You are on page 1of 31

สั ณฐานวิทยาของดิน การสำรวจและการจำแนกดิน

สัณฐานวิทยาของดิน (Soil morphology)


การศึกษาทางปฐพีวทิ ยา ในเรื่ องลักษณะภายในต่างๆ ของดิน
ที่สามารถมองเห็นได้ และตรวจสอบได้ ซึ่ งเป็ นลักษณะที่ได้รับ
อิทธิพลมาจากปั จจัยที่ควบคุมการสร้างตัวของดิน
ลักษณะทางสั ณฐานวิทยาของดิน
สี ของดิน
เนือ้ ดิน
โครงสร้ างของดิน
การยึดตัวของดิน
- แรงยึดระหว่ างอนุภาคของดิน
ปฏิกริ ิยาของดินหรือการเป็ นกรดด่ าง
หน้ าตัดดิน (Soil profile)
คือ ผิวด้านหน้าของดินที่ตดั ลงไปจากผิวดินในแนวดิ่ง
ชั้นดิน (Soil horizons)
คือ ชั้นหนึ่งๆ ในหน้าตัดของดิน ที่วางตัวขนานหรื อเกือบ
ขนานกับผิวดิน
ชั้นดินหลัก
O – ชั้นดินอินทรี ย ์
A – ชั้นดินบน มีอินทรี ยว์ ตั ถุมาก
E – ชั้นดินตอนล่าง มีการชะล้าง
B – ชั้นใต้ดินบน มีการสะสม
C – ชั้นของวัตถุดินต้อนกำเนิด
R – ชั้นหิ น
การวัดสี ของดิน

ใช้รหัสมันเซลล์ – มีสีมาตรฐานและบอกรหัสไว้ เอามา


เปรี ยบเทียบกับสี ของดินแล้วบันทึกรหัสและสี
ในรหัสมันเซลล์จะประกอบด้วยสัญลักษณ์ที่แสดงค่า
Hue
Value
Chroma
Hue หมายถึง ชนิดของสี
Y = Yellow
R = Red

สี ของดิน 10R (100% Red) - 5Y (75% Yellow)


Value แสดงถึงความจางหรือการสะท้ อนแสง
0 – 10
10 = จางมากสะท้ อนแสงได้ มาก

Chroma แสดงถึงความอิม่ ตัวของสี หรือความบริสุทธิ์ของสี เดิม


0–8
ตัวเลขมากแสดงถึงความบริสุทธิ์มาก
การสำรวจดิน (Soil survey)
การศึกษาดินภาคสนาม
วัตถุประสงค์
1. ศึกษาลักษณะที่สำคัญของดิน
2. เพื่อการจำแนกดิน
3. ทำแผนที่ดิน
4. เพื่อใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ
วางแผนการใช้ที่ดิน
การจัดการดิน
การประเมินราคาที่ดิน
เครื่องมือและอุปกรณ์ การสำรวจดิน
1. แผนที่

- แผนที่จากรังวัด (ละเอียดมาก)

- แผนที่สภาพภูมิประเทศ
1:250,000 1:500,000
เครื่องมือและอุปกรณ์ การสำรวจดิน
1. แผนที่
- ภาพถ่ายทางอากาศ
1: 15,000

- ภาพถ่ายดาวเทียม (ละเอียดน้อย)
185 x 185 Km2
เครื่องมือและอุปกรณ์ การสำรวจดิน
2. ชุดการสำรวจดิน
- สมุดเทียบสี ดิน - เทปวัดระยะ
- ชุดวัด pH - มีดสนาม
- สว่านเจาะดิน - พลัว่ สนาม
- เครื่ องมือวัดความลาดเท - แว่นขยาย
- เข็มทิศ - GPS
เครื่องมือและอุปกรณ์ การสำรวจดิน

3. เครื่ องมือวิเคราะห์ดินในห้องปฏิบตั ิการ

4. เครื่ องมือในการทำแผนที่
การจำแนกดิน (Soil classification)
การแบ่งดินออกเป็ นหมวดหมู่

ระบบการจำแนกดิน
มีอยูห่ ลายระบบ
ที่ยอมรับมากที่สุดคือ ระบบ USA และของ FAO
ระบบอนุกรมวิธานของดิน ของ USA
แยกดินออกเป็ น 6 ชั้น
อันดับ (order)
อันดับย่อย (suborder)
กลุ่มดิน (great group)
กลุ่มดินย่อย (subgroup)
วงศ์ดิน (family)
ชุดดิน (series)
อันดับ (order)

ปัจจุบนั มี 11 Order
1) เอนติโซลส์ (Entisols)
- ดินที่การพัฒนาน้อยมาก (ไม่มีช้ นั B)
- มีความลึกของหน้าดินน้อย
-ให้ผลผลิตพืชต่ำ
- ในประเทศไทยมี 3.29 %
เช่น ดินชุดท่าม่วง
2) เวอร์ ตโิ ซลส์ (Vertisols)
- ดินที่การพัฒนาหน้าตัดน้อย (ไม่มีช้ นั B)
- มีการแตกระแหงถ้าดินแห้ง เพราะมีดินเหนียวที่มีการขยายตัวสู ง
- มีปัญหาในการจัดการดิน เพราะเมื่อแห้งจะแข็ง เมื่อเปี ยกจะเละ
ระบายน้ำยาก
- ในประเทศไทยมี 0.81% พบมากในภาคกลาง
เช่นชุดดิน ลพบุรี บ้านหมี่ โคกกระเทียม ฯลฯ
3) อินเซปติโซลส์ (Inseptisols)
- เป็ นดินมีการพัฒนามากกว่าเอนติโซลส์ แต่นอ้ ยกว่าดินชนิดอื่น
- ความอุดมสมบูรณ์สูง – ต่ำ
- ระบายน้ำไม่ดี ใช้ปลูกข้าว
- ในประเทศไทยมี 9.40 %
เช่น ชุดดินราชบุรี สิ งห์บุรี สระบุรี
4) แอริดโิ ซลส์ (Airidisols)
- เป็ นดินมีการพัฒนาหน้าตัดน้อย (มีช้ นั B ไม่ชดั เจน)
- อยูใ่ นสภาพแห้งแล้ง เช่น ทะเลทราย
- มี O.M. ต่ำ
- ไม่เหมาะต่อการปลูกพืช
- ไม่พบในประเทศไทย
5) มอลลิโซลส์ (Mollisols)
- เป็ นดินมีการพัฒนาหน้าตัดปานกลาง (มีช้ นั B)
- เกิดในสภาพพืชพรรณที่เป็ นทุ่งหญ้า
- มีความอุดมสมบูรณ์สูง โครงสร้างดินดี
- ในไทยมี 1.17%
เช่นดินชุด บางแสน ดำเนินสะดวก
6) อัลฟิ โซลส์ (Alfisols)
- เป็ นดินมีการพัฒนาหน้าตัดปานกลาง (ชั้น B มีการสะสมดินเหนียว)
- เกิดในสภาพพืชพรรณที่เป็ นป่ า
- พบตั้งแต่เขตร้อนชื้น – เย็น
- มีความเป็ นด่างและความอุดมสมบูรณ์สูง ปลูกพืชได้ดี
- ในประเทศไทยมี 9.16%
ตัวอย่างชุดดิน เช่น กำแพงแสน
นครปฐม หางดง แม่สาย ฯลฯ
7) อัลติโซลส์ (Ultisols)
- เป็ นดินที่มีการพัฒนาสูงกว่าอัลฟิ โซลส์ (ชั้น B มีการสะสมดินเหนียว)
- พบได้ในทั้งเขตป่ าไม้, ทุ่งหญ้า, ที่ลุ่มแฉะ
- มีความอุดมสมบูรณ์นอ้ ยกว่าอัลฟิ โซลส์และมอลลิโซลส์
- ถ้ามีการจัดการดี ถึงจะให้ผลผลิตพืชได้ดี
- ในประเทศไทยพบ 42.13%
เช่นดินชุด แม่ริม แม่แตง โคราช ร้อยเอ็ด
วาริ น ยโสธร ชุมพร ฯลฯ
8) สปอโดโซลส์ (Spodosols)
- เป็ นดินมีการพัฒนาหน้าตัดปานกลาง (ชั้น B มีกาสะสม Fe และ O.M.)
- เกิดจากวัตถุตน้ กำเนิดเนื้อหยาบที่เป็ นกรด
- พืชพรรณธรรมชาติเป็ นป่ าที่ชุ่มชื้น ในเขตหนาวอบอุ่น
- มีการชะล้างที่ดินบนมาก ทำให้ดินเป็ นกรด
- มีความอุดมสมบูรณ์ต ่ำ
-ในไทยพบ 0.12%ของพื้นที่
เช่นดินชุด บ้านดอน ท่าอุเทน
9) ออกซิโซลส์ (Oxisols)
- มีการพัฒนามากและผุพงั ของแร่ มาก
- มีหน้าดินลึกมาก
- พบมากในเขตร้อน เช่น แอฟริ กากลาง, อินโดนีเซีย
- เหมาะสำหรับปลูกไม้ยนื ต้น
- ในไทยพบ 0.03%
เช่นดินชุด ท่าใหม่ โชคชัย
10) แอนดิโซลส์ (Andisols)
- เป็ นดินที่เกิดจากเถ้าภูเขาไฟ
- มีอายุนอ้ ย ผุพงั อยูก่ บั ที่
- ไม่พบในประเทศไทย
11) ฮิสโตโซลส์ (Histosols)
- เป็ นดินอินทรี ย ์ มีวตั ถุอินทรี ยส์ ูงมาก (O.C. > 12%)
- พบในพื้นที่ที่มีดินอิ่มตัวด้วยน้ำ
- ไม่เหมาะต่อการปลูกพืช
- ในประเทศไทยพบ 0.14% ของพื้นที่ภาคใต้
เช่น ชุดดินนราธิวาส, กาบแดง
สรุป
- ไม่มีดินแอนดิโซลส์และแอริ ดิโซลส์
- ส่ วนใหญ่เป็ นดินอันดับ อัลติโซลส์ อัลฟิ โซลส์ และอินเซปติ
โซลส์

You might also like