You are on page 1of 14

การปรับปรุงพันธุพ์ ชื เพือ่ ต้านทานโรคและแมลง

Breeding for Pest Resistance


ความต้านทานแมลง
* พืชชนิ ดหนึ่ ง ๆ ไม่ได้ถกู แมลงทุกชนิ ดเข้าทำลาย
* แมลงชนิ ดหนึ่ ง ๆ ไม่ได้เข้าทำลายพืชทุกชนิ ด
สำหรับพืชอาศัยที่แมลงเข้าทำลายได้ อาจมีบาง genotypes ที่ตา้ นทาน
ต่อแมลงชนิ ดนั้น ซึ่งเกิดจากการคัดเลือกโดยธรรมชาติ หรือการปรับปรุง
พันธุพ์ ชื
ความต้านทานแมลง
การคัดเลือกพืชอาศัยของแมลง
1. ตำแหน่ งของแหล่งที่อยู่ของพืชอาศัย แมลงที่อพยพจากแหล่งอืน่
2. ตำแหน่ งของพืชอาศัย สี ผิวสัมผัส รูปร่าง (ระยะไกลและใกล้)
3. การยอมรับเป็ นพืชอาศัย รสชาติ การกระตุน้ จากสารเคมี ความแข็ง
สารเคลือบผิวใบ ขนใบ
4. ความเพียงพอของการเป็ นพืชอาศัย ธาตุอาหาร การไม่เป็ นพิษ
วิธกี ารที่พชื ต้านทานแมลง
1. ความไม่เหมาะหรือไม่ชอบที่จะเป็ นพืชอาศัย (Nonpreference; antixenosis)
1.1 ลักษณะของพืชที่ทำให้แมลงไม่ชอบใช้เป็ นแหล่งอาหาร อาศัย หรือ
วางไข่
เช่น สี การสะท้อนแสง ขนใบ กลิ่น รส รูปร่างของใบและต้น สารเคมี
(Fitt et al., online)* เพลี้ยอ่อนชอบถัว่ พันธุท์ ่มี ีสเี ขียวอมน้ำเงินมากกว่าพันธุท์ ่มี ีสเี ขียวอมเหลือง
* เพลี้ยอ่อนชอบกระหล่ำปลี พันธุท์ ่ีสะท้อนแสงความเข้มต่ำมากที่สดุ

Okra leaf and frego bract


วิธกี ารที่พชื ต้านทานแมลง
* ถัว่ เหลืองที่ปราศจากขนใบ จะถูกทำลายโดยเพลี้ยกระโดดได้มากกว่า
* ความต้านทานต่อตัก๊ แตนในข้าวโพดและข้าวฟ่ าง มีความสัมพันธ์กบั รส
* พันธุท์ ่มี ีใบแผ่กว้าง เหมาะแก่การเข้าพักอาศัยและวางไข่ มากกว่าพันธุท์ ่มี ี
ใบตัง้
วิธกี ารที่พชื ต้านทานแมลง
1. ความไม่เหมาะหรือไม่ชอบที่จะเป็ นพืชอาศัย (Nonpreference; antixenosis)
1.2 สารเคมี
1. เป็ นพิษต่อแมลง
2. เพิม่ ความแข็งของต้นพืช
3. สารเคมีท่ดี ึงดูดแมลง (attractants) หรือที่ไล่แมลง (repellents)
Insect Response Positive Negative
Orientation Attracts/ Arrests Repels
Feeding Excites Suppresses
วิธกี ารที่พชื ต้านทานแมลง
2. ผลร้ายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นแก่วงจรชีวติ ของแมลง (Antibiosis)
เนื้ อเยื่อพืชที่แมลงใช้เป็ นอาหารมีผลเสียต่อการพัฒนาและการสืบพันธุข์ องแมลง
เช่น - ยับยัง้ การเจริญเติบโต - เพิม่ อัตราการตาย
- ยืดระยะเวลาการพัฒนาเป็ นตัวเต็มวัย
- ลดช่วงอายุของตัวเต็มวัย
- ไม่มีธาตุอาหารที่แมลงต้องการ
- มีความผิดปกติทางสัณฐานวิทยา
- มีพฤติกรรมผิดปกติ
วิธกี ารที่พชื ต้านทานแมลง
2. Antibiosis อาจเกิดจากสัณฐานของพืช หรือสารเคมีบางอย่างในพืช
* พันธุฝ์ ้ ายที่มี gossypol มากต้านทานต่อแมลงบางชนิ ดได้ดีกว่า
* ข้าวโพดที่ตา้ นทานต่อหนอนเจาะมี cralylosyl
flavone maysin ที่ไหม
* ข้าวโพดที่ตา้ นทานต่อหนอนเจาะลำต้นมี DIMBOA
วิธกี ารที่พชื ต้านทานแมลง

3. ความทนทาน (Tolerance) การที่พชื สามารถเจริญเติบโต ให้ผลผลิต


ได้ ถึงแม้ว่าจะมีแมลงเข้าทำลายในระดับที่ทำความเสียหายแก่พชื ที่ไม่
ทนทาน ความสามารถในการสร้างราก ใบ หรือ ต้นใหม่ของพืชมีอทิ ธิพลต่อ
ความทนทานต่อความเสียหาย เช่น ข้าวฟ่ างทนทานต่อ greenbug
Mechanisms of resistance
Antibiosis Antixenosis Tolerance

มีผลต่อชีววิทยาของแมลง การตอบสนองของพืชต่อการ
มีผลต่อพฤติกรรมของแมลง
อัตราการเจริญเติบโต ความสมบูรณ์พนั ธุ ์ อาหาร การวางไข่ เข้าทำลายของแมลง
ระยะเวลาในการพัฒนา การซ่อมแซม การชดเชย การทนต่อบาดแผล
พันธุศาสตร์ของการต้านทานแมลง

* การต้านทานแมลงถูกควบคุมโดยยีน 1 คู่ (monogenic) น้อยคู่


(oligogenic) หรือมากคู่ (polygenic)

* แมลงบางชนิ ดมีหลายสายพันธุ ์ (race; biotype) ซึ่งอาจมีความจำเพาะ


ในการเข้าทำลาย
การปรับปรุงพันธุเ์ พือ่ ให้ตา้ นทานแมลง

1. รายละเอียดเกี่ยวกับแมลง ต้องทราบชีพจักร วิธกี ารทำลาย


การป้ องกันกำจัด วิธกี ารเลี้ยงแมลงเพือ่ ใช้ในการคัดเลือก ควรให้มี
ระดับการระบาดเกิดขึ้นเหมือนธรรมชาติ
การปรับปรุงพันธุเ์ พือ่ ให้ตา้ นทานแมลง
2. การตรวจสอบพืช การตรวจสอบเพือ่ แยกพืชต้านทานหรือไม่
ต้านทานมีวธิ กี ารแตกต่างกันขึ้นอยู่กบั ชนิ ดของพืชและแมลง อาจทำ
ในแปลงปลูกหรือในเรือนเพาะชำ การทำให้แมลงระบาดอาจทำโดย
ปลูกพันธุท์ ่ไี ม่ตา้ นทานแทรกลงไปในแปลงหรือรอบๆแปลง (Fitt et al., online)
การปรับปรุงพันธุเ์ พือ่ ให้ตา้ นทานแมลง

3. แหล่งของความต้านทาน จากแหล่งรวบรวมพันธุ ์ นักปรับปรุงพันธุ ์


พืชพันธุป์ ่ า พันธุจ์ ากถิ่นกำเนิ ดของแมลง พืชชนิ ดอืน่ ที่ผสมข้ามได้
หรือจากการปลูกตรวจสอบหลายพันธุ ์

วิธกี ารปรับปรุงอาจใช้การผสมกลับ วิธบี นั ทึกประวัติ


วิธเี ก็บรวม หรือวิธคี ดั เลือกซ้ำ

You might also like