปน 156 234 311 234 156 และ 78 ตามลําดับในชวงเวลาที่เหมาะสมจนครบครึ่งคาบจากนั้นทําการเปลี่ยนระดับแรงดันเชนเดียวกันในดานลบอีกครึ่งคาบ เราจะไดรูปคลื่น
ของสัญญาณไฟสลับเทียมทางดานขาออกของอินเวอรเตอรดังรูปที่ 15 ( เสนทึบ ) ซึ่งจากรูปคลื่นนี้เราจะเห็นวาสัญญาณไฟสลับที่ไดไมเปนไซน แตวาสามารถนําไปใชงาน
ไดดีในเครื่องใชไฟฟาบางประเภท สวนในกรณีที่ตองการรูปคลื่นสัญญาณที่เรียบมากขึ้น เราจําเปนตองเพิ่มตัวกรอง ( filter ) ทางดานขาออกของตัวอินเวอรเตอร

รูปที่ 15 การสรางสัญญาณไฟสลับเทียมดวยอินเวอรเตอรอยางงาย

อัตราวีเอ ( VA ) และ วัตต ( Watt ) หนวยของโวลต-แอมแปรมักจะมีชื่อเรียกยอๆวา “ วีเอ ( VA ) ” ซึ่งเปนหนวยของแรงดันคูณกับกระแส เปนการบงบอกถึง


อัตราสูงสุดของแหลงกําลังงานนั้น หนวยของ VA นี้บางครั้งจะสรางความเขาใจผิดกับหนวยของกําลังงานที่เปน วัตต ( Watt ) เนื่องจากคาของกําลังงานที่เปนวัตตนั้นสรางขึ้น
มาจากผลคูณของแรงดันและกระแสเชนกัน แตกําลังงานในหนวยวัตตนั้นเปนคากําลังงานเฉลี่ย ( PAV ) ที่เกิดขึ้นที่โหลดจริงซึ่งมีคาแปรผันตามกับเทอมของตัวประกอบกําลัง
ดังสมการที่ 1 ( เรื่องความสัมพันธของหนวยวัดกําลังงานแตละแบบ ผูเขียนไดอธิบายอยางละเอียดในบทความเรื่อง***วรสารเซมิฯ ฉบับที่ *** หนา ** )

(1)

ออนไลน ( On-Line ) คําวา ออนไลน มีความหมายที่ตรงตัว แสดงถึงสภาวะที่อุปกรณ หรือ เครื่องใชไฟฟามีการทํางานอยู โดยตอตรงเขากับแหลงจาย


กําลังงาน หรือ ระบบ

ออฟไลน ( Off-Line ) คําวา ออฟไลน นี้เปนคําศัพทเฉพาะที่ใชกันกันในระบบอุตสาหกรรมเทานั้น และยังไมมีความหมายที่นิยามจนเปนที่ยอมรับอยาง


เปนพื้นฐานเดียวกัน เนื่องจากในความรูสึกโดยทั่วไปแลว คําวา ออฟไลน เรามักจะหมายถึง การไมทํางาน หรือ ไมมีการใชงาน ดังนั้นการที่อุปกรณใดๆ ออฟไลน นั้นควรจะ
หมายความวา อุปกรณตัวนั้นถูกลด หรือ ปดแหลงจายกําลังงาน หรือ อาจจะถูกปลดการเชื่อมตอออกจากระบบ แตความหมายของการใชคําวา ออฟไลน ที่สรางขึ้นมาใหม
เฉพาะในวงอุตสาหกรรม มีขึ้นเพื่อ เขียนตอทายกํากับผลิตภัณฑ ใหรูถึงสถานะการทํางานที่เกิดขึ้นภายหลังจากสภาพการทํางานหลัก เชน UPS Off-Line แสดงใหเรารูวาเมื่อ
UPS ทํางานจะมีการตัดสายสงกําลัง ( Line ) ออกจากระบบ เปนตน

โหลด ( Load ) โหลดในที่นี้คือภาระ หรือ เครื่องใชไฟฟาที่นํามาตอเขาทางดานไฟสลับขาออกของตัว UPS ในกรณีที่ทําการสํารองไฟฟาแสงสวาง โหลด คือ


หลอดไฟ สวนในกรณีที่ใชงานกับระบบคอมพิวเตอร โหลด คือ จอภาพ ( monitor ) เครื่องคอมพิวเตอร เครื่องพิมพ ( printer ) โมเดม ( modem ) หรือ ในระบบเครื่องเสียง
โหลด คือ เครื่องขยายเสียง เปนตน ดังนั้นโหลดของ UPS จะแปรเปลี่ยนไปตามระบบงานที่ทําการสํารองไฟ ซึ่งโหลดแตละชนิดจะมีความตองการใชกําลังงานไฟฟาใน

6 of 11 2/12/2553 8:09
เรื่องนารูเกี่ยวกับUPS http://www.ee.mut.ac.th/home/peerapol/semi_6.htm

ลักษณะ ของความตอเนื่องกําลังงาน รูปคลื่นของแรงดันไฟสลับเทียม ที่แตกตางกัน เชน UPS ที่มีรูปคลื่นแบบสี่เหลี่ยม ( Square Wave ) และ UPS ที่มีรูปคลื่นแบบสี่เหลี่ยม
ดัดแปลง ( Modified Square Wave ) สามารถใชไดกับระบบไฟฟาแสงสวางที่ใชหลอดไฟเปนแบบ หลอดไส ( incandescent ) แตจะไมสามารถใชงานไดกับระบบหลอดไฟ
แบบฟลูออเรสเซนต ( Fluorescent ) เปนตน จากตัวอยางดังกลาว เราจึงควรที่จะทําความเขาใจกับระบบสํารองไฟที่ใช UPS เพื่อใหสามารถเลือกใชงาน UPS หลากหลาย
ลักษณะที่มีขายอยูในทองตลาดไดอยางมีประสิทธิภาพ

ระยะเวลาในการสํารองไฟ ( Back up Time ) เปนระยะเวลาที่ UPS สามารถทําการจายพลังงานไฟฟาทดแทนใหกับ โหลด หรือ เครื่องใชไฟฟา ในกรณีที่เกิดมล
ภาวะทางไฟฟา เชน ไฟตก ไฟดับ เปนตน ซึ่งระยะเวลาในการสํารองไฟฟา มีหนวยเปน นาที หรือ ชั่วโมง ขึ้นอยูกับจํานวนพลังงานที่แบตเตอรี่ โดยจะทําการนับตั้งแต
วินาทีที่มีปญหาทางไฟฟา จนกระทั่งถึงเวลาที่ UPS ใชพลังงานจากแบตเตอรี่จนหมด หรือ ไมสามารถใชงานไดปกติ

การแบงประเภท UPS ในการใชงาน


แหลงจายไฟฟาสํารอง UPS นี้เราสามารถแบงชนิดไดหลายประเภทตามลักษณะของรูปคลื่นแรงดันทางดานขาออก หรือ แบงประเภทตามโครงสรางการทํางานและ
การจายกําลังงาน ซึ่งถาเราสามารถแบงประเภทของ UPS ตามลักษณะของรูปคลื่นแรงดันทางดานขาออกได 4 ประเภท ดังนี้

1. UPS ที่มีลักษณะดันทางดานขาออกเปนของรูปคลื่นสี่เหลี่ยม ( Square Wave ) ดังแสดงตัวอยางในรูปที่ 16 UPS ที่มีรูปคลื่นลักษณะเชนนี้ นับเปน UPS ที่ไมเลว
รายมากนัก ถาตองใชงานกับโหลดประเภท หลอดไฟแบบไส ( incandescent ) หรือ เครื่องทําความรอนที่มีโหลดเปนความตานทาน ( Resistive Heater ) แตไมเหมาะกับโหลด
ประเภท หลอดไฟแบบ ฟลูออเรสเซนต ( Fluorescent ) เครื่องคอมพิวเตอร มอเตอร และ เครื่องเสียง เนื่องจากมีคุณภาพของสัญญาณแรงดันดานขาออกต่ําเพราะมีฮารมอนิก (
Harmonic ) ขนาดใหญ ปะปนอยูมาก แตมีจุดเดนที่ราคาต่ําที่สุดนั่นเอง

รูปที่ 16 ลักษณะรูปคลื่นของ UPS แบบสี่เหลี่ยม ( Squre Wave )

2. UPS ที่มีลักษณะของรูปคลื่นแรงดันทางดานขาออกเปนรูปสี่เหลี่ยมดัดแปลง ( Modified Square Wave ) ดังแสดงตัวอยางในรูปที่ 17 ระบบแบบนี้เปนการดัด


แปลงจาก UPS แบบรูปคลื่นสี่เหลี่ยมขางตน โดยควบคุมการทํางานจากวัฏจักรงานของรูปคลื่นสี่เหลี่ยม เพื่อกําจัดฮารมอนิกขนาดใหญๆ ( อันดับ3th และ อันดับ5th ) ของรูป
คลื่นแรงดันทางดานขาออก ซึ่ง UPS ที่มีรูปคลื่นขณะทํางานในลักษณะเชนนี้ นับเปน UPS ที่พอใชงานได เพราะถึงแมวาจะยังคงมีสัญญาณที่ไมตองการปะปนอยูมากในสาย
กําลัง แตสามารถใชงานไดโดยไมเกิดการเสียหายของอุปกรณที่โหลด ซึ่งมักจะนิยมใชในการสราง UPS ขนาดเล็กสําหรับเครื่องคอมพิวเตอร แตยังไมเหมาะกับโหลด
ประเภท หลอดฟลูออเรสเซ็นต มอเตอร และ เครื่องเสียง สําหรับราคาของ UPS ชนิดนี้ก็ยังมีราคาคอนขางต่ํา

รูปคลื่นที่กําจัดฮารมอนิกที่ 3
( นิยมมากใน UPS ขนาดเล็กเนื่องจากราคาถูก )

รูปคลื่นที่กําจัดฮารมอนิกที่ 5
รูปที่ 17 ลักษณะรูปคลื่นของ UPS ที่เปนสี่เหลี่ยมดัดแปลง ( Modified Squre Wave )

3. UPS ที่มีลักษณะของรูปคลื่นแรงดันทางดานขาออกเปนรูปสี่เหลี่ยมแบบระดับขั้น ( Stepped Square Wave ) ดังแสดงตัวอยางในรูปที่ 18 ระบบนี้จะมีรูปคลื่น

7 of 11 2/12/2553 8:09
เรื่องนารูเกี่ยวกับUPS http://www.ee.mut.ac.th/home/peerapol/semi_6.htm

คลายสัญญาณไซน จึงอาจจะเรียกอีกชื่อหนึ่งไดวา เปน UPS แบบรูปคลื่นไซนดัดแปลง ( Modified Sine Wave ) UPS ที่มีรูปคลื่นขณะทํางานในลักษณะเชนนี้ นับเปน UPS ที่
อยูในเกณฑดี เราถือไดวาเปนแหลงจายไฟสลับที่มีคุณภาพของสัญญาณดี และสามารถนํามาใชงานไดกับโหลดประเภท มอเตอร หลอดฟลูออเรสเซ็นต หรือ เครื่องทําความ
เย็น ( Refrigerator ) ได ถาแบตเตอรี่มีกําลังงานเพียงพอ แต UPS ชนิดนี้มีราคาคอนขางสูง

รูปที่ 18 ลักษณะรูปคลื่นของ UPS ที่เปนสี่เหลี่ยมแบบระดับขั้น ( Stepped Square Wave ) หรือ


UPS แบบรูปคลื่นไซนดัดแปลง ( Modified Sine Wave )

4. UPS ที่มีลักษณะของรูปคลื่นแรงดันทางดานขาออกเปนรูปไซน ( Sine Wave ) ดังแสดงในรูปที่ 19 ระบบนี้นับเปน UPS ที่ดีที่สุด และ มีราคาสูงที่สุดดวย เนื่อง
จาก UPS จะทํางานโดยจายกําลังงานไฟฟาใหแกโหลดดวยลักษณะที่เหมือนกันกับแหลงจายกําลังเดิม ( การไฟฟา ) และ สัญญาณแรงดันทางดานขาออกไมมีฮารมอนิกปะปน
มากนัก ดังนั้น UPS จะไมเปนตัวสรางสัญญาณรบกวนใหกับ โหลด หรือ วงจรอื่นๆ ดังนั้น UPS ประเภทนี้จึงเหมาะกับการใชงานกับโหลดในทุกประเภท และใชงานไดดี
กับโหลดแบบเครื่องเสียงอีกดวย แตอยางไรก็ตาม การใชงาน UPS ประเภทนี้มีขอระมัดระวังในการใชงานคือ เราจะตองมั่นใจไดวา กําลังงานที่ตัว UPS จะตองเพียงพอแก
โหลด เพราะถา UPS ทํางานในสภาวะโหลดสูง ( Heavy Load ) อาจจะทําใหเกิดความผิดเพี้ยน ( distortion ) เพิ่มขึ้นในรูปสัญญาณ และ จะเริ่มปลดปลอยฮารมอนิกทางดานขา
ออกเชนเดียวกับรูปคลื่นสี่เหลี่ยม

รูปที่ 19 ลักษณะรูปคลื่นของ UPS ที่เปนไซน

การแบงประเภทของ UPS เปน 4 ประเภทดังกลาวขางตนเพื่อประโยชนในการเลือกใชงาน UPS ตามคุณภาพของสัญญาณทางดานขาออกของ UPS ใหเหมาะสม


กับโหลด เนื่องจากโหลดแตละชนิดจะมีความสามารถในการทํางานที่แตกตางกันออกไป ตามสภาวะของรูปคลื่นแรงดัน ดังนั้นถาเราเลือกรูปคลื่นของ UPS ผิดรูปแบบ
โหลดอาจจะเกิดความเสียหาย หรือ ทํางานไดไมเต็มที่ ซึ่งจากการแบง UPS ทั้ง 4 ประเภท เราจะเห็นวาคุณภาพของรูปคลื่นแรงดันทางดานขาออกมีคาสูงขึ้นเรียงตามลําดับ
แตถาเราพิจารณาในดานประสิทธิภาพ ; ( กําลังงานดานขาออก / กําลังงานดานขาเขา ) เราจะพบวา UPS ที่มีรูปคลื่นของแรงดันทางดานขาออกไมเปนไซนจะมี
ประสิทธิภาพสูงถึง 80 % หรือ อาจจะมากกวา 90 %ได แตสําหรับ UPS ที่มีรูปคลื่นของแรงดันทางดานขาออกเปนไซนจะมีประสิทธิภาพอยูประมาณ 50 % เทานั้น ดังนั้น
การใชงาน UPS ชนิดรูปคลื่นไซนจะมีระยะเวลาในการสํารองไฟ ( Back up Time )ไดนอยกวา เมื่อใชแบตเตอรี่ขนาดเดียวกัน หรือ กลาวอีกนัยหนึ่งวา ถาตองการให UPS
แบบรูปคลื่นไซนสามารถสํารองไฟฟาไดในระยะเวลาเทาๆกัน เราจะตองเพิ่มเซลลของแบตเตอรี่ที่เปนแหลงพลังงานของระบบ โดยทั่วไปถากลาวถึงลักษณะการแปลงผัน
กําลังงานของ UPS แลว มักจะมีความเขาใจกันวา ระบบการแปลงผันกําลังงานของ UPS นั้นมีเพียง 2 ระบบเทานั้นคือ สแตนบายด UPS ( Standby UPS ) หรือ ออฟ-ไลน UPS
( Off-Line UPS ) กับแบบออนไลน UPS ( On-Line UPS )และมักจะมีการใชชื่อ 2 ชนิดนี้ในการโฆษณาสินคากันอยางหลากหลาย ดังนั้นเราจะขจัดความเขาใจผิดเกี่ยวกับการ
เรียกชื่อเหลานี้โดยพิจารณาจากโครงสรางที่แทจริง และ แบงชนิดของ UPS ออกตามโครงสราง ลักษณะการแปลงผัน ( Power Convertion ) และความตอเนื่องของกําลังงาน
ดานขาออก ( Output Power Continuity ) ไปยังโหลดไดเปน 6 ประเภท ( ซึ่งในแตละประเภทอาจจะมีลักษณะรูปคลื่นแรงดันทางดานขาออกไดตาม 4 ประเภทดังอธิบายมา
แลวขางตน ) คือ

1. สแตนบายด UPS ( Standby UPS ) หรือ ออฟ-ไลน UPS ( Off-Line UPS ) เปนเครื่องสํารองไฟฟาที่นิยมใชกันมากที่สุดสําหรับเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล
โดยมีสวิตชถายโอนกําลังงาน ( Transfer Switch ) ซึ่งมักจะใช รีเลย ในการสงผานกําลังงานจากแหลงจายกําลังงานหลักไปสูโหลดในสภาวะปกติ และทําการประจุพลังงาน
เก็บไวในแบตเตอรี่ เมื่อเกิดมีความผิดพลาดที่แหลงจายกําลังงานหลัก สวิตชจะทําการเชื่อมตอตัวอินเวอรเตอร และ แบตเตอรี่ เพื่อสรางแหลงกําลังงานไฟสลับเทียมสํารองให
แกโหลดดังแสดงแผนผังการทํางานไดดังรูปที่ 20

8 of 11 2/12/2553 8:09
เรื่องนารูเกี่ยวกับUPS http://www.ee.mut.ac.th/home/peerapol/semi_6.htm

การทํางานในสภาวะปกติ การทํางานเมื่อเกิดความบกพรองในสายกําลัง

รูปที่ 20 แผนผังการทํางานของสแตนบายด UPS

อินเวอรเตอรของ UPS ชนิดนี้ จะทํางานเพียงเฉพาะในขณะที่เกิดความผิดพลาดของกําลังงานในสายกําลังหลักเทานั้น จึงถูกตั้งชื่อวาเปนลักษณะ “ สแตนบายด ”


และเนื่องจากในการสํารองไฟฟาใหแกโหลด สวิตชจะมีการตัดสายกําลังหลักออกจากระบบ เราจึงอาจเรียกการทํางานในลักษณะนี้ไดวาเปนแบบ “ ออฟ-ไลน ” ขอดีของ
UPS ชนิดนี้คือมีประสิทธิภาพสูง ขนาดเล็ก น้ําหนักเบา และราคาถูก แตมีขอเสียซึ่งเกิดจากการใชสวิตชถายโอนกําลังงานทําใหเกิดระยะเวลาในการถายโอนกําลังงาน (
Transfer Time ) ขึ้นทําใหไมสามารถปองกันมลภาวะทางไฟฟาที่เกิดในระยะเวลาสั้นๆได จึงเหมาะสมที่จะใชกับแหลงพลังงานหลักที่มีมลภาวะทางไฟฟาไมมาก เชนใชใน
การสํารองไฟฟาขณะไฟดับ เปนตน

2. ไลนอินเตอรแอกตีฟ UPS ( Line Interactive UPS ) เปนเครื่องสํารองไฟฟาที่นิยมใชกันมากในงานธุรกิจขนาดยอม เวปเซอรฟเวอร ( Web Server ) เปนตน
โครงสรางของ UPS แบบนี้ตัวอินเวอรเตอรจะตอเขากับดานขาออกของ UPS ตลอดเวลา โดยการประจุแบตเตอรี่จะเกิดขึ้นในชวงที่ระบบสายสงกําลังหลักอยูในสภาวะปกติ
โดยผานการแปลงผันกําลังงานจากไฟสลับ-ไฟตรงดวยตัวอินเวอรเตอร และ เมื่อสายสงกําลังงานหลักมีปญหาเกิดขึ้น สวิตชถายโอนกําลังงานจะเปดออกทําใหกําลังงานจะถูก
ถายเทจากแบตเตอรี่ผานอินเวอรเตอรออกไปยังโหลด ดังแสดงแผนผังการทํางานดังรูปที่ 21 จากการที่อินเวอรเตอรตอตรงเขากับดานขาออกของ UPS ตลอดเวลาเชนนี้ยอม
ทําใหมีการกรองสัญญาณไฟฟาอยู และ ยังชวยลดปญหาที่เกิดจากการสวิตชชั่วขณะ ดังเชนที่เกิดในสแตนบายด UPS นอกจากนี้ตัวอินเวอรเตอรยังเปนตัวควบคุมเรกกูเลชั่น (
Regulation ) ดวย โดยจะมีการทํางานเพื่อแกไขเมื่อเกิดสภาวะไฟฟาตก ( Brownout ) ดวยการบังคับให UPS ทําการถายเทพลังงานจากแบตเตอรี่ออกมาทดแทน ดังนั้น UPS
ประเภทนี้จึงคอนขางเหมาะสมกับการใชงานในพื้นที่ที่มีมลภาวะทางไฟฟาสูง
อยางไรก็ตาม UPS ประเภทนี้จะตองออกแบบใหพลังงานไฟฟาจากดานขาเขา ( AC ) จะยังคงสามารถสงผานไปยังโหลดไดถึงแมวาจะเกิดความผิดพลาดขึ้นในตัว
อินเวอรเตอร ดวยการแยกเสนทางสงกําลังออกจากกันเพื่อกําจัดแหลงแรงดันที่มีปญหาออกไป ดวยโครงสรางลักษณะเชนนี้ทําให UPS ประเภทนี้มีประสิทธิภาพมากอยูแลว
และยังทําใหระบบมีความนาเชื่อถือสูงในการควบคุมและแกไขปญหาสภาวะไฟตก ไฟเกิน อีกดวย นอกจากนี้เนื่องจากราคาที่คอนขางต่ําทําให UPS ประเภทนี้คอนขางโดด
เดนมากในระดับกําลังงานขนาด 500-5k VA

การทํางานในสภาวะปกติ การทํางานเมื่อเกิดความบกพรองในสายกําลัง

การทํางานเมื่อเกิดความบกพรองในตัวอินเวอรเตอร

รูปที่ 21 แผนผังการทํางานของไลนอินเตอรแอกตีฟ UPS

3. สแตนบายดออน-ไลนไฮบริดจ UPS ( Standby On-Line Hybrid ) เปนโครงสรางอีกแบบหนึ่งซึ่งมีการใชคําวา “ ออน-ไลน ” ในระบบ และ นิยมกันมากใน
การสราง UPS ขนาดกําลังงานต่ํากวา 10 kVA ในระบบ UPS ประเภทนี้จะมีการทํางานของตัวแปลงผันที่คอยสนับสนุนระบบจากแบตเตอรี่ เมื่อระบบกําลังงานหลักที่ดานไฟ

9 of 11 2/12/2553 8:09
เรื่องนารูเกี่ยวกับUPS http://www.ee.mut.ac.th/home/peerapol/semi_6.htm

สลับมีความผิดพลาดเกิดขึ้นเชนเดียวกันกับใน สแตนบายด UPS และยังมีชุดวงจรที่ใชในการประจุแบตเตอรี่ที่คลายคลึงกันอีกดวย แตใน UPS ประเภทนี้จะไมมีระยะเวลาใน


การถายโอนกําลังงานเกิดขึ้น ( No Transfer Time ) ในระหวางที่เกิดความผิดพลาดในดานไฟสลับ ซึ่งทําใหมักจะเกิดความเขาใจผิดกันมากวาใน UPS ชนิดนี้จะมีสวนกําลังงาน
ในดานไฟสลับตอเขากับแหลงจายไฟสลับดานขาเขาตลอดเวลา ( ออน-ไลน ) แตวาในความเปนจริงแลว จะมีการทํางานของอินเวอรเตอรจากแบตเตอรี่ไปยังดานขาออกที่ ออ
น-ไลน ครึ่งวัฏจักรงาน ( Half-Cycle ) หรือเราเรียกไดวา “ กึ่งออน-ไลน” ในขณะที่อีกครึ่งวัฏจักรงานจะเปนการทํางานในสวนของโหมดสแตนบายด โดยมีการแปลงผันไฟ
ตรง-ไฟตรง ( DC to DC Converter ) โดยในการออกแบบโครงสรางลักษณะนี้อาจจะมีการเพิ่มสวิตชถายโอนกําลังงาน เพื่อใหทํางานในขณะที่เกิดสภาวะโหลดเกินพิกัด หรือ
ระบบไมสามารถทํางานไดตามฟงกชั่น

4. สแตนบาย-เฟอรโร UPS ( Standby-Ferro UPS ) เปน UPS อีกประเภทหนึ่งที่มีความโดดเดนมากในยานการใชงานของระดับกําลังงานขนาด 3-15 kVA ซึ่งการ
ออกแบบ UPS ประเภทนี้มีหัวใจหลักอยูที่หมอแปลงแบบพิเศษ ( Special Transformer ) ที่มีขดลวดทั้งสิ้น 3 ชุด โดยกําลังงานทางดานไฟสลับขาเขาจะผานสวิตชถายโอนกําลัง
งาน และผานไปยังดานขาออกดวยการเชื่อมโยงของหมอแปลง เมื่อแรงดันไฟสลับทางดานขาเขามีความผิดพลาดเกิดขึ้น สวิตชถายโอนกําลังงานจะเปดออก และ ตัวอิน
เวอรเตอรจะทําการรับภาระที่โหลดแทนดังแผนผังแสดงการทํางานดังรูปที่ 22 ดังนั้นกลาวไดวา ในตัวอินเวอรเตอรในสแตนบายด-เฟอรโร UPS จะทํางานแบบคอยสนับ
สนุนระบบ ( Standby ) และมีการทํางานขึ้นเฉพาะเมื่อมีปญหาทางไฟฟา และ เปดสวิตชถายโอนกําลังงาน นอกจากนี้ตัวหมอแปลงพิเศษแบบ “เฟอรโร-เรโซแนนซ ( Ferro-
resonant ) หรือ หมอแปลงแรงดันคงที่ ( Constant Voltage Transformer ) มีความสามารถที่จะจํากัดเทอมเรกกูเลชั่นทางดานขาออก ( ควบคุมแรงดันใหคงที่ ) และ การใชหมอ
แปลงเฟอรโร-เรโซแนนซในการแยกโดดจากดานไฟสลับหลักจะทําใหเราสามารถกําจัดองคประกอบชั่วขณะทางกําลังงานไฟสลับขาเขา ( AC Power Transient ) ออกไปไดดี
กวาการใชตัวกรองใดๆเพิ่มเขามาทางดานขาเขา แตวาตัวหมอแปลงเฟอรโร-เรโซแนนซนี้มีขอเสียจากการทําใหรูปคลื่นของแรงดันทางดานขาออกมีความผิดเพี้ยนสูง และ
เปนตัวสรางองคประกอบชั่วขณะทางดานขาออกเสียเอง ( ซึ่งอาจจะแยกวาการตอจากไฟสลับโดยตรงเสียอีก ) นอกจากนี้ลักษณะ UPS แบบนี้จะเปนชนิดสแตนบายด UPS ก็
ตาม แตตัวสแตนบาย-เฟอรโร UPS จะสรางความรอนจํานวนมาก เนื่องจากตัวหมอแปลงชนิดเฟอรโร-เรโซแนนซเปนหมอแปลงที่มีประสิทธิภาพไมสูงมาก โดยทั่วไปแลว
UPS ชนิดนี้มักจะถูกนําเสนอวาเปนชนิด ออน-ไลน ทั้งๆที่โครงสรางของสแตนบาย-เฟอรโร UPS จะมีสวิตชถายโอนกําลังงานในวงจร อินเวอรเตอรทํางานในสแตนบายด
โหมด และ สวิตชถายโอนกําลังงานทํางานเมื่อไฟสลับดานขาเขามีปญหา อยางไรก็ตาม UPS ชนิดนี้มีจุดเดนในเรื่องของการกรองในสายกําลังที่ดี แตในปจจุบัน เมื่อนําโหลด
ของวงจรที่มีการแกตัวประกอบกําลังรวมอยูดวยจะทําใหเกิดประสิทธิภาพต่ํา และ มีเสถียรภาพในการทํางานที่ไมดีทําใหความนิยมใน UPS ระบบนี้เริ่มลดลง

การทํางานในสภาวะปกติ การทํางานเมื่อเกิดความบกพรองในสายกําลัง

รูปที่ 22 แผนผังการทํางานของสแตนบายด-เฟอรโร UPS

5. ดับเบิลคอนเวอรชันออน-ไลน UPS ( Double Conversion On-Line UPS ) เปน UPS ที่นิยมผลิตกันมากในระบบที่มีกําลังสูงกวา 10 kVA โดยลักษณะโครงสราง
ของ ดับเบิ้ลคอนเวอรชั่นออน-ไลนจะคลายกับสแตนบายด UPS เพียงแตวากําลังงานหลักจะมาจากอินเวอรเตอรแทนที่จะมาจากแหลงจายไฟสลับ ( AC ) ดังนั้นในการออก
แบบการทํางานของ UPS ชนิดนี้ตัวสวิตชถายโอนกําลังงานจะไมทํางานถึงแมวาไฟสลับทางดานขาเขาจะมีปญหา เพราะแหลงกําลังงานหลักมาจากตัวอินเวอรเตอรและ
แบตเตอรี่ ดังนั้นเรากลาวไดวาเมื่อระบบสายกําลังดานไฟสลับขาเขามีปญหา ระบบจะยังคงออน-ไลนอยูโดยไมเกิดระยะเวลาในการถายโอนกําลังงาน สวนระยะเวลาในการ
ถายโอนกําลังงานจะมีขึ้นก็ตอเมื่อ ตัวประจุแบตเตอรี่ ตัวอินเวอรเตอร หรือ ตัวแบตเตอรี่มีปญหาดังแผนผังแสดงการทํางานดังรูปที่ 23 แตเนื่องจาก UPS ประเภทนี้จายกําลัง
งานที่โหลดจากตัวอินเวอรเตอร ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงโหลดอยางกระทันหันยอมอาจจะทําใหกําลังงานของภาคอินเวอรเตอรตกลงในชวงสั้นๆได

การทํางานในสภาวะปกติ การทํางานเมื่อเกิดความบกพรองในสายกําลัง
รูปที่ 23 แผนผังการทํางานของดับเบิ้ลคอนเวอรชั่นออน-ไลน UPS

6. เดลตาคอนเวอรชันออน-ไลน UPS ( Delta Conversion On-Line UPS ) เปน UPS ที่สรางขึ้นดวยเทคโนโลยีใหมเพื่อแกไขขอเสียที่เกิดขึ้นกับ UPS แบบดับ
เบิลคอนเวอรชันออน-ไลน ซึ่งมีอัตรากําลังงานตั้งแตขนาด 5 kVA ขึ้นไป การทํางานของ UPS ชนิดนี้จะคลาย

10 of 11 2/12/2553 8:09
เรื่องนารูเกี่ยวกับUPS http://www.ee.mut.ac.th/home/peerapol/semi_6.htm

การทํางานในสภาวะปกติ การทํางานเมื่อเกิดความบกพรองในสายกําลัง

รูปที่ 24 แผนผังการทํางานของดับเบิ้ลคอนเวอรชั่นออน-ไลน UPS

กันกับดับเบิลคอนเวอรชันออน-ไลน UPS คือ กําลังงานทางดานขาออกจะมาจากตัวอินเวอรเตอร แตวาในการทํางานของเดลตาคอนเวอรชันออน-ไลน UPS จะมีการสงกําลัง


งานสนับสนุนแกภาคขาออกของอินเวอรเตอรรวมดวย ดังนั้นภายใตสภาวะที่มีมลภาวะทางไฟสลับดานขาเขา พฤติกรรมของวงจรจะเปนเชนเดียวกันกับดับเบิลคอนเวอรชัน
ออน-ไลน UPS สวนในสภาวะคงตัวของวงจร ( Steady-State ) เดลตาคอนเวอรชันออน-ไลน UPS จะสงกําลังงานไปทางดานขาออกไดสูงกวาและมีประสิทธิภาพกวาการออก
แบบ UPS ดวยวิธีดับเบิลคอนเวอรชัน เนื่องจากดับเบิลคอนเวอรชันออน-ไลน UPSตองนําพลังงานทั้งหมดไปเก็บไวในแบตเตอรี่ ( ประจุแบตเตอรี่ ) แลวจึงนําพลังงานใน
แบตเตอรี่ออกมาใชที่โหลดผานตัวอินเวอรเตอรอีกทีหนึ่ง ในสวนของเดลตาคอนเวอรชันออน-ไลน UPS จะทําการสงกําลังงานสวนใหญจากดานขาเขาไปยังโหลดทางดานขา
ออกโดยตรง ซึ่งในการออกแบบเดลตาคอนเวอรชันออน-ไลน UPS ระบบจะตองสามารถทําการประจุแบตเตอรี่ไดเชนเดียวกัน ดังแสดงโครงสรางการทํางานดังรูปที่ 24 เนื่อง
จากเดลตาคอนเวอรชันออน-ไลน UPS ไดพัฒนาโครงสรางจากดับเบิลคอนเวอรชันออน-ไลน UPS ดังนั้นการออกแบบโดยรวมจะไมทําใหระบบซับซอนไปกวาดับ
เบิลคอนเวอรชันออน-ไลน UPS และใหคุณลักษณะทางดานขาออกที่เหมือนๆกัน นอกจากนี้ระบบเดลตาคอนเวอรชันออน-ไลน UPS ยังสามารถชวยลดพลังงานสูญเสีย และ
ราคา ลงไดประมาณ 4 เทา จากขอดีดังกลาวทําใหระบบเดลตาคอนเวอรชันออน-ไลนเปน UPS ที่มีประสิทธิภาพสูงและเปน UPS ที่ดีที่สุดโดยเฉพาะในระดับกําลังงานสูงๆ
ในระดับ kVA

เมื่อเราทราบลักษณะของ UPS แตละประเภทแลว เราจะสามารถเลือกใชงานตามสภาพโหลดไดอยางถูกตองและเต็มประสิทธิภาพโดยพิจารณาตามลําดับดังนี้


1. เลือกชนิด UPS ตามลักษณะของรูปคลื่นขาออก ซึ่งปจจัยหลักขึ้นอยูกับวาโหลดสามารถทํางานไดดีกับรูปคลื่นแบบใด เชนในการสํารองไฟฟาใหกับระบบเครื่อง
เสียงควรใช UPS ที่มีรูปคลื่นไซน การใช UPS สํารองไฟฟากับระบบมอเตอร เครื่องทําความเย็น ควรใช UPS ที่มีรูปคลื่นเปนสี่เหลี่ยมแบบระดับขั้นเปนอยางนอย เปนตน
2. กําลังงาน และระยะเวลาในการสํารองไฟฟา ซึ่งปจจัยหลักของการเลือกจะขึ้นอยูกับความตองการของเวลาปฏิบัติการหลักจากมีปญหาไฟฟาดับ เนื่องจาก UPS จะ
กําหนดความสามารถในการจายกําลังงานในหนวยของ VA ดังนั้นเราสามารถหาความเหมาะสมระหวางโหลด และ UPS ไดจากสมการที่ (1) เชน โหลดเปนระบบ
คอมพิวเตอรที่มีคา kp = 0.8 และมีความตองการกําลังงานรวมทั้งสิ้น 400 วัตต ดังนั้นเราตองเลือกใช UPS ขนาด 500 VA เปนอยางนอย และ ตองเปรียบเทียบกับขอมูลของผู
ผลิตวาที่กําลังงาน VA สูงสุดนั้น UPS สามารถสํารองไฟฟาไดเปนเวลานานเทาไร ( ระยะเวลาในการสํารองไฟนี้จะแปรผันตามคาประสิทธิภาพของอินเวอรเตอรของระบบ
UPS เปนหลัก ซึ่งเราไมตองสนใจมากนัก )
3. เลือกชนิด UPS ตามลักษณะการแปลงผัน ซึ่งขั้นตอนนี้ขึ้นอยูกับปจจัยหลายอยางตามสภาพของมลภาวะทางไฟฟาของแหลงจายไฟฟาหลัก ราคา ความตองการ
ความตอเนื่องของกําลังงานที่โหลด เชน ในระบบไฟฟาใกลสายไฟฟาแรงสูง ซึ่งมีมลภาวะทางไฟฟาหลายรูปแบบ มีความจําเปนตองใช UPS ชนิดออน-ไลน สวนการใชงาน
ตามบานซึ่งมีผลในเรื่องไฟตก ไฟเกิน หรือไฟดับ ธรรมดา อาจจะใช UPS ชนิดออฟ-ไลน ก็เพียงพอ เปนตน

สําหรับ การเลือกใช UPS สําหรับระบบคอมพิวเตอร เปนเรื่องที่สนใจกันมากในปจจุบัน เนื่องจากคอมพิวเตอรมีการใชงานกันอยางแพรหลาย และ UPS สำหรับ


คอมพิวเตอรกม็ ีหลากหลายชนิด ในราคาที่แตกตางกันดังที่กลาวไวตอนตนของบทความ ซึ่งหัวใจหลักในการเลือกไดมาจาก 3 ขอขางตนคือ ความสามารถในการจายกําลัง
งาน VA ระยะเวลาที่ตองการในการสํารองไฟฟา และ ราคา ถาเราตองการสํารองไฟฟาในระยะเวลาสั้นๆเฉพาะเครื่องคอมพิวเตอร ไมรวมจอภาพ ( monitor ) การเลือกใช
UPS ขนาดเล็กก็นาจะเปนทางเลือกที่ดี ซึ่งเหมาะกับกับการใชงานในระบบไฟฟาที่มีเครื่องปนไฟสํารอง ( UPS แบบโรตารี่ ) รองรับเมื่อแหลงไฟฟาหลักดับ เนื่องจากเราไม
ตองทําการปดเครื่องคอมพิวเตอร แตถาเราตองการใชงานโดยให UPS สํารองไฟแกจอภาพดวยเพื่อทําการปดระบบคอมพิวเตอรเมื่อไฟดับ เราจะตองพิจารณาอยางระมัด
ระวัง เนื่องจากจอภาพเปนอุปกรณที่ตองการกําลังงานทางไฟฟาสูง ( ประมาณ 40-60 % ของระบบคอมพิวเตอรขึ้นอยูกับขนาดของจอภาพ )
ผูใชบางทานอาจจะมีความคิดวา เราสามารถใช UPS ขนาดเล็ก เพื่อสํารองไฟฟาเฉพาะเครื่องคอมพิวเตอร แตแยกจอภาพตอตรงเขากับแหลงจายไฟหลัก ในการทํา
งานปกติ จากนั้นเมื่อไฟฟาดับ เราจึงยายปลั๊กจอภาพมาที่ UPS เพื่อทําการปดเครื่องในระยะเวลาสั้นๆไดหรือไม วิธีการเชนนี้สวนใหญจะไมคอยประสบผลสําเร็จเนื่องจากวา
จอภาพจะมีความตองการกําลังงานสูงกวาสภาวะปกติ เมื่อทําการเปดครั้งแรก ทําให UPS ไมสามารถจายกําลังงานที่เพียงพอ อยางไรก็ตามแนวความคิดนี้ไดถูกนํามาพัฒนา
ใชอยูใน UPS หลายรุน โดยระบบ UPS จะทําการตอจอภาพเขากับระบบไฟฟาหลักกอนในชวงแรกของการทํางานซึ่งตองการกําลังงานสูง และเมื่อจอภาพทํางานในสภาวะ
ปกติแลว ระบบจะใชสวิตช เชน รีเลย ( Relay ) เพื่อสับเปลี่ยนมาใชพลังงานจากระบบเพื่อทํางานตอไป

11 of 11 2/12/2553 8:09

You might also like