You are on page 1of 10

การแลกเปลีย่ นแคตไอออนของดิน

Cation exchange

หมายถึง การแลกเปลีย่ นระหว่ าง แคตไอออนทีด่ ูด


ยึดอยู่ทผี่ วิ อนุภาคดินเหนียว และแคตไอออนทีอ่ ยู่ใน
สารละลาย
ในดินจะมีการแลกเปลี่ยนประจุบวกอยูต่ ลอดเวลา
ผิวอนุภาคดินเหนียว
สารละลาย สารละลาย

ประจุลบ
ทีม่ าของประจุลบอนุภาคดินเหนียว

• การแตกหักของขอบผลึกของอนุภาคดินเหนียว
Si และ Al หลุดไป

• การแทนทีข่ องอะตอมทีม่ ขี นาดเท่ ากันแต่ ประจุต่างกันของอนุภาคดิน


เหนียว

Mg++ แทนที่ Al+++


C.E.C. = Cation Exchange Capacity
ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออน

หมายถึง ปริ มาณแคตไอออนทั้งหมดที่ดินนั้นสามารถดูด


ยึดไว้ได้ (ประจุลบทั้งหมดอนุภาคดิน)
หน่วย = me / 100 กรัมของดิน
me = mill equivalent
C.E.C. มีมากหรือน้ อยขึน้ อยู่กบั
1. ชนิดของแร่ ดินเหนียว
Montmorrillonite = 100 me/100 g
Illite = 30 me/100 g
Kaolinite = 8 me/100 g
Silicate clays
1) Kaolinite เป็ นแบบ 1:1 โดยมีแผ่นของ Si และ Al
อย่างละแผ่น มีการขยายตัวได้นอ้ ย และมีการแทนที่ของอะตอม
น้อย มี C.E.C . ต่ำ

2) Montmorillonite เป็ นแบบ 2:1 โดยมีแผ่น Si 2 แผ่น


และ Al 1 แผ่น มีการขยายตัวและหดตัวได้มากผลึก มีการแทนที่
ของอะตอมมาก มี C.E.C . สูง

3) Illite เป็ นแบบ 2:1 แต่มี K ผสมอยูด่ ว้ ย ทำให้ขยายตัวได้นอ้ ยมี C.E.C . ปาน
กลาง
2) ปริ มาณของดินเหนียว

1% ของดินเหนียวจะให้ C.E.C. = 0.5 me/100 g

ถ้ามีดินเหนียว 30 % จะมี
C.E.C. = 30 x 0.5 = 15 me/100 g
3. ปริ มาณอินทรี ยวัตถุในดิน
1% ของ O.M. จะให้ C.E.C. = 2 me/100 g

ถ้ามีดินเหนียว 30% และมี O.M. = 2 %

จะมี C.E.C. = 15 + 4 = 19 me/100 g


ประโยชน์ และความสำคัญของการแลกเปลีย่ นประจุ
(Cation Exchange)
- การดูดยึดธาตุอาหาร
C.E.C. มาก ดูดยึดแคตไอออนได้มาก

- สภาพทางกายภาพของดิน
ถ้าดินมี Na มาก โครงสร้างไม่ดี
ถ้าดินมี Ca และ Mg มาก โครงสร้างของดินจะดี

- ความเป็ นกรดและด่าง
ถ้ามี Ca++, Mg++ และ Na+ จะเป็ ด่าง
ถ้ามี H+ , Al+ จะเป็ นกรด

You might also like