You are on page 1of 24

รายงานสถานการณ์

การควบคุมและปิดกั้นสื่อออนไลน์
ด้วยการอ้างกฎหมายและแนวนโยบายแห่งรัฐไทย

โดยคณะวิจยั ​“ผลกระทบจากพระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการกระท�ำความผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550


และนโยบายของรัฐกับสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น”
รายงานสถานการณ์การควบคุมและปิดกั้นสื่อออนไลน์ด้วยการอ้างกฎหมาย
และแนวนโยบายแห่งรัฐไทย
ส่วนหนึง่ ของโครงการวิจยั ผลกระทบจากพระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการกระท�ำความผิด​
เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และนโยบายของรัฐกับสิทธิเสรีภาพในการแสดง
ความคิดเห็น
คณะวิจัย :
สาวตรี สุขศรี หัวหน้าโครงการ
ศิริพล กุศลศิลป์วุฒิ
อรพิณ ยิ่งยงพัฒนา
ผู้ช่วยคณะวิจัย :
ดนุช วัลลิกุล
ยิ่งชีพ อัชฌานนท์
ธนกฤต เปี่ยมมงคล
ทิวสน สีอุ่น
บรรณาธิการต้นฉบับภาษาอังกฤษ :
อเล็ก แบมฟอร์ด
ผู้แปล :
ปกป้อง ลาวัณย์ศิริ
ออกแบบปก :
บัณฑิต เอือ้ วัฒนานุกูล
ออกแบบรูปเล่ม :
วิภาพร มาศรีนวล
จัดท�ำโดย :

โครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน http://ilaw.or.th

สนับสนุนโดย :
มูลนิธิไฮน์ริค เบิลล์
สารบัญ
ส่วนที่ 1 ข้อมูลสถิติ 6
- ผลการศึกษาเรื่อง สถิติการด�ำเนินคดีตามพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 7
-- บทวิเคราะห์และข้อสังเกตต่อจ�ำนวนคดีความผิดทีเ่ กีย่ วกับเนือ้ หาในสือ่ ออนไลน์ 10
- ผลการศึกษาเรื่อง การใช้ค�ำสั่งตามกฎหมายเพื่อระงับการเผยแพร่ข้อมูล 13
-- บทวิเคราะห์และข้อสังเกตจากการระงับการเข้าถึงข้อมูล 15

ส่วนที่ 2 กฎหมายและแนวนโยบายแห่งรัฐที่ส่งผลกระทบต่อสิทธิเสรีภาพใน
การแสดงความคิดเห็นบนสื่อออนไลน์ 16
ประเทศสหรัฐอเมริกา 16
สหพันธรัฐเยอรมนี 17
สาธารณรัฐประชาชนจีน 20
ประเทศมาเลเซีย 21
ประเทศไทยกับกฎหมายควบคุมสื่อ และสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น 23
รายงานสถานการณ์ การควบคุมและปิดกัน้ สือ่ ออนไลน์
ด้วยการอ้างกฎหมายและแนวนโยบายแห่งรัฐไทย
8 ธันวาคม 2553

าตรา 451 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 รับรองสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นไม่วา่ ​


ด้วยวิธกี ารใด ๆ และสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของประชาชน รวมทัง้ ให้ความคุม้ ครองการน�ำเสนอ​
ข่าวสารของผู้ประกอบวิชาชีพสื่อมวลชนไว้อย่างชัดเจน บทคุ้มครองในที่นี้หมายรวมทั้งสื่อดั้งเดิม (สื่อกระแส​
หลัก) และสื่อทางเลือกรูปแบบใหม่ แต่ภายใต้ระบอบการปกครองโดยกฎหมาย (นิติรัฐ) การใช้สิทธิเสรีภาพของ​
บุคคลจ�ำต้องอยูภ่ ายในขอบเขตตามทีก่ ฎหมายก�ำหนดเสมอ ดังนัน้ จึงเห็นได้วา่ แม้แต่ในรัฐธรรมนูญเองก็บญ ั ญัติ
ให้อ�ำนาจรัฐก�ำหนดมาตรการทางกฎหมาย เพื่อจ�ำกัดหรือควบคุมการใช้สิทธิเสรีภาพในเรื่องดังกล่าวได้ ทั้งนี้
ด้วยเหตุผล 4 ประการ คือ เพื่อความมั่นคงแห่งรัฐ เพื่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน
เพื่อคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลหรือชื่อเสียงของบุคคลอื่น และเพื่อป้องกันหรือระงับความเสื่อมทรามทางจิตใจหรือ
สุขภาพของประชาชน
อย่างไรก็ตาม แม้ในฐานะผูใ้ ช้อำ� นาจปกครอง รัฐจะสามารถตรากฎหมายหรือใช้มาตรการอืน่ ใดเพือ่ จัดการดูแล​
รวมทั้งกลั่นกรองหรือควบคุมสิทธิเสรีภาพได้ แต่การตรากฎหมายหรือการใช้มาตรการเหล่านั้นก็ต้องเป็นไป
เพียงเท่าที่จ�ำเป็น และจะกระทบสาระสําคัญแห่งสิทธิและเสรีภาพนั้นมิได้ รวมทั้งต้องใช้บังคับอย่างเสมอหน้า
เท่าเทียมไม่เลือกปฏิบัติ2 แต่กลับปรากฏว่า ในช่วงเวลาหลายปีที่ผ่านมา รัฐบาลไทยโดยหน่วยงานผู้รับผิดชอบ​

1
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 45 “บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การพูด การเขียน การพิมพ์ การโฆษณา และ
การสื่อความหมายโดยวิธีอื่น
การจํากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่ง จะกระท�ำมิได้ เว้นแต่ โดยอาศัย อํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายเฉพาะเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ
เพื่อคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพ เกียรติยศ ชื่อเสียง สิทธิในครอบครัวหรือความเป็นอยู่ส่วนตัวของบุคคลอื่น เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีล
ธรรมอันดีของประชาชน หรือเพื่อป้องกันหรือระงับความเสื่อมทรามทางจิตใจหรือสุขภาพของประชาชน
การสั่งปิดกิจการหนังสือพิมพ์หรือสื่อมวลชนอื่นเพื่อลิดรอนเสรีภาพตามมาตรานี้ จะกระทํามิได้
การห้ามหนังสือพิมพ์หรือสื่อมวลชนอื่น เสนอข่าวสารหรือแสดงความคิดเห็น ทั้งหมดหรือบางส่วน หรือการแทรกแซงด้วยวิธีการใดๆ เพื่อ
ลิดรอนเสรีภาพตามมาตรานี้ จะกระทํามิได้เว้นแต่ โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายซึ่งได้ตราขึ้นตามวรรคสอง
การให้นําข่าวหรือ บทความไปให้เจ้าหน้าที่ตรวจก่อนนําไปโฆษณาในหนังสือพิมพ์หรือสื่อมวลชนอื่น จะกระทํามิได้ เว้นแต่ จะกระทําใน
ระหว่างเวลาที่ประเทศอยู่ในภาวะสงคราม แต่ทั้งนี้จะต้องกระทําโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายซึ่งได้ตราขึ้นตามวรรคสอง
เจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์หรือสือ่ มวลชนอืน่ ต้องเป็นบุคคลสัญชาติไทย
การให้เงินหรือทรัพย์สิน อื่นเพื่ออุดหนุนกิจการหนังสือพิมพ์หรือสื่อมวลชนอื่นของเอกชนรัฐจะกระทํามิได้”
2
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 29 “การจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลที่รัฐธรรมนูญรับรองไว้ จะกระทํามิได้ เว้นแต่โดยอาศัย​
อํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายเฉพาะเพื่อการที่รัฐธรรมนูญนี้กาํ หนดไว้และเท่าทีจ่ ำ� เป็น และจะกระทบกระเทือนสาระสําคัญแห่งสิทธิและ
เสรีภาพนัน้ มิได้
กฎหมายตามวรรคหนึ่งต้องมีผลใช้บังคับเป็นการทั่วไป และไม่มุ่งหมายให้ใช้บังคับแก่กรณีใดกรณีหนึง่ หรือ แก่บคุ คลใดบุคคลหนึง่ เป็นการ
เจาะจง ทัง้ ต้องระบุบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญที่ให้อํานาจในการตรากฎหมายนั้นด้วย
บทบัญญัติในวรรคหนึ่งและวรรคสองให้น�ำมาใช้บังคับกับกฎที่ออกโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายด้วยโดยอนุโลม”

4 รายงานสถานการณ์การควบคุมและปิดกั้นสื่อออนไลน์ ด้วยการอ้างกฎหมายและแนวนโยบายแห่งรัฐไทย
กลั บ บั ญ ญั ติ ก ฎหมายและใช้ ม าตรการควบคุ ม และ พระราชก�ำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉกุ เฉิน
แทรกแซงการเสนอข้อมูลข่าวสารของสื่อมวลชนอย่าง พ.ศ. 25484 แทรกแซงปิดกั้นข่าวสารโดยปราศจาก
เกินขอบเขต และมีลกั ษณะเลือกปฏิบตั ิ มีการปิดเว็บไซต์ เหตุผล ทั้งที่การระบุเจาะจงเนื้อหาที่เป็นความผิดได้​
จ�ำนวนมากโดยไม่ให้เหตุผลที่ชัดเจนว่าเนื้อหาส่วนใด​ เป็ น “เงื่ อ นไขการใช้ อ� ำ นาจ” ที่ ก� ำ หนดไว้ ใ นตั ว​
ทีเ่ ป็นความผิด หรือในกรณีทรี่ ะบุกย็ งั อาจถกเถียงกันได้ พระราชก�ำหนดฯ เอง นอกจากนี้ ยังมีเหตุการณ์ที่​
ว่าเนื้อหาที่ถูกปิดกั้นนั้นถึงขั้นเป็นความผิด เป็นภัยต่อ​ ท�ำให้เชื่อได้ว่า รัฐใช้บังคับกฎหมายอย่างไม่เสมอภาค​
ความมั่นคง หรือขัดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน เท่าเทียม เพราะในขณะทีเ่ นือ้ หาและภาพข่าวทีม่ รี ะดับ
หรือไม่ ทั้งนี้ด้วยปัญหาความคลุมเครือแห่งถ้อยค�ำ​ ความรุนแรงในการน�ำเสนอแบบเดียวกัน รัฐกลับเลือก
ในตัวกฎหมายเอง ประกอบการใช้การตีความทีก่ ว้างขวาง​ ด�ำเนินการเฉพาะกับสื่อกลุ่มที่น�ำเสนอข้อมูลด้านที่​
เป็นอัตวิสัยของเจ้าหน้าที่ อีกทั้งการปิดกั้นเว็บไซต์ใน รัฐเห็นว่าไม่เป็นมิตรหรืออยูค่ นละฝ่ายกับตน แต่ปล่อยสือ่ ​
หลายกรณี รัฐมิได้ใช้ชอ่ งทางกฎหมาย เช่น ขอหมายศาล​ อีกกลุ่มหนึ่งเสนอข่าวได้ตามปกติ แม้ในช่วงที่ผ่านมา​
ก่อน ดังที่ก�ำหนดไว้ในพระราชบัญญัติว่าการด้วยการ​ มีความพยายามจากหลายภาคส่วนเสนอข้อร้องเรียน​
กระท�ำความผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 25503 (ต่อไป​ ต่อสาธารณะ รวมทั้งน�ำคดีขึ้นสู่ศาล แต่ก็ไม่ได้รับการ​
จะเรียกว่า พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์) แต่ใช้วธิ ขี อความร่วมมือ​ ตอบสนองเท่าที่ควร อีกทั้งยังมีบางกรณีที่ศาลปฏิเสธ​
จากผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารอิ น เทอร์ เ น็ ต เพื่ อ ระงั บ การเผยแพร่ ไม่ตรวจสอบการใช้อ�ำนาจของฝ่ายบริหาร (ตัวอย่าง​
เว็บไซต์ทรี่ ฐั เห็นว่า “ไม่เหมาะสม” ซึง่ อาจไม่ใช่เว็บไซต์ คดีหมายเลขแดงที่ 1812/2553 ประชาไทฟ้องนายก
ที่เข้าข่ายเป็นความผิดต่อกฎหมาย รัฐมนตรีและศอฉ.กรณีค�ำสั่งปิดเว็บ) ยิ่งกว่านั้น​
สถานการณ์การควบคุมปิดกัน้ สือ่ ออนไลน์รนุ แรงขึน้ ​ ยังปรากฏด้วยว่า ประชาชนและผูใ้ ห้บริการอินเทอร์เน็ต
นับตัง้ แต่ประเทศไทยประสบปัญหาความไม่สงบ อันเกิด​ จ�ำ นวนไม่ น ้ อ ยต้ อ งตกเป็ น จ� ำเลยด้ ว ยข้ อ หาท� ำ นอง​
จากความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างบุคคลหลายกลุม่ น�ำเสนอเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม หรือเป็นความผิดโดยใช้
ในช่วงวิกฤตการณ์การเมืองดังกล่าว ทางที่ถูกต้อง กฎหมายหลายฉบับประกอบกัน
แล้ว รัฐควรเป็นเสาหลักในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ ด้วยข้อเท็จจริงอันน่ากังวลและไม่สอดคล้องกับ
ในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและการแสดงความคิดเห็น การปกครองในระบอบประชาธิปไตยต่างๆ ดังกล่าวมา​
ของประชาชน เพราะเป็นห้วงยามจ�ำเป็นที่ประชาชน โครงการวิ จั ย “ผลกระทบจากพ.ร.บ.ว่ า ด้ ว ยการ
ควรได้รับข้อมูลข่าวสารอย่างครบถ้วนรอบด้าน เพื่อ กระท� ำ ความผิ ด เกี่ ย วกั บ คอมพิ ว เตอร์ พ.ศ. 2550
สามารถประเมินสถานการณ์ทั้งในด้านความปลอดภัย และนโยบายของรัฐ กับสิทธิเสรีภาพในการแสดง
ต่อชีวิต ร่างกาย ทรัพย์สิน ด้านสังคม รวมทั้งด้าน ความคิดเห็น” โดยคณะผู้วิจัย ซึ่งร่วมมือกับโครงการ
การเมืองการปกครอง แต่รัฐกลับอาศัยอ�ำนาจตาม​ อินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน (iLaw) ภายใต้​

3
มาตรา 20 พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ “ในกรณีที่การกระท�ำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้เป็นการท�ำให้แพร่หลายซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่อาจ
กระทบกระเทือนต่อความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรตามที่ก�ำหนดไว้ในภาคสองลักษณะ 1 หรือลักษณะ 1/1 แห่งประมวลกฎหมายอาญา หรือ
ที่มีลักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน พนักงานเจ้าหน้าที่โดยได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีอาจยื่นค�ำร้อง
พร้อมแสดงพยานหลักฐานต่อศาลทีม่ เี ขตอ�ำนาจขอให้มคี ำ� สัง่ ระงับการท�ำให้ แพร่หลายซึง่ ข้อมูลคอมพิวเตอร์นนั้ ได้ ในกรณีทศี่ าลมีคำ� สัง่ ให้ระงับ
การท�ำให้แพร่หลายซึง่ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามวรรคหนึง่ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ท�ำการระงับการท�ำให้แพร่หลายนั้นเอง หรือสั่งให้ผู้ให้บริการระงับ
การท�ำให้แพร่หลายซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นก็ได้”
4
มาตรา 9 พระราชก�ำหนดบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน “ในกรณีที่มีความจ�ำเป็นเพื่อแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินให้ยุติลงได้โดยเร็ว หรือ
ป้องกันมิให้เกิดเหตุการณ์ร้ายแรงมากขึ้นให้นายกรัฐมนตรีมีอ�ำนาจออกข้อก�ำหนด ดังต่อไปนี้...
(3) ห้ามการเสนอข่าว การจ�ำหน่าย หรือท�ำให้แพร่หลายซึ่งหนังสือ สิ่งพิมพ์ หรือสื่ออื่นใดที่มีข้อความอันอาจท�ำให้ประชาชนเกิดความ
หวาดกลัวหรือเจตนาบิดเบือนข้อมูลข่าวสารท�ำให้เกิดความเข้าใจผิดในสถานการณ์ฉุกเฉิน จนกระทบต่อความมั่นคงของรัฐ หรือความสงบ
เรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ทั้งในเขตพื้นที่ที่ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินหรือทั่วราชอาณาจักร...”

5
การสนับสนุนโดย มูลนิธิไฮน์ริค เบิลล์ จึงได้ศึกษา
สืบค้น และรวบรวมข้อมูลต่างๆ ทั้งกฎหมาย นโยบาย
แห่งรัฐ (เชิงเปรียบเทียบกับต่างประเทศ) โดยเฉพาะ
อย่างยิง่ จ�ำนวนเว็บไซต์ทถี่ กู ปิดกัน้ และจ�ำนวนคดีความ​
ส่ วนที่ 1
สถิติการด�ำเนินคดี และการระงับการเข้าถึง
ที่เกี่ยวพันกับสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นใน
สื่อออนไลน์ในทุกชั้นกระบวนพิจารณาคดี นับตั้งแต่
เว็บไซต์ ภายหลังประกาศใช้ พ.ร.บ. ว่าด้วยการ
วันที่ประกาศใช้พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ เพื่อให้เห็นความ กระท�ำความผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
สัมพันธ์ของการบังคับใช้กฎหมายและนโยบายแห่งรัฐ​
ที่ส่งผลกระทบต่อบรรยากาศแสดงความคิดเห็นใน แหล่งข้อมูล และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกับคดีความผิด
สังคมไทย และน�ำไปสู่การจัดท�ำข้อเสนอแนะแนวทาง เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
แก้ไขโดยอาศัยการวิเคราะห์เปรียบเทียบประสบการณ์ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ เป็นร่างกฎหมายฉบับแรก​
ด้านการใช้กฎหมาย และนโยบายของต่างประเทศ ที่เข้าสู่การพิจารณาของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และ
อนึง่ สถิตติ วั เลขต่างๆ ทีป่ รากฏอยูใ่ นรายงานฉบับนี้​ ผ่านการพิจารณาอย่างรวดเร็วจนกลายเป็นกฎหมาย
เป็นข้อมูลที่ได้รับความอนุเคราะห์จากบางหน่วยงาน ฉบับแรกที่ถูกประกาศใช้ในคณะรัฐมนตรีของ พล.อ.
ที่เกี่ยวข้องเท่านั้น แม้จะสามารถน�ำไปอ้างอิงต่อได้ สุรยุทธ์ จุลานนท์ เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2550
แต่การอ้างอิงนั้นควรต้องแสดงข้อจ�ำกัดในเรื่องความ ทั้ ง นี้ โ ดยมี ก ระทรวงเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการ
ครบถ้วนของข้อมูลและแหล่งข้อมูลประกอบด้วยเสมอ5​ สื่อสารเป็นหน่วยงานหลักในการดูแลการบังคับใช้และ
นอกจากนี้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของการจัดการ ประสานความร่วมมือกับอีกหลายหน่วยงาน อาทิ กรม
อภิปรายครั้งแรก ซึ่งมุ่งเน้นที่การเผยแพร่ข้อมูลที่เก็บ สอบสวนคดีพเิ ศษ (DSI) และส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ
รวบรวม และเปิดเป็นประเด็นสาธารณะ เนือ้ หาในส่วน (สตช.) อย่างไรก็ตาม ปรากฏข้อเท็จจริงว่าจนถึงปัจจุบนั ​
ที่เกี่ยวกับกฎหมาย นโยบายแห่งรัฐ และปรากฏการณ์ จ�ำนวนพนักงานเจ้าหน้าทีท่ มี่ คี วามรูค้ วามสามารถเพียงพอ​
ภาคประชาชนซึ่งเปรียบเทียบกับต่างประเทศ จึงน�ำ ในการท� ำ คดี ใ นความผิ ด กลุ ่ ม นี้ ก็ ยั ง มี จ� ำ นวนไม่ ม าก​
เสนอในภาพกว้างซึง่ เป็นเพียงส่วนหนึง่ ของการท�ำวิจยั เมือ่ เทียบกับจ�ำนวนความผิดทีถ่ กู แจ้งความ6 โดยเฉพาะ​
ในช่วงแรกของโครงการฯ เท่านั้น รายละเอียดทั้งหมด อย่างยิ่ง พนักงานเจ้าหน้าที่ในส่วนภูมิภาค ส่งผลให้​
รวมทั้งข้อเสนอแนะคณะผู้วิจัยจะได้น�ำเสนอต่อไปใน คดีความทีถ่ กู แจ้งยังสถานีตำ� รวจพืน้ ทีต่ า่ งๆ ในประเทศไทย​
รายงานฉบับสมบูรณ์ มักถูกโอนไปยังหน่วยงานส่วนกลางทีค่ าดว่าน่าจะมีความ​

5
ข้อจ�ำกัดของงานศึกษาในด้านการเก็บสถิตคิ ดีความ และการระงับการเข้าถึงเว็บไซต์ : ข้อมูลของการด�ำเนินคดีทเี่ กิดขึน้ ตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์
นั้น ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานใดของรัฐ (ที่คณะผู้วิจัยยื่นค�ำขอข้อมูล) จัดสารบบ หรือท�ำระบบสืบค้นคดีที่ยินยอมให้บุคคลภายนอกเข้าถึงได้
เป็นการทั่วไป จึงต้องใช้วิธีการยื่นค�ำขอและท�ำการสืบค้นที่หน่วยงานเอง โดยบางหน่วยงานไม่สามารถเปิดเผยข้อมูลได้ด้วยหลากหลายเหตุผล
อาทิ มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างองค์กร, เจ้าหน้าที่ที่ดูแลข้อมูลเพิ่งเข้าท�ำงานใหม่จึงไม่รู้ระบบ, ข้อมูลคดีไม่ได้อยู่ในรูปดิจิตอล ซึ่งบุคลากรผู้
ดูแลโยกย้ายไปแล้วและน�ำเอกสารจดข้อมูลนัน้ ไปด้วย กระทัง่ เหตุผลว่า หน่วยงานไม่เคยมีการรวบรวมหมวดหมูข่ องคดีคอมพิวเตอร์เอาไว้ อย่างไร
ก็ตาม หากบางหน่วยงานท�ำสารบบไว้ ก็เป็นการท�ำบันทึกแบบย่อไม่ได้ลงรายละเอียดของคดีแบบครบถ้วน
เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้ งานศึกษานี้จึงพยายามขอข้อมูลจากหน่วยงาน และบุคลากรที่เกี่ยวข้องให้ได้มากเท่าที่จะสามารถท�ำได้ โดยน�ำ
ข้อมูลทัง้ หมดมาประมวลผลเข้าด้วยกัน ข้อมูลในงานศึกษาชิน้ นีจ้ งึ คงเป็นเพียงสถิตคิ ดีขนั้ ต�ำ่ ทีส่ ามารถรวบรวมได้ในช่วงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2550–
กรกฎาคม พ.ศ. 2553 เท่านั้น โดยข้อมูลที่คณะผู้วิจัยไม่สามารถเข้าถึงได้ส่วนใหญ่เป็นข้อมูลในชั้นพนักงานสอบสวนหรือเจ้าหน้าที่ต�ำรวจซึ่ง
กระจัดกระจายอยู่ตามสถานีต�ำรวจในภูมิภาค
6
การด�ำเนินคดีตามพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ กฎหมายก�ำหนดว่าต้องด�ำเนินการโดยพนักงานเจ้าหน้าทีซ่ งึ่ ได้รบั การแต่งตัง้ โดยรัฐมนตรีวา่ การกระทรวง
ไอซีที โดยต้องมีคุณสมบัติความเชี่ยวชาญในการท�ำคดีด้านนี้ เว้นแต่กฎหมายระบุเป็นข้อยกเว้นไว้ว่าพนักงานเจ้าหน้าที่อาจไม่ต้องมีคุณสมบัติ
ครบถ้วนได้ ตามทีร่ ฐั มนตรีเห็นควร ในปัจจุบนั มีเจ้าหน้าทีต่ ามพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์จำ� นวนเพียง 96 คน (อ้างอิงจากประกาศกระทรวงเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร เรื่องแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ ฉบับที่ 1 – 8) กระจายอยู่ในหน่วยงานต่างๆ เช่น กรม
สอบสวนคดีพเิ ศษ กระทรวงไอซีที กระทรวงวัฒนธรรม กรมการทหารสือ่ สาร และส�ำนักข่าวกรองแห่งชาติ ซึง่ แทบทัง้ หมดอยูใ่ นกรุงเทพมหานคร

6 รายงานสถานการณ์การควบคุมและปิดกั้นสื่อออนไลน์ ด้วยการอ้างกฎหมายและแนวนโยบายแห่งรัฐไทย
เชี่ยวชาญในเรื่องนี้​ อาทิ​ กองบังคับการปราบปราม ผลการศึกษาเรื่อง : ส¶ÔÔตÔการ´�าเ¹Ô¹ค´Õ
อาชญากรรมทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยี​ (บก.ปศท.)​ ตาม พ.ร.บ.คอมพÔÇเตอร
ซึ่งเดือนกันยายน​ 2552​ มีการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง
องค์กร​ แยกเป็นสองฝ่าย​ คือ​ กองบังคับการปราบ จากการรวบรวมข้ อ มู ล ตั้ ง แต่ เ ดื อ นกรกฎาคม
ปรามอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ​ (บก.ปอศ.)​ และ พ.ศ.​2550 – เดือนกรกฎาคม​พ.ศ.​2553​พบว่ามีคดีความ
กองบังคับการปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี​ ตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ทั้งสิ้น​ 185 คดี โดยเป็น
(บก.ปอท.)​ เพื่อรับผิดชอบเรื่องเฉพาะทาง​ ปัจจุบัน​ คดีทเี่ ริม่ ต้นในปี​พ.ศ. 2550​จ�านวน​9​คดี​ปี​พ.ศ.2551
บก.ปอท.​จึงเป็นหน่วยงานทีด่ แู ลคดีเกีย่ วกับเทคโนโลยี จ�านวน​28​คดี​ปี​พ.ศ. 2552​จ�านวน​72​คดี​และปี​
โดยตรง​​อย่างไรก็ตาม​เนือ่ งจากอาชญากรรมทีเ่ กิดขึน้ พ.ศ. 2553​อีกจ�านวน​76​คดี
บนอินเทอร์เน็ตเกีย่ วพันกับความผิดหลายประเภท
ดั ง นั้ น ​ คดี เ ทคโนโลยี จึ ง คาบเกี่ ย วกั บ หลาย จ�านวนคดีตาม​พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์​
หน่วยงาน​อาทิเช่น​หากเป็นความผิดเกี่ยวกับ ตั้งแต่เดือน​กรกฎาคม​พ.ศ.​2550​-​กรกฎาคม​พ.ศ.​2553
การเผยแพร่สงิ่ ลามกคดีจะอยูก่ บั กองบังคับการ 80
76
ปราบปรามการกระท�าผิดต่อเด็ก​ เยาวชน​ และ 70
72
สตรี​ (ปดส.)​ ในขณะที่บางเรื่องคาบเกี่ยวกับ 60
งานของกองบั ง คั บ การปราบปรามการกระ 50
ท�าความผิดเกี่ยวกับการค้ามนุษย์​ หากเป็นคดี 40
เกี่ยวกับความมั่นคงของรัฐ​ คดีจะอยู่ในความ
30 28
ดูแลของหน่วยงานอย่างกองบังคับการปราบ
20
ปราม​(Crime​Suppression​Division)​หรือ
กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ​(DSI)​เป็นต้น​ซึง่ ปรากฏ 10 9
ว่าในปี​ พ.ศ.​2553​มีคดี​ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 0
2550​ ​​2551​ ​​​​2552​ ​​​​​​2553
จ�านวนมากที่อยู่ในความดูแลของสองหน่วย จ�านวนคดีต่อปี
งานดังกล่าว​
อนึง่ ​เนือ่ งจากโครงการศึกษานี​้ ในส่วนของการวิจยั
ภาคสนาม​มุง่ ศึกษาผลกระทบจากการใช้​พ.ร.บ.​คอมพิวเตอร์ ทัง้ นี​้ สามารถจ�าแนกคดีตาม​“ชัน้ ของกระบวนการ
ผ่านข้อมูลสองประเภท​คือ​สถิตกิ ารด�าเนินคดี​และสถิติ พิจารณาคดี”​ รวมทั้ง​ “ผลของคดี”​ ออกได้ดังนี้​ 1)​
การระงับการเข้าถึงเว็บไซต์​จึงได้ทา� การรวบรวมข้อมูล คดีที่อยู่ในชั้นพนักงานสอบสวนหรือเจ้าหน้าที่ต�ารวจ​
จากหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง​ดังต่อไปนี้​ 74​คดี​ ​2)​คดีที่พนักงานอัยการสั่งฟ้อง​43​คดี​ 3)​
•​กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร​ คดีที่พนักงานอัยการสั่งไม่ฟ้อง 1 คดี​ ​ 4)​ คดีที่มีการ
​​(ไอซีที)​ ไกล่เกลี่ย/ยอมความ/ถอนฟ้อง​ 10​ คดี​ 5)​ คดีที่ศาล
•​กองบังคับการปราบปรามอาชญากรรมทาง พิพากษายกฟ้องโจทก์​ 2​คดี​ ​6)​คดีที่ศาลพิพากษา
​​เศรษฐกิจ​(บก.ปอศ.) ว่าจ�าเลยมีความผิด​ 37​ คดี​ ​ 7)​ คดีที่ศาลพิพากษา
•​กองบังคับการปราบปรามอาชญากรรมทาง แล้ว​ แต่ไม่สามารถเข้าถึงผลการพิจารณาคดีได้​ 14​
​​เทคโนโลยี​(บก.ปอท.) คดี​และ​8)​คดีทพี่ นักงานสอบสวนตัง้ ข้อหาตามพ.ร.บ.​
•​กรมสอบสวนคดีพิเศษ​กระทรวงยุติธรรม​ คอมพิวเตอร์​ แต่พนักงานอัยการไม่ได้สั่งฟ้องตาม
​​(DSI) ข้อหาดังกล่าว​ หรือศาลไม่ได้พิพากษาว่าเป็นความผิด
•​กองบังคับการปราบปราม​ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ​ ตามพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์อีก​4​คดี
•​ศาลอาญา

7
กล่ า วส� า หรั บ ประเภทของการ
ขั้นตอนทางคดี
​​​​​​​​อัยการ ศาล กระท�าความผิดทีเ่ กีย่ วกับคอมพิวเตอร์
ประเภทความคิด สืบสวน
สอบสวน สั่งฟ้อง ไม่สั่งฟ้อง
ไม่ตั้งข้อหา​
ไกล่เกลี่ย​
ยอมความ​ ยกฟ้อง
พิพากษาว่า​ ตัดสินแต่
รวม
ตาม​พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์นนั้ ​ควรต้อง
พรบ.คอมฯ ผิด ไม่รู้ผล
ถอนฟ้อง ทราบด้วยว่า​สามารถจ�าแนกได้เป็น​
ความผิดต่อระบบ
(มาตรา​5-12)
26 8 0 1 2 1 6 1 45 2​ประเภทใหญ่ๆ​ด้วยกัน​คือ​
ความผิดทีว่ า่
1)​ อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
ด้วยเนือ้ หา​ 48 30 1 3 8 1 31 6 128 ในรูปแบบดัง้ เดิม​ซึง่ เป็นการกระท�า
(มาตรา​14-16)
ความผิ ด ต่ อ ตั ว ข้ อ มู ล หรื อ ระบบ
ไม่สามารถระบุได้ 0 5 0 0 0 0 0 7 12
คอมพิวเตอร์​โดยตรงตามมาตรา​5-13
รวม 74 43 1 4 10 2 37 14 185
อาทิ​การเจาะระบบ​การดักข้อมูล​หรือ
ความคืบหน้าของคดีตาม​พ.ร.บ.​คอมพิวเตอร์​จ�าแนกตามประเภทความผิด การก่อวินาศกรรมคอมพิวเตอร์ด้วย
การเผยแพร่โปรแกรมท�าลาย​ฯลฯ
2)​ความผิดทีว่ า่ ด้วยตัวเนือ้ หาของข้อมูลทีน่ า� เข้าสูร่ ะบบคอมพิวเตอร์ทปี่ ระชาชนสามารถเข้าถึงได้ตามมาตรา​
14-16​ เช่น​ การเผยแพร่ภาพลามก​ การเผยแพร่ขอ้ มูลทีข่ ดั ต่อความมัน่ คง​ หรือการหมิน่ ประมาทด้วยการตัดต่อภาพ​
เป็นต้น​
จากการเก็บสถิติคดีในช่วงเวลา​ 3​ ปีภายหลังพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์มีผลใช้บังคับ​ หากพิจารณาสัดส่วนของคดี
ต่างๆ​ที่ศาลพิพากษาแล้ว​จะพบว่าเป็นคดีที่เป็นความผิดต่อตัวระบบหรือตัวข้อมูลคอมพิวเตอร์​ ซึ่งอยู่ในหมวด
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์แบบดั้งเดิม​จ�านวน​45​คดี​ ​คิดเป็นร้อยละ​24.32​ของคดีทั้งหมด​ในขณะที่คดีที่
เป็นความผิดที่ว่าด้วยเนื้อหามีจ�านวนถึง​128​คดี​คิดเป็นร้อยละ​69.19​ของคดีทั้งหมด​นอกนั้นเป็นส่วนที่ข้อมูล
ไม่ชัดเจนอีก​12​คดี​หรือร้อยละ​6.49

คดีตาม​พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ทั้งหมด คดีตาม​พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ที่ศาลพิจารณาเสร็จแล้ว

ความผิดต่อตัวระบบ​(24.32%) ความผิดต่อตัวระบบ​(15.09%)
ความผิดโดยเนื้อหา​(69.19%) ความผิดโดยเนื้อหา​(71.70%)
ไม่ระบุ​(6.49%) ไม่ระบุ​(13.21%)

สัดส่วนคดีพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์​จ�าแนกตามประเภทความผิด

8 รายงานสถานการณ์การควบคุมและปิดกั้นสื่อออนไลน์ ด้วยการอ้างกฎหมายและแนวนโยบายแห่งรัฐไทย
โดยในบรรดาคดีต่างๆ เหล่านี้สามารถจ�ำแนกตาม อันดับสาม คือ เนือ้ หาทีเ่ ป็นการดูหมิน่ พระมหากษัตริย์​
ประเภทของความผิด และประเภทของเนื้อหาที่เป็น​ 31 คดี อันดับทีส่ ี่ คือ เนือ้ หาเรือ่ งอืน่ ๆ และทีไ่ ม่สามารถ​
ความผิดออกได้ 8 ประเภทด้วยกัน โดยเรียงตามล�ำดับ ระบุได้ 26 คดี อันดับห้า คือ เนือ้ หาทีเ่ ป็นความผิดทีเ่ กีย่ วกับ​
ความมากน้อยของจ�ำนวนคดี ดังนี้ สิง่ ลามก 12 คดี อันดับหก คือ การขายโปรแกรมทีเ่ ข้าข่าย
อันดับหนึง่ คือ เนือ้ หาทีเ่ ป็นการหมิน่ ประมาทบุคคล ผิดกฎหมาย 10 คดีอนั ดับเจ็ด คือ การก่ออาชญากรรม​
อืน่ จ�ำนวน 54 คดี อันดับสอง คือ เนือ้ หาทีเ่ ป็นความผิดฐาน คอมพิวเตอร์ประเภทดั้งเดิม 8 คดี และอันดับแปด
ฉ้อโกง 38 คดี (ฉ้อโกงโดยใช้อนิ เทอร์เน็ตเป็นเครือ่ งมือ)​ คือ เนื้อหาที่เป็นความผิดเกี่ยวกับความมั่นคง 6 คดี

ความ หมิน่ หมิ่น อาชญกรรม ขาย


คดี พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ มั่นคง ประมาท สถาบัน ลามก ฉ้อโกง คอมพิวเตอร์ดงั้ เดิม โปรแกรม อื่นๆ รวม
คดีที่อยู่ระหว่างการสืบสวน 2 12 24 1 16 5 10 4 74
สอบสวน
คดีที่อัยการสั่งฟ้องแล้ว 2 16 3 1 10 1 0 10 43
คดีที่อัยการสั่งไม่ฟ้อง 1 0 0 0 0 0 0 0 1
คดีที่อัยการหรือศาลไม่ได้ตั้ง 0 3 0 0 1 0 0 0 4
ข้อหา ตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ *
คดีที่มีการไกล่เกลี่ย 0 6 0 0 3 0 0 1 10
ยอมความ ถอนฟ้อง
คดีที่ศาลยกฟ้อง 0 1 0 0 0 1 0 0 2
คดีที่ศาลพิพากษาแล้ว 1 14 4 8 7 1 0 2 37
คดีที่ศาลตัดสินแล้ว 0 2 0 2 1 0 0 9 14
แต่ไม่รู้ผล**
รวม 6 54 31 12 38 8 10 26 185

ความคืบหน้าของคดีตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ แจกแจงตามลักษณะของเนือ้ หาหรือการกระท�ำทีส่ ง่ ผลให้ถกู ด�ำเนินคดี

นอกจากการจ�ำแนกข้อมูลตามประเภทความผิดดังกล่าวแล้ว จากข้อมูลคดีความที่รวบรวม ยังสามารถน�ำมา​


จ�ำแนกตามหมวดหมูผ่ ฟู้ อ้ งร้องพบว่า อันดับหนึง่ บุคคลทัว่ ไปเพศหญิง 40 คดี อันดับสอง เป็นคดีทไี่ ม่ปรากฏแน่ชดั
ว่าเริ่มต้นโดยใคร 30 คดี อันดับสาม นิติบุคคล 27 คดี อันดับสี่ บุคคลทั่วไปเพศชาย 26 คดี อันดับห้า กระทรวง​
ไอซีที 7 16 คดี อันดับหก บก. ปอท. 14 คดี อันดับเจ็ด กองบังคับการปราบปราม 9 คดี อันดับแปด หน่วยงานรัฐ​
อื่นๆ 8 คดี อันดับเก้า กรมสอบสวนคดีพิเศษ8 5 คดี อันดับสิบ คือ ปดส. 4 คดี อันดับสิบเอ็ดและสิบสอง คือ
บก.ปอศ. และต�ำรวจท้องที่ ซึ่งตามข้อมูลปรากฏว่าฟ้องหน่วยงานละ 3 คดี

7
แม้ในรายงานวิจัยฉบับนี้ จะมีข้อมูลว่า มีคดีที่กระทรวงไอซีทีฟ้องร้องทั้งสิ้นเพียง 16 คดี แต่ในจ�ำนวนนี้มี 1 คดี ที่กระทรวงไอซีทีแจ้งความ
ไว้กับต�ำรวจกองบังคับการปราบปราม โดยใช้วิธียื่นบัญชีรายชื่อเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาเข้าข่ายดูหมิ่นพระมหากษัตริย์ ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 112 ปัจจุบนั คดีดงั กล่าวยังอยูร่ ะหว่างการสอบสวนในชัน้ เจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจ ซึง่ หากพิจารณาจากส�ำนวนคดี ประกอบกับรายชือ่ ยูอาร์แอล​
ที่ไอซีทียื่นไว้ทั้งหมด 1,037 ยูอาร์แอล คาดหมายว่าจะต้องมีคดีที่ว่าด้วยเรื่องนี้อีกทั้งหมดราว 997 คดี
8
กรมสอบสวนคดีพิเศษเป็นอีกหน่วยงานหนึ่งที่แจ้งกับทีมวิจัยว่า ยังมี “คดีล้มเจ้า” ที่อยู่ในระหว่างการสอบสวนอีกจ�ำนวนหนึ่ง ซึ่งไม่สามารถ
เปิดเผยข้อมูลได้ กระบวนการด�ำเนินคดี อยู่ในช่วงของการสืบสวนสอบสวนเว็บไซต์ต่างๆ ที่อาจมีความเชื่อมโยงกัน

9
บทวิเคราะห์ และข้อสังเกตต่อจ�านวนคดี ต้องเกรงว่าตนจะถูกจับได้​จนเป็นเหตุให้มีสถิติการน�า
ความผิดที่เกี่ยวกับเนืéอหาในสื่อออนไลน์ ซึ่งส่งผล คดีหมิน่ ประมาทขึน้ สูศ่ าลมากกว่าในสมัยก่อน​ทัง้ นีไ้ ม่วา่
โดยตรงต่อสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น โจทก์จะรู้ตัวผู้กระท�าหรือไม่ก็ตาม​ นอกจากนี้​ ในช่วง
หลายปีทผี่ า่ นมายังปรากฏข้อเท็จจริงว่า​คดีหมิน่ ประมาท
หากพิจารณาจากสถิตคิ ดีความทัง้ หมดซึง่ คณะผูว้ จิ ยั จ�านวนไม่นอ้ ยถูกใช้เป็นเครือ่ งมือการเมือง​นักการเมือง
สามารถเข้าถึงและรวบรวมได้​ จะเห็นว่าภายหลัง ฟ้องร้องซึ่งกันและกัน​ หรือฟ้องร้องสื่อมวลชน​ ไม่ว่า
ประกาศใช้​พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ราว​3​ปี​ความผิดทีเ่ กิดจาก จะฟ้องเป็นคดีอาญา​ หรือฟ้องเป็นคดีแพ่งเพื่อเรียก
เนื้อหามีสัดส่วนสูงมากเมื่อเปรียบเทียบกับความผิดที่ ร้ อ งค่ า สิ นไหมทดแทนจ� า นวนมหาศาล​ อย่ า งไรก็
เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ในหมวดอื่นๆ​ โดยความผิดที่ ดี​ มีข้อควรต้องสังเกตด้วยว่า​ โดยการใช้การตีความ
เกิดขึ้นจะถูกตั้งข้อหาตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์​ ทั้งที่ กฎหมายแล้ว​ฐานความผิดที่ว่าด้วยการหมิ่นประมาท​
ใช้ฉบับเดียว​ และทั้งที่ใช้ประกอบกับกฎหมายฉบับอื่น​ แม้จะเกิดขึ้นในสื่อออนไลน์​ก็สามารถใช้​มาตรา​423
ซึ่งอาจตั้งเป็นข้อสังเกตได้ดังนี้ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์​และมาตรา​328
แห่ ง ประมวลกฎหมายอาญาบั ง คั บได้ อ ยู ่ แ ล้ ว ​ โดย
จ�านวนคดีตามพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์​จ�าแนกตามเนื้อหา ไม่จ�าเป็นต้องอาศัยตัวบทใน​ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์อีก​
แต่ในทางปฏิบัติกลับพบว่า​ คดีหมิ่นประมาทที่เกิดขึ้น
ในอินเทอร์เน็ตจ�านวนมากอยู่ในสารบบเดียวกันกับคดี
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์โดยผู้เกี่ยวข้องใช้วิธีการ
ฟ้ อ งตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ ​ หรื อ
ประมวลกฎหมายอาญาประกอบกับมาตรา​ 14​ (1)
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์อกี ทีหนึง่ ​​(เพราะมิใช่การหมิน่ ประมาท
ด้วยการตัดต่อภาพทีจ่ ะใช้มาตรา​16​พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์
ได้โดยตรง)​​ทัง้ ทีใ่ นความเป็นจริงแล้ว​ไม่วา่ จะตีความ
ตามเจตนารมณ์ของผู้ร่างกฎหมาย​ และตามถ้อยค�า
ความมั่นคง​(3.24%) แห่งมาตรา​14​(1)​พ.ร.บ.​คอมพิวเตอร์เอง​การน�าเข้าสู่
หมิ่นประมาท​(29.19%) ระบบคอมพิวเตอร์ซงึ่ ข้อมูลปลอมหรือเท็จจนอาจท�าให้
หมิ่นสถาบัน​(16.76%) ผูอ้ นื่ ได้รบั ความเสียหายนัน้ ​หาได้ใช้ในความหมายท�านอง
ลามก​(6.49%) เดียวกับการหมิ่นประมาท​ หรือท�านองเดียวกับการ
ฉ้อโกง​(20.54%) กล่าวหาผูอ้ นื่ ไม่​เช่นนีย้ อ่ มแสดงให้เห็นว่า​ฝ่ายผูบ้ งั คับใช้
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ดั้งเดิม​(4.32%)
กฎหมายรวมทั้งองค์กรในกระบวนการยุติธรรมยังขาด
ขายโปรแกรม​(5.41%)
อื่นๆ​(14.05%)
ความเข้าใจ​พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์อย่างดีพอ​และน�ามาใช้
กับฐานความผิดบางฐานอย่างผสมปนเป​สะท้อนออกมา
เป็นตัวเลขในสถิตคิ ดี​พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์​ทัง้ ๆ​ทีค่ ดีนนั้
1) ความผิดฐานหมิ่นประมาท :​ เนื่องจากการ อาจไม่มคี วามจ�าเป็นต้องใช้กฎหมายว่าด้วยคอมพิวเตอร์
ติดต่อสื่อสารในอินเทอร์เน็ตนั้น​ผู้รับ-ส่งสาร​สามารถ เลยก็ตาม​​​
ปิดบังตัวตนที่แท้จริงได้​ การสืบย้อนรอยอาจท�าได้
ก็จริงอยู่​ แต่ไม่ใช่เรื่องง่ายเหมือนเช่นในสังคมจริงๆ​ 2) ความผิดที่เกี่ยวกับการเผยแพร่ภาพลามกฯ​ :​
ผู้เล่นอินเทอร์เน็ตจึงสามารถต่อว่าด่าทอ​ กล่าวหากัน​ ความสามารถในการปิดบังตัวตน​ ประกอบกับความ
กระทัง่ น�าภาพหรือเรือ่ งส่วนตัวของบุคคลอืน่ มาเผยแพร่ สามารถของเทคโนโลยีการสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตที่
จนน�ามาซึง่ ความเสียหายต่อชือ่ เสียง​เกียรติยศ​โดยไม่ รวดเร็ว​และเข้าถึงง่าย​เป็นปัจจัยทีเ่ อือ้ ให้อนิ เทอร์เน็ต

10 รายงานสถานการณ์การควบคุมและปิดกั้นสื่อออนไลน์ ด้วยการอ้างกฎหมายและแนวนโยบายแห่งรัฐไทย
กลายเป็นแหล่งส�ำคัญในการเผยแพร่ภาพวาบหวิว​ ส�ำหรับรูปแบบของการด�ำเนินคดีนั้น โดยหลัก
โป๊เปลือย ซึ่งอาจถูกตีความว่าผิดกฎหมายว่าด้วยการ แล้วความผิดเรื่องนี้มักถูกตั้งข้อหาว่าผิด มาตรา 14
แพร่ภาพลามกอนาจาร และเช่นเดียวกันกับความผิด (2) น�ำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์
ฐานหมิ่นประมาท คือ มีฐานความผิดว่าด้วยการเผย อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อ​
แพร่ภาพลามกปรากฏอยู่ในประมวลกฎหมายอาญา ความมัน่ คงของประเทศหรือก่อให้เกิดความตืน่ ตระหนก​
มาตรา 287 อยู่แล้ว แต่ฝ่ายผู้ร่าง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ แก่ประชาชน และมาตรา 14 (3) น�ำเข้าสูร่ ะบบคอมพิวเตอร์​
เห็นว่า ควรน�ำเรื่องนี้มาก�ำหนดไว้ให้ชัดเจน เพื่อ ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใดๆ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับ​
ป้องกันปัญหาตีความไม่ถงึ อย่างไรก็ตาม ความสัมพันธ์ ความมัน่ คงแห่งราชอาณาจักร หรือความผิดเกีย่ วกับ​
ระหว่างมาตรา 287 ประมวลกฎหมายอาญา กับ การก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา นอกจากนี้​
มาตรา 14 (4) พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ น่าจะอยู่ในรูปแบบ​ หากกระท�ำการในลักษณะส่งต่อจะมีมาตรา 14 (5)​
ของกฎหมายทัว่ ไป กับกฎหมายเฉพาะ ดังนัน้ หากปรากฏ ประกอบ โดยในจ�ำนวนคดีทงั้ หมด มี 25 คดีทถี่ กู ตัง้ ข้อหา​
ว่าในความผิดเรือ่ งเดียวกันหรือมีลกั ษณะเหมือนกันทัง้ ​ ว่าหมิน่ สถาบันฯ ตามมาตรา 112 ประมวลกฎหมายอาญา​
ในกฎหมายทั่วไปและกฎหมายเฉพาะ ก็ให้ใช้กฎหมาย​ ควบคูไ่ ปกับความผิดตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ และหาก
เฉพาะก่อน ซึ่งกรณีนี้จะไม่ถือเป็นการกระท�ำความผิด​ ถูกฟ้องในฐานะตัวกลาง หรือผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
“กรรมเดียวหลายบท” ด้วย แต่ในทางปฏิบัติที่เกิดขึ้น​ เจ้าพนักงานจะใช้มาตรา 15 พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 9 ด้วย
คือ เมื่อมีการประกาศใช้ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์แล้ว​ หากติดตามสถานการณ์ในเรือ่ งนีอ้ ยูบ่ า้ ง ย่อมเห็น
เจ้าหน้าที่ต�ำรวจและอัยการมักตั้งข้อหาควบคู่กันไป​ ได้วา่ ในช่วงเวลาดังกล่าวนี้ หน่วยงานหลายแห่งไม่วา่ ​
คือ ผิดทัง้ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ และผิดประมวลกฎหมาย​ จะเป็นรัฐบาล ทหาร ต�ำรวจ กระทรวงเทคโนโลยี​
อาญา ซึง่ ศาลเองก็มคี ำ� พิพากษาออกมาในแนวทางนัน้ ​ สารสนเทศฯ กระทรวงยุตธิ รรม กระทรวงวัฒนธรรม
จนอาจมีค�ำถามว่าถูกต้องหรือไม่ ต่างก็มนี โยบายสอดส่องพฤติกรรม และความคิดเห็น​
ของประชาชนในอินเทอร์เน็ต นโยบายรัฐที่เริ่มมี
3) ดูหมิน่ พระมหากษัตริย์ : ในช่วง 3 ปีทปี่ ระกาศ ลักษณะเน้นหนักไปในเชิงควบคุมเนื้อหา โดยเฉพาะ
ใช้ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ มีคดีที่เข้าข่ายหมิ่นสถาบันฯ​ อย่างยิง่ ออกจากกระทรวงไอซีที ปรากฏเรือ่ ยมา ตัง้ แต่
รวม 31 คดี กระทรวงไอซีทีเป็นต้นเรื่องหรือผู้ฟ้อง นายสิทธิชยั โภไคยอุดม (ด�ำรงต�ำแหน่งรัฐมนตรีวา่ การ
16 คดี กองบังคับการปราบปราม 6 คดี ดีเอสไอ 4 กระทรวงไอซีทีตั้งแต่วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2549 ถึง​
คดี ปอท. 2 คดี เลขานุการนายกฯ 1 คดี และเป็น 30 กันยายน พ.ศ. 2550) นายโฆสิต ปัน้ เปีย่ มรัษฎ์ (รักษา​
บุคคลทั่วไป 2 คดี ซึ่งในจ�ำนวนนี้ศาลพิพากษาแล้ว ราชการแทน 1 ตุลาคม พ.ศ. 2550 ถึง 6 กุมภาพันธ์​
4 คดี อัยการสั่งฟ้องแล้ว 3 คดี และอยู่ระหว่างการ พ.ศ. 2551) นายมั่น พัธโนทัย (ด�ำรงต�ำแหน่งวันที่ 6​
สอบสวนอีก 21 คดี กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 ถึง 2 ธันวาคม พ.ศ. 2551) ร.ต.หญิง​
แต่เจ้าหน้าทีจ่ ากกรมสอบสวนคดีพเิ ศษหรือดีเอสไอ​ ระนองรักษ์ สุวรรณฉวี (ด�ำรงต�ำแหน่งวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. ​
ให้ข้อมูลเพิ่มเติมด้วยว่า ยังมีคดีที่อยู่ในชั้นพนักงาน​ 2551 ถึง 6 มิถนุ ายน พ.ศ. 2553) และ นายจุติ ไกรฤกษ์​
สอบสวนอีกจ�ำนวนมากเรียกว่า “คดีลม้ เจ้า” แต่ไม่สามารถ​ (ด�ำรงต�ำแหน่งวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2553 ถึง​
เปิดเผยตัวเลขหรือให้ขอ้ มูลได้ อีกทัง้ ยังมีคดีทกี่ ระทรวง ปัจจุบนั ) โดยให้ความส�ำคัญกับเนือ้ หาทีไ่ ม่เหมาะสม หรือ​
ไอซีทีเป็นผู้ฟ้อง ซึ่งคาดว่าอาจมีอีก 997 คดี วิพากษ์วจิ ารณ์สถาบันต่างๆ อย่างสถาบันพระมหากษัตริย์​

9
จากคดีทั้งหมด มีผู้ถูกฟ้องตามมาตรา 15 พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ จ�ำนวนทั้งสิ้น 11 คดี ทั้งนี้มีคดีที่น่าสนใจ อาทิ คดีเจ้าของเว็บไซต์ 212cafe
ซึ่งให้บริการฟรีเว็บบอร์ด โดยได้รับแจ้งว่ามีภาพลามกในเว็บบอร์ด แต่ไม่ใช่การแจ้งจากเจ้าหน้าที่โดยตรง และสามารถน�ำภาพออกได้ทัน ไม่กี่
วันหลังจากนั้นเจ้าหน้าที่ต�ำรวจจึงเข้าจับกุม อีกคดีหนึ่ง คือ คดีฟ้องผู้อ�ำนวยการเว็บไซต์ประชาไท จากความเห็นในเว็บบอร์ดซึ่งมีคนแจ้งว่าอาจ
เข้าข่ายเป็นความผิดฐานหมิ่นสถาบันฯ ท้ายข่าวประชาไทซึ่งโดยตัวเนื้อข่าวไม่เป็นความผิด นอกจากนี้ ก็คือ กรณีเว็บไซต์พันทิปถูกฟ้องข้อหา
หมิ่นประมาท ในฐานะเป็นคนกลางเปิดพื้นที่ให้ผู้ใช้บริการแสดงความเห็นจนเกิดการหมิ่นประมาทกันขึ้น

11
ศาสนา ศาล และบางยุ ค สมั ย ยั ง รวมไปไกลถึ ง​ เข้าข่ายดูหมิ่นสถาบันฯ แล้วน�ำมาต่อว่าด่าทอในพื้นที่
การควบคุม เนื้อ หาที่วิพากษ์วิจารณ์การท� ำงานของ​ ออนไลน์ (เสียบประจาน) ค้นหาข้อมูลส่วนบุคคลของ​
รัฐบาลหรือนายกรัฐมนตรี ผู้ถูกเสียบประจานมาเผยแพร่เป็นการทั่วไป โดยมี​
ที่ผ่านมา นอกจากแนวนโยบายในการเร่งปิดกั้น​ ข้อเท็จจริงว่า กรมสอบสวนคดีพิเศษก็เข้าด�ำเนินคดี​
เว็บไซต์ ด�ำเนินคดีกบั ผูใ้ ช้และผูใ้ ห้บริการ แถลงผลงาน​ ในเวลาต่อมา10 2) คดีความในข้อหานี้ หน่วยงานใน
เว็บไซต์ที่ไล่ปิดได้ในสมัยของแต่ละคนแล้ว ยังมีการ​ กระบวนการยุตธิ รรมไม่วา่ อยูใ่ นชัน้ การพิจารณาใด มัก​
จัดตั้งเครือข่ายกรมพลาธิการทหารเรือเพื่อส่งเสริม ด�ำเนินการแบบปิดลับ ไม่ยอมเปิดเผยรายละเอียดแห่งคดี​
และปกป้ อ งสถาบั น พระมหากษั ต ริ ย ์ บ นเครื อ ข่ า ย โดยอ้างเรื่องความเหมาะสมและความมั่นคง ดังนั้น
อินเทอร์เน็ต ศูนย์ปฏิบตั กิ ารความปลอดภัยอินเทอร์เน็ต จ�ำนวนคดีทเี่ ปิดเผยกับจ�ำนวนคดีทไี่ ม่ถกู เปิดเผย จึงอาจ
(Internet Security Operation Center หรือ ISOC)​ มีความแตกต่างกันอย่างมาก ดังกล่าวไปแล้วว่า สถิติ​
ลูกเสือไซเบอร์ และการเซ็นสัญญาความร่วมมือ (MOU)​ คดีความในรายงานชิน้ นี้ คณะผูว้ จิ ยั ยังไม่ได้นบั รวมเอา
3 กระทรวง คือ กระทรวงไอซีที กระทรวงยุติธรรม​ คดีหนึง่ ของกองบังคับการปราบปรามทีม่ าจากไอซีทดี ว้ ย
และกระทรวงวัฒนธรรม เพือ่ ช่วยตรวจสอบอินเทอร์เน็ต​ การยืน่ 1,037 ยูอาร์แอล ให้พจิ ารณา ซึง่ กองบังคับการ
และสร้างสือ่ ของรัฐในเชิงตอบโต้ โดยมีแนวทางในการ​ ปราบปรามได้แบ่งแยกย่อยให้พนักงานสืบสวนไปสืบหา
ด�ำเนินการสองแนวทาง คือ หนึง่ เทิดทูนสถาบันฯ โดยจัดท�ำ​ เบาะแสต่อนับได้อีก 997 ส�ำนวนไว้ด้วยเลย
เว็บไซต์เผยแพร่คลิป บทความ และวีดิทัศน์ ผ่านช่อง
ทางอินเทอร์เน็ต และ สอง ป้องกันและปราบปราม 4) เนื้อหาที่กระทบต่อความมั่นคง ขัดต่อศีลธรรม
การหมิ่นสถาบันฯ บนอินเทอร์เน็ต ตรวจหาเว็บไซต์​ อันดีฯ : ในพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฉบับนีใ้ ห้ความส�ำคัญกับ
ทีม่ ีข้อความเข้าข่ายความผิดเกีย่ วกับการหมิ่นสถาบันฯ การรักษาความมั่นคงของประเทศเป็นอย่างมาก โดย
และแจ้งเตือน รายงานต่อผู้บังคับบัญชา กระทั่งการ ก�ำหนดความผิดไว้ทั้งในมาตรา 14 (2) และ (3) จน
แจ้งความด�ำเนินคดี เมื่อน�ำนโยบายรัฐมาประกอบ ท�ำให้สงสัยได้ว่า ในเมื่อมีมาตรา 14 (3) ที่สามารถ
ตัวบทกฎหมายฉบับต่างๆ ที่มีอยู่ ซึ่งล้วนแล้วแต่ถูก​ เชือ่ มไปสูฐ่ านความผิดในประมวลกฎหมายอาญาหมวด
ตั้งค�ำถามถึงปัญหาความคลุมเครือของถ้อยค� ำและ ทีว่ า่ ด้วยความผิดต่อความมัน่ คงซึง่ มีความชัดเจนเพียง
การใช้ ก ารตี ค วาม ย่อ มท� ำให้จ� ำนวนคดีเพิ่มสูงขึ้น​ พออยู่แล้ว เหตุผลใดจึงต้องบัญญัติมาตรา 14 (2) ว่า
เป็นธรรมดา ซึ่งคดีเหล่านี้จ�ำนวนไม่น้อยที่อาจกล่าว ด้วยเรื่องความมั่นคงอีกวงเล็บหนึ่ง จนในท้ายที่สุด​
ได้ว่า พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ถูกใช้ในฐานะเป็นเครื่องมือ​ มาตรานีอ้ าจถูกใช้เป็นเครือ่ งมือเล่นงานกันทางการเมือง​
ทางการเมืองเพือ่ เล่นงานฝ่ายตรงข้าม โดยเฉพาะอย่างยิง่ ​ ทั้งนี้ด้วยปัญหาความคลุมเครือของถ้อยค�ำจนท�ำให้
การใช้พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์รว่ มกับมาตรา 112 เรือ่ งดูหมิน่ ​ พนักงานเจ้าหน้าที่มีดุลพินิจในการตีความอย่างมาก
พระมหากษัตริย์ และโดยลักษณะการด�ำเนินคดีความมัน่ คงทัง้ หมด 6 คดี​
อนึ่ง มีข้อควรสังเกตเพิ่มเติมด้วยว่า 1) คดีที่เกิด อย่างไรก็ตาม มีการประเมินกันว่า ด้วยปัญหาการใช้​
ขึน้ ในช่วงหนึง่ ปีทผี่ า่ นมาจ�ำนวนหนึง่ มีสว่ นเกีย่ วพันกับ การตีความดังกล่าวมาประกอบกับสถานการณ์การเมือง​
กลุม่ ยุทธการลงทัณฑ์ทางสังคม หรือ Social Sanction จ�ำนวนคดีเกี่ยวกับความมั่นคงอาจเพิ่มสูงขึ้นอีกมาก
ในบริการ Social Network (Facebook, Twitter) ซึง่ โดยน่าจะมีทั้งที่ตั้งเป็นข้อหาเดี่ยวๆ และตั้งควบคู่ไป
ด�ำเนินการในลักษณะตรวจหาผู้เผยแพร่เนื้อหาที่อาจ กับความผิดฐานหมิ่นสถาบันฯ หรือฐานก่อการร้าย

10
วิธีการเสียบประจานเกิดขึ้นและแพร่หลายไปในเว็บบอร์ดหลายแห่ง เมื่อปลายเดือนเมษายน พ.ศ. 2553 มีผู้ใช้เฟซบุ๊ครายหนึ่งเขียนข้อความ
ในเฟซบุ๊คของตน ถูกน�ำมาเสียบประจานกล่าวหาว่าดูหมิ่นสถาบันฯ กลุ่มผู้ใช้เว็บบอร์ดจ�ำนวนหนึ่งช่วยกันค้นหารายละเอียดของบุคคลนั้นแล้ว
น�ำมาเผยแพร่ หลังจากนั้นกรมสอบสวนคดีพิเศษเข้าจับกุมบุคคลนี้ในวันถัดมา นอกจากนี้ ยังมีผู้ใช้เฟซบุ๊คอีกรายที่เข้าไปตอบความเห็น​
ท้ายข้อความทีถ่ กู กล่าวหาว่าหมิน่ สถาบันฯ ถูกเสียบประจานในเว็บบอร์ดด้วยในเวลาต่อมา ปัจจุบนั ทัง้ คูถ่ กู จับกุมด�ำเนินคดีแล้ว ภายใต้ความดูแล​
ของกรมสอบสวนคดีพิเศษ

12 รายงานสถานการณ์การควบคุมและปิดกั้นสื่อออนไลน์ ด้วยการอ้างกฎหมายและแนวนโยบายแห่งรัฐไทย
ผลการศึกษาเรื่อง การใช้ค�ำสั่งตามกฎหมาย เว็บเพจเลียนแบบหน้าเว็บไซต์ของธนาคารเพือ่ หลอกให้
เพื่อระงับการเผยแพร่ข้อมูล เหยื่อป้อนเลขหมายผู้ใช้ และรหัสผ่านเพื่อท�ำธุรกรรม
การเงินออนไลน์ ซึ่งมีค�ำสั่งศาลออกมาอย่างละฉบับ
นับแต่ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์มีผลบังคับใช้ รัฐไทย ให้ระงับการเข้าถึง 3 และ 2 ยูอาร์แอล ตามล�ำดับ
โดยปฏิบัติการผ่านทางรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงไอซีที นอกจากนี้ ยังมีค�ำสั่งศาลอีก 1 ฉบับ ให้ปิดกั้น 3​
สามารถใช้มาตรการปิดกัน้ หรือระงับการท�ำให้แพร่หลาย​ ยูอาร์แอล ด้วยเหตุผลว่าเป็นเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาที่อาจ
ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ “อาจกระทบกระเทือนต่อ​ ท�ำให้เข้าใจรัฐบาลผิด เกี่ยวกับเหตุการณ์การควบคุม
ความมัน่ คงแห่งราชอาณาจักรฯ หรือทีม่ ลี กั ษณะขัดต่อ การชุมนุมจนอาจก่อให้เกิดความปั่นป่วนหรือกระด้าง
ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน” ได้ กระเดื่องในหมู่ประชาชน
โดยอาศัยอ�ำนาจตาม มาตรา 20 ของพระราชบัญญัติ​ ส�ำหรับรายชือ่ ของเว็บไซต์ทถี่ กู ระงับการเข้าถึง โดย
ฉบั บ ดั ง กล่ า ว ซึ่ ง ก� ำ หนดว่ า พนั ก งานเจ้ า หน้ า ที่​ เฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการดูหมิ่น​
โดยได้ รั บ ความเห็ น ชอบจากรั ฐ มนตรี ไ อซี ที อ าจยื่ น พระมหากษัตริย์ พระราชินี และรัชทายาท ถูกเก็บเป็น
ค� ำ ร้ อ ง พร้ อ มแสดงพยานหลักฐานต่อ ศาลที่มีเขต ความลับห้ามเผยแพร่
อ�ำนาจขอให้มีค�ำสั่งระงับการท�ำให้แพร่หลายซึ่งข้อมูล และนอกจากค�ำสัง่ ระงับการเข้าถึงเว็บไซต์โดยศาล
เหล่านั้นได้ และตั้งแต่ประกาศใช้ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ ทีเ่ กิดขึน้ ภายใต้ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ แล้ว ทีมวิจยั ยังพบว่า​
เป็นต้นมา คณะผู้วิจัยพบว่า เคยมีค�ำสั่งศาลให้ระงับ​ เจ้าหน้าทีร่ ฐั ปิดกัน้ เว็บไซต์โดยใช้วธิ กี ารหรือช่องทางอืน่ ​
การเข้าถึงเว็บไซต์ตา่ งๆ ทัง้ หมด 117 ฉบับ โดยในปี พ.ศ. ด้วย เช่น ส่งหนังสือขอความร่วมมือไปยังผู้ให้บริการ​
2550 ศาลมีคำ� สัง่ ให้ปดิ กัน้ การเข้าถึงเว็บไซต์จ�ำนวน 2 ระดับต่างๆ และที่ส�ำคัญคือการใช้อ�ำนาจตามพระราช​
ยูอาร์แอล ปี พ.ศ. 2551 จ�ำนวน 2,071 ยูอาร์แอล ปี พ.ศ. ​ ก�ำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉกุ เฉิน พ.ศ.2548​
2552 จ�ำนวน 28,705 ยูอาร์แอล และปีี พ.ศ. 2553 จาก​ ซึง่ ประกาศใช้ในหลายพืน้ ทีต่ งั้ แต่เดือนเมษายน พ.ศ.2553​
ต้นปีจนถึงเดือนพฤศจิกายน จ�ำนวน 43,908 ยูอาร์แอล​ จนปัจจุบนั แหล่งข้อมูลจากผูใ้ ห้บริการอินเทอร์เน็ตระบุวา่ ​
รวมจ�ำนวนหน้าที่ถูกระงับการเผยแพร่โดยมีค�ำสั่งศาล จ� ำ นวนเว็ บ ไซต์ ที่ มี ค� ำ สั่ ง จากศอฉ.ให้ ป ิ ด กั้ น นั้ น​
ทั้งสิ้น 74,686 ยูอาร์แอล มี จ� ำ นวนเป็ น ตั ว เลขในหลั ก หลายหมื่ น ทั้ ง นี้ โ ดยมี​
นอกจากจ�ำนวนยูอาร์แอลที่ถูกระงับการเผยแพร่ รู ป แบบการปิ ด กั้ น ที่ แ ตกต่ า งไปจากการปิ ด กั้ นโดย​
แล้ว ข้อมูลจากศาลอาญายังระบุด้วยว่า เหตุผลของ​ กระทรวงไอซีทดี ว้ ย เพราะในขณะที่ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์​
ค�ำสั่งระงับการเข้าถึงยูอาร์แอลต่างๆ ดังกล่าวนั้น ก�ำหนดให้ไอซีทีปิดกั้นเว็บไซต์ได้เพียงเฉพาะส่วนที่​
อันดับหนึ่ง คือ เนื้อหาดูหมิ่นพระมหากษัตริย์ ซึ่งมี​ น่าจะมีปญ ั หาเท่านัน้ ตามค�ำสัง่ ศาล แต่ ศอฉ. สามารถ
ค�ำสั่งศาลจ�ำนวนมากถึง 62 ฉบับ เพื่อระงับการเข้าถึง​ ใช้อ�ำนาจปิดกั้นได้เลยตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ โดยไม่ต้อง
57,330 ยูอาร์แอล อันดับสอง คือ เนื้อหาและภาพ ขอค�ำสั่งศาล จากข้อมูลเบื้องต้นที่สามารถเข้าถึงได้
ลามกอนาจาร มีคำ� สัง่ ศาล 43 ฉบับ ให้ระงับการเข้าถึง​ (แต่มิได้น�ำมาแสดงไว้ในรายงานฉบับนี้) ทีมวิจัยพบว่า​
16,740 ยูอาร์แอล อันดับสาม คือ เนื้อหาเกี่ยวกับยา แม้รฐั บาลทีม่ นี ายอภิสทิ ธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี​
และการท�ำแท้งด้วยตนเอง ซึ่งมีค�ำสั่งศาล 4 ฉบับ ให้ จะประกาศให้พื้นที่ต่างๆ อยู่ในสถานการณ์ฉุกเฉิน
ระงับการเข้าถึง 357 ยูอาร์แอล อันดับสี่ คือ เนื้อหา และใช้ พ.ร.ก. ฉุกเฉินฯ มาได้เพียง 8 เดือนเท่านั้น
ยุยงให้เล่นการพนัน มีค�ำสั่งศาล 2 ฉบับ ให้ระงับการ แต่ปรากฏว่า ศอฉ. สั่งปิดกั้นเว็บไซต์ (ทั้งที่เป็นข่าว
เข้าถึง 246 ยูอาร์แอล อันดับห้า คือ เนื้อหาดูหมิ่น และไม่เป็นข่าว) ไปแล้วจ�ำนวนมหาศาล โดยมีเหตุ​
ศาสนา มีค�ำสั่งศาล 3 ฉบับ ให้ระงับการเข้าถึง 5​ อันควรเชื่อได้ว่าเป็นการปิดกั้นแบบเหวี่ยงแห เพราะ
ยูอาร์แอล และมีเรื่องอื่นๆ อีกจ�ำนวนเล็กน้อย ได้แก่ จากเอกสารค�ำสั่งของ ศอฉ. อย่างน้อย 3 ฉบับ ซึ่งอ้าง​
กรณีของการท�ำ Phishing/Pharming หรือการสร้าง อ�ำนาจตามมาตรา 9 (3) พ.ร.ก. ฉุกเฉินฯ เพื่อให้​

13
ดูหมิ่นพระมหากษัตริย
เนื้อหาและภาพลามกอนาจาร ยาทำแทง เนื้อหายุยงใหเลนการพนัน เนื้อหาเสื่อมเสียตอศาสนา อื่นๆ รวม
พระราชินี และรัชทายาท
เดือน ป
คำสั่งศาล ยูอารแอล คำสั่งศาล ยูอารแอล คำสั่งศาล ยูอารแอล คำสั่งศาล ยูอารแอล คำสั่งศาล ยูอารแอล คำสั่งศาล ยูอารแอล คำสั่งศาล ยูอารแอล

ต.ค. 2550 1 2 1 2

ม.ค. 2551 1 1 1 1

ก.พ. 2551 1 7 1 7

พ.ค. 2551 1 1 1 1

มิ.ย. 2551 1 9 1 2 2 11

ก.ค. 2551 0 0

ส.ค. 2551 2 407 2 407

ก.ย. 2551 1 630 1 86 2 716

ต.ค. 2551 1 491 1 491

พ.ย. 2551 0 0

ธ.ค. 2551 2 400 1 37 3 437

ม.ค. 2552 3 808 3 808

ก.พ. 2552 4 1,400 1 305 1 14 6 1,719

มี.ค. 2552 4 765 3 825 1 2 8 1,592

เม.ย. 2552 2 887 4 936 6 1,823

พ.ค. 2552 3 713 4 2,213 1 72 8 2,998

มิ.ย. 2552 3 770 3 1,948 6 2,718

ก.ค. 2552 2 469 3 875 5 1,344

ส.ค. 2552 1 843 1 132 1 3 3 978

ก.ย. 2552 2 1,985 2 879 1 61 1 174 6 3,099

ต.ค. 2552 3 3,737 3 1,430 6 5,167

พ.ย. 2552 2 3,007 1 741 3 3,748

ธ.ค. 2552 1 1,141 2 1,325 1 245 4 2,711

ม.ค. 2553 2 4,119 2 4,119

ก.พ. 2553 4 6,731 2 1,127 1 3 7 7,861

มี.ค. 2553 6 9,672 1 373 7 10,045

เม.ย. 2553 2 2,277 1 21 3 2,298

พ.ค. 2553 0 0

มิ.ย. 2553 3 4,513 3 4,513

ก.ค. 2553 0 0

ส.ค. 2553 5 9,289 3 1,322 1 2 9 10,613

ก.ย. 2553 3 2,267 2 944 5 3,211

ต.ค. 2553 2 998 2 998

พ.ย. 2553 1 250 1 250


รวม 62 57,330 40 16,740 4 357 2 246 3 5 3 8 114 74,686

จ�ำนวนเว็บเพจที่ถูกบล็อคตามค�ำสั่งศาลด้วยเหตุผลต่างๆ แจกแจงรายละเอียดรายเดือน

14 รายงานสถานการณ์การควบคุมและปิดกั้นสื่อออนไลน์ ด้วยการอ้างกฎหมายและแนวนโยบายแห่งรัฐไทย
ปิดกัน้ เว็บไซต์/ยูอาร์แอล/ไอพี/เบอร์โทรศัพท์ มีรายการ​ ส�ำเนาค�ำสั่งจะถูกส่งต่อไปยังผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ที่ถูกปิดกั้นถึงกว่า 600 รายการโดยในรายการดังกล่าว​ หลายรายเพื่อระงับการเข้าถึง
ไม่ ไ ด้ ใ ช้ วิ ธี ร ะบุ เ จาะจงชื่ อ เว็ บไซต์ หรื อ ยู อ าร์ แ อล 2) จ�ำนวนเว็บไซต์ที่ถูกปิด (โดยกระทรวงไอซีที)​
เท่านัน้ แต่มรี ายการจ�ำนวนไม่นอ้ ยที่ ศอฉ. สัง่ ให้ปดิ กัน้ ​ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเว็บไซต์ที่รัฐมองว่าแสดงข้อมูลที่มี​
โดยใช้วิธีระบุเป็น “ช่วงตัวเลข” ของหมายเลขไอพี เนือ้ หาเข้าข่ายเป็นความผิดในฐานดูหมิน่ พระมหากษัตริย์​
(เช่น XXX.XXX.XXX.0 ถึง XXX.XXX.XXX.255) เพียง บางช่วงเวลาเพิม่ ขึน้ แบบทวีคณ ู ดังจะเห็นได้วา่ ในช่วง
เพราะเหตุว่าในช่วงตัวเลขนี้มีเว็บไซต์ที่ ศอฉ. มองว่า เดือนมีนาคม และเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553 มีการปิด
เข้าข่าย พ.ร.ก. ฉุกเฉินฯ ปรากฏอยู่ ในความเป็นจริงก็ กัน้ ถึงกว่า 9,600 ยูอาร์แอล ซึง่ เวลาดังกล่าวนีเ้ ป็นช่วง
คือ การปิดกัน้ ในลักษณะนีย้ อ่ มส่งผลกระทบต่อเว็บไซต์ ทีม่ กี ารชุมนุมเรียกร้องทางการเมืองของกลุม่ คนเสือ้ แดง
จ�ำนวนมากซึ่งอาจเป็นเว็บไซต์ทั่วไปที่ไม่เป็นความผิด ทัง้ นี้ นอกจากสถิตกิ ารปิดกัน้ การเข้าถึงเว็บไซต์จะสูงขึน้ ​
หรือเป็นภัยตาม พ.ร.ก. ฉุกเฉินฯ เลย แต่มีที่อยู่อยู่ใน มากแล้ว ยังพบว่ามีคดีหมิ่นสถาบันฯ หลายคดีถูกฟ้อง​
ช่วงหมายเลขไอพีดงั กล่าวเท่านัน้ อนึง่ แม้ในทีส่ ดุ แล้ว ในช่วงเวลาเดียวกัน เช่น การจับกุมผูใ้ ช้ชอื่ ว่า K Thong​
จะไม่มใี ครสามารถจ�ำแนกได้วา่ เว็บไซต์ที่ ศอฉ. สัง่ ปิด Bomb Bangkok ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 และ​
กั้นนี้เป็นเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาในลักษณะใด (เพราะ ศอฉ. ถู ก ฟ้ อ งตามพ.ร.บ.คอมพิ ว เตอร์ ม าตรา 14 และ
ไม่เคยแสดงโดยเฉพาะเจาะจง หรือให้เหตุผลไว้ในการ ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 116 และ 39211 ถัดมา​
ใช้อ�ำนาจของตนเลย) แต่เพียงพิจารณาจากจ�ำนวน​ ในเดือนเมษายน ผูด้ แู ลเว็บไซต์นปช.ยูเอสเอ ถูกจับกุม​
คร่าวๆ แล้วน�ำไปรวมกับจ�ำนวนที่สั่งปิดโดยไอซีที คง และด�ำเนินคดีโดยอาศัยมาตรา 14 และ 15 พ.ร.บ.
ไม่มีใครปฏิเสธได้เลยว่า สิทธิเสรีภาพในการแสดง​ คอมพิวเตอร์ ประกอบมาตรา 112 ประมวลกฎหมาย
ความคิดเห็นของประชาชนไทยในโลกออนไลน์ ก�ำลังอยู่​ อาญา หรือในกรณีของ นายชูพงศ์ ถี่ถ้วน ซึ่งถูกฟ้อง
ในสถานการณ์ฉุกเฉิน ตามมาตรา 14 พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ประกอบมาตรา 112​
ประมวลกฎหมายอาญาเช่นเดียวกัน
บทวิเคราะห์ และข้อสังเกตจากการระงับ
การเข้าถึงข้อมูล
1) จากสถิตคิ ำ� สัง่ ปิดกัน้ โดยศาล ปรากฏข้อเท็จจริง
ด้วยว่า ศาลมักใช้เวลาโดยรวดเร็วอย่างยิง่ หรือวันต่อวัน​
เพือ่ พิจารณายูอาร์แอลต่างๆ ก่อนมีคำ� สัง่ ระงับการเข้าถึง​
เพราะจากค�ำสั่ง 117 ฉบับ มีถึง 104 ฉบับที่ศาลมี​
ค�ำสั่งในวันเดียวกันกับที่ยื่นขอ มีผลปิดกั้นเว็บไซต์
ทัง้ หมด 71,765 ยูอาร์แอล ซึง่ เฉลีย่ แล้วคือสัง่ ปิดวันละ​
690 ยูอาร์แอล ทั้งนี้ โดยมีบางกรณีที่ศาลใช้เวลานาน
ขึ้นแต่มักไม่เกิน 2 วัน และมีเพียงบางกรณีเท่านั้น​
ที่ศาลใช้เวลานานเกิน 1 สัปดาห์ ส�ำหรับขั้นตอนใน
การระงับการเผยแพร่เว็บไซต์นั้น ภายหลังศาลมีค�ำสั่ง

11
คดีนี้ ผู้ต้องหาประกาศผ่าน Camfrog ว่า “อย่างที่บอก สัญญาณของระเบิดจะดังขึ้น และไม่ต้องถามเลยนะครับว่าใครท�ำ เพราะมึงไม่มี
สิทธิรเู้ ลยว่าใครท�ำ เอาเป็นว่าตัง้ แต่พรุง่ นีเ้ ป็นต้นไป เราจะได้ยนิ เสียงระเบิดดังถึงประตูบา้ นท่าน ไหนๆ ก็ไหนๆ แล้ว ประกาศสงครามกลางเมือง
ตั้งแต่พรุ่งนี้เป็นต้นไป”

15
ส่ วนที่ 2
กฎหมาย และแนวนโยบายแห่งรัฐ ที่ส่งผลกระทบต่อสิทธิเสรีภาพในการแสดง
ความคิดเห็นบนสื่อออนไลน์ เปรียบเทียบไทย- สหรัฐอเมริกา- เยอรมัน - จีน -มาเลเซีย

ส� ำ หรั บ รายงานในส่ ว นกฎหมาย ตั ว อย่ า งคดี สือ่ ลามก และ สอง เกีย่ วกับความมัน่ คงของรัฐและการ
และนโยบายแห่งรัฐที่เกี่ยวข้องกับสิทธิเสรีภาพของ ป้องกันการก่อการร้าย ซึง่ สหรัฐอเมริกามีวธิ ดี ำ� เนินการ​
ประชาชนบนสือ่ ออนไลน์นเี้ ป็นการน�ำเสนอในเบือ้ งต้น​ ทีห่ ลากหลาย ทัง้ การกลัน่ กรองการใช้อนิ เทอร์เน็ต (Filter)​
เท่านั้น รายละเอียดทั้งหมด รวมทั้งบทวิเคราะห์​ การปิดกั้น (Block) และการสอดส่อง (Surveillance)
เปรียบเทียบกับกรณีของประเทศไทย ทีมวิจัยจะได้​ การคุม้ ครองเด็กและเยาวชนจากสือ่ ลามกอนาจาร:
น�ำเสนอในรายงานฉบับสมบูรณ์ตอ่ ไป ทัง้ นี้ นอกเหนือ สหรัฐอเมริกามีหลักการใหญ่ในเรื่องนี้ 2 แง่มุมด้วย
จากประเทศไทยแล้ว กฎหมายและนโยบายแห่งรัฐ​ กัน คือ การห้ามเผยแพร่ภาพลามกของเด็ก และการ
ที่ น ่ า สนใจ 4 ประเทศที่ ท� ำ การศึ ก ษาเพื่ อ น� ำ มา​ ห้ามให้เด็กและเยาวชนที่อายุต�่ำกว่า 18 ปีเข้าถึงสื่อ
เปรียบเทียบกับกรณีของประเทศไทย ได้แก่ ลามก มาตรการดังกล่าวก�ำหนดเอาไว้อย่างละเอียดใน​
1) ประเทศสหรัฐอเมริกา การแสดงความคิดเห็น​ Communication Decency Act (CDA) ซึง่ มีขอ้ ก�ำหนด​
อย่างหลากหลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งความคิดเห็น ไว้อย่างชัดเจนด้วยว่า ผูใ้ ห้บริการไม่ตอ้ งรับผิดทางแพ่ง
ทางการเมืองได้รับการรับรองไว้ในรัฐธรรมนูญแห่ง เมือ่ ได้ทำ� การปิดกัน้ สือ่ ทีเ่ ห็นว่ามีลกั ษณะลามกอนาจาร
สหรัฐอเมริกา โดยมีหลักการส�ำคัญว่า การแลกเปลีย่ น​ ไม่เหมาะสม หรือน่ารังเกียจ ในขณะทีผ่ ใู้ ห้บริการมีหน้าที่​
ข้อมูลข่าวสารอย่างเสรี (Free market of ideas /​ ต้องปฏิบตั ติ ามค�ำสัง่ ของรัฐบาลในการปิดกัน้ ภาพลามก
information) เป็ น เรื่ อ งส� ำ คั ญ มากที่ จ ะท� ำให้ ภ าค เด็กหรือเยาวชน นอกจากนี้ในกฎหมายคุ้มครองเด็ก​
การเมืองซึง่ ท�ำหน้าทีใ่ ห้บริการสาธารณะ และประโยชน์ จากสือ่ ออนไลน์ (Children’s Online Protection Act)
แก่สังคมโดยรวมมีความโปร่งใส และสอดคล้องกับ​ ยังระบุด้วยว่า โรงเรียนและห้องสมุดต้องมีซอฟท์แวร์
หลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อย่างไรก็ดี​ กรองข้อมูลข่าวสาร เพื่อป้องกันการเข้าถึงเนื้อหาที่​
เสรีภาพดังกล่าวมีข้อจ�ำกัดได้เช่นกัน ทั้งนี้กฎหมาย ไม่เหมาะสมในโลกออนไลน์ด้วย
และนโยบายของรัฐที่มีผลกระทบต่อการเข้าถึง และ​ กรณี ค วามมั่ น คงของรั ฐ กั บ การสอดส่ อ งของ
การแสดงความคิดเห็นออนไลน์จะเน้นเจาะจงไปที่ 2 หน่วยงานความมั่นคง : ด้วยเหตุผลด้านความมั่นคง
ประเด็น คือ หนึ่ง การคุ้มครองเด็กและเยาวชนจาก​ รัฐบาลสหรัฐฯ มีมาตรการสอดส่องสื่ออิเล็กทรอนิกส์​

16 รายงานสถานการณ์การควบคุมและปิดกั้นสื่อออนไลน์ ด้วยการอ้างกฎหมายและแนวนโยบายแห่งรัฐไทย
(Electronic Surveillance Laws) ซึ่งละเมิดสิทธิและ ในการสื่อสาร และให้ความส�ำคัญกับพื้นที่ความเป็น
เสรีภาพของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตอย่างมาก โดยมีกฎหมาย ส่วนตัวของประชาชนอย่างมาก ทั้งไม่ค่อยปรากฏ​
เกี่ยวกับการต่อต้านการก่อการร้าย หรือ Patriot Act การเซ็นเซอร์ข้อมูลข่าวสาร แต่เยอรมันก็ยังมีประเด็น
(Uniting and Strengthening America by Providing​ ละเอียดอ่อน ทีร่ ฐั ไม่อาจอนุญาตให้พลเมืองแสดงความ
Appropriate Tools Required to Intercept and คิดเห็นได้โดยเสรีเช่นกัน มาตรา 5 แห่งรัฐธรรมนูญ
Obstruct Terrorism Act of 2001) ให้อ�ำนาจแก่ เยอรมัน (Grunsgesetz) คุ้มครอง การพูด การเขียน
หน่ว ยงานความมั่ น คงของรัฐสามารถใช้เทคโนโลยี​ การวาด และการแสดงออกอื่นๆ รวมทั้งการเผยแพร่
เฝ้ า ระวั ง ระบบอี เ มล และเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ผ่ า นระบบ​ ความคิดเห็นในสื่อทุกรูปแบบ จากการถูกปิดกั้น หรือ
ออนไลน์ได้ ในกรณีทสี่ งสัยว่าบุคคลนัน้ จะเป็นผูก้ อ่ การร้าย​ ถูกตรวจสอบแทรกแซงโดยรัฐ ในมาตราเดียวกันนี้ยัง
ในส่วนการปฏิบัติการ หน่วยงานความมั่นคงของชาติ บัญญัตคิ มุ้ ครองเสรีภาพในการรับรูข้ อ้ มูลข่าวสารไว้ดว้ ย​
(National Security Agency-NSA) ยังใช้เทคโนโลยี ในฐานะที่ เ ป็ น เสรี ภ าพที่ มี ค วามส� ำ คั ญ เที ย บเท่ า กั บ
อินเทอร์เน็ตสปาย (Internet spy) เช่น เทคโนโลยี​ เสรีภาพการแสดงความคิดเห็น (Meinungsfreiheit)
“Carnivore” ท�ำให้หน่วยงานอย่าง FBI สามารถตรวจสอบ​ และเสรีภาพสือ่ สารมวลชน (Pressefreiheit) เนือ่ งจาก
ข้อมูลตามเว็บไซต์ต่างๆ ที่ต้องสงสัยว่าจะกระท�ำผิด สิทธินเี้ ป็นโครงสร้างส�ำคัญของกระบวนการสร้างความ
ฐานก่อการร้าย และวิเคราะห์ระบบอีเมลได้จ�ำนวน คิดเห็นสาธารณะในการปกครองระบอบประชาธิปไตย
มหาศาล ทั้งผู้ที่ตกเป็นผู้ต้องสงสัย และบุคคลทั่วไป​ โดยหลักการแล้ว รัฐจึงปิดกั้นหรือระงับการเผยแพร่
ในลักษณะเดียวกัน และผลพวงจากการใช้อำ� นาจพิเศษ เนื้อหาในข้อมูลข่าวสารทุกประเภทไม่ได้ ไม่ว่าจะ
นี้เอง ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาเจ้าหน้าที่ FBI ได้จับกุม เป็นการปิดกั้นก่อนเผยแพร่ (Vorzensur) หรือระงับ​
บุคคลทีต่ อ้ งสงสัยจ�ำนวนมากอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน​ การเผยแพร่ในภายหลัง (Nachzensur) อย่างไรก็ตาม
รวมทั้งเคยด�ำเนินการปิดกั้นเว็บไซต์ของบริษัทผู้ให้ วรรค 2 แห่งมาตรานีบ้ ญ ั ญัตวิ า่ เสรีภาพเหล่านีอ้ าจถูก
บริการรายใหญ่จำ� นวนไม่นอ้ ย อาทิ กูเกิล ยาฮู อเมริกนั จ�ำกัดได้โดยกฎหมายแห่งรัฐ
ออนไลน์ หรือ ไมโครซอฟท์ โดยใช้เทคโนโลยีคัดกรอง เนื้อหาที่ต้องห้ามมิให้เผยแพร่ตามกฎหมาย :
ตามต�ำแหน่งภูมิศาสตร์ (Geolocation Filtering) ในประเทศเยอรมนี เนื้อหาโดยส่วนใหญ่ที่ถือเป็นผิด
บทบาทผู้ให้บริการในสหรัฐอเมริกา : ปัจจุบัน กฎหมาย และรัฐอาจใช้มาตรการปิดกั้นช่องทางการ​
กฎหมายว่าด้วยการจัดเก็บข้อมูลการสื่อสาร (Stored เข้าถึงได้ โดยอาศัยอ�ำนาจแห่งกฎหมายที่บัญญัติไว้
Communications Act) ได้ให้อ�ำนาจแก่เจ้าหน้าที่รัฐ​ เป็นการเฉพาะ มีเหตุผลเบื้องหลังที่ส�ำคัญอยู่ที่การ
ออกหมายเรียกข้อมูลการใช้คอมพิวเตอร์ออนไลน์ได้​ คุ ้ ม ครองเด็ ก และเยาวชน จากเนื้ อ หาที่ เ ป็ น ภั ย ต่ อ​
ดั ง นั้ น ชื่ อ บั ญ ชี รายละเอี ย ดข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ผู ้ ใ ช้ พัฒนาการทางความคิดในเรือ่ งต่างๆ อาทิ เรือ่ งในทางเพศ​
อินเทอร์เน็ต และช่องทางการใช้อนิ เทอร์เน็ต รวมไปถึง​ หรือเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับการใช้กำ� ลังความรุนแรง นอกเหนือ
ทีอ่ ยูท่ างอินเทอร์เน็ต จะถูกบันทึกไว้ และต้องส่งมอบให้​ จากนี้ก็เพื่อคุ้มครองเกียรติยศชื่อเสียงของบุคคล หรือ
เจ้าหน้าทีเ่ มือ่ ได้รบั การร้องขอ นอกจากนี้ ยังมีกฎหมาย เพื่อรักษาสันติภาพในหมู่ประชาชน โดยอาจจ�ำแนก
ว่าด้วย Communications Assistance for Law เนื้อหาต้องห้าม ซึ่งเป็นความผิดตามกฎหมายฉบับ
Enforcement Act of 1994 ซึง่ พัฒนาระบบการดักฟัง​ ต่างๆ ได้ดังนี้
และเข้าถึงข้อมูล (Interception technologies) โดย ภาพลามกอนาจาร กฎหมายอาญา (Strafgesetzbuch​
บังคับให้ผใู้ ห้บริการต้องสร้างระบบตรวจสอบข้อมูลของ​ - StGB) กฎหมายแห่งมลรัฐทีค่ มุ้ ครองเด็กและเยาวชน
ผูใ้ ช้บริการ เพือ่ ให้เจ้าหน้าทีส่ ามารถตรวจสอบและรวบรวม​ จากการสื่อสารมวลชน (Jugendmedienschutz-​
พยานหลักฐานได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ Staatsvertrag - JMStV) และพระราชบัญญัติ
2) สหพันธรัฐเยอรมนี แม้ประเทศเยอรมนีได้ คุ้มครองเด็กและเยาวชน (Jugendschutzgesetz -
ชื่อว่าเป็นประเทศหนึ่งในยุโรปที่เคารพสิทธิเสรีภาพ​ JuSchG) ล้วนบัญญัติห้ามไม่ให้ผู้ใดเผยแพร่ หรือ

17
เปิดช่องทางให้แก่เด็กและเยาวชน12 เข้าถึงภาพลามก การโฆษณาชวนเชื่อ (Propaganda - § 86 StGB) ใช้​
อนาจารทุกรูปแบบ หากฝ่าฝืนมีความผิด ในขณะที่ เครือ่ งหมายขององค์การทีข่ ดั รัฐธรรมนูญ (§ 86a StGB)​
ภาพลามกอนาจารที่มีลักษณะใช้ความรุนแรง แสดง หรือสร้างความแตกแยกในหมูป่ ระชาชน (Volksverhetzung​
การร่ ว มเพศระหว่ า งมนุ ษ ย์ กั บ สั ต ว์ หรื อ ภาพการ​ - § 130 StGB) ด้วยการยั่วยุ ปลุกปั่นความรุนแรง
ล่ ว งละเมิ ด ทางเพศต่อเด็กและเยาวชน ที่เรียกว่า ท�ำลายศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ใช้เนื้อหาหรือถ้อยค�ำ​
“Harte Pornografie” กฎหมายอาญาบัญญัติให้การ ที่ชัดเจนในเชิงเป็นปฏิปักษ์ โดยอาศัยความแตกต่าง
เผยแพร่ หรือให้ประชาชนทั่วไปเข้าถึงได้ ไม่ว่าใน​ เรือ่ งความเชือ่ เชือ้ ชาติ ศาสนา เพือ่ กล่าวร้ายประชาชน​
สือ่ ออนไลน์หรือสือ่ ประเภทอืน่ ใด เป็นความผิด จะเห็น​ กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง นอกจากนี้เยอรมันยังห้ามมิให้มีการ​
ได้ ว ่ า เป้ า หมายของการห้ า มเผยแพร่ ภ าพลามกนั้ น เผยแพร่ขอ้ มูลใดๆ เพือ่ ประกาศให้บคุ คลกระท�ำความผิด​
มุ่งเน้นที่การคุ้มครองเด็กเป็นส�ำคัญ เพื่อให้เด็กและ (§ 111 StGB) ข่มขูด่ ว้ ยวิธกี ารใดๆ (เช่น เผยแพร่คำ� ขู่
เยาวชน 1) ไม่ตอ้ งเผชิญหน้ากับเรือ่ งราวทีเ่ กีย่ วกับเพศ ประกาศเป็นการสาธารณะ ฯลฯ) เพือ่ รบกวนสันติภาพ
ก่อนวัยอันสมควร และ 2) ไม่ให้เด็กและเยาวชนต้อง สาธารณะ เป็นต้น
ตกเป็นเหยื่อในทางเพศให้กับผู้ใหญ่ (ผลิตภาพลามก) การเชิดชูความรุนแรง หรือละเมิดศักดิ์ศรีความ
และด้ ว ยเหตุ ผ ลดั ง กล่ า วนี้ เ อง ประกอบกั บ ปั ญ หา เป็นมนุษย์ เนื้อหาในกลุ่มนี้ คือ การแสดงการใช้ความ
ขอบเขตการใช้ บั ง คั บ กฎหมายเยอรมั น กั บ ความผิ ด​ รุนแรงทีโ่ หดเหีย้ มทารุณต่อมนุษย์ หรือทีท่ ำ� ลายศักดิศ์ รี
ที่ไร้อาณาเขต และความร่วมมือระหว่างประเทศใน ความเป็นมนุษย์ (Gewaltdarstellungen) ซึ่งเป็น​
การแสวงหาพยานหลักฐาน รวมทั้งส่งตัวผู้ต้องหามา ความผิดตามกฎหมาย (§ 131 StGB) โดยถ้าให้เด็ก
ด�ำเนินคดี ท�ำให้ในระยะสองสามปีที่ผ่านมาเยอรมัน อายุตำ�่ กว่า 18 ปี เข้าถึงข้อมูลเหล่านัน้ ได้ดว้ ย ผูก้ ระท�ำ​
จึงพยายามผลักดันให้ผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต​ ต้ อ งรั บโทษหนั ก ขึ้ น เช่ น เว็ บ ไซต์ ร วมรู ป ภาพที่​
(Access Provider) มีหน้าทีต่ อ้ งสอดส่องและคอยปิดกัน้ ​ ไร้รสนิยมในรูปแบบต่างๆ ที่รู้จักกันในชื่อ “tasteless”
ช่องทางการเข้าถึงภาพลามกเด็กและเยาวชน นอกเหนือ​ (Geschmacklosigkeit) อย่าง www.rotten.com
จากการด�ำเนินคดีกับผู้กระท�ำความผิด ซึ่งน�ำเสนอภาพเหยื่ออาชญากรรม ผู้ได้รับบาดเจ็บ
แนวคิดลัทธิซ้าย/ขวาหัวรุนแรง กฎหมาย JMStV จากอุบัติเหตุ ผู้ป่วยโรคร้ายแรง ภาพศพ รวมทั้งภาพ
และคณะกรรมการคุม้ ครองเยาวชนจากสือ่ สารมวลชน ทรมานนักโทษในคุก Abu Ghraib แม้ Rotten.com
(Kommission fÜr Jugendmedienschutz – KJM) แสดงจุดยืนว่าจะน�ำเสนอภาพที่ “ไม่เหมาะสมแต่ถูก
ต่างพยายามคุม้ ครองเด็กและเยาวชน จากการเผยแพร่ กฎหมาย” แต่โดยลักษณะแล้วน่าจะยังขัดต่อกฎหมาย
แนวคิดฝ่ายขวาหรือฝ่ายซ้ายหัวรุนแรง (Rechts13-​ แห่งมลรัฐทีค่ มุ้ ครองเด็กและเยาวชนจากสือ่ สารมวลชน
und Linksextremismus) และลัทธิชาตินิยมเยอรมัน​ (JMStV) ในฐานะที่เป็นการละเมิดศักดิ์ศรีความเป็น
(Nationalsozialismus) การเผยแพร่แนวคิดลัทธิดงั กล่าว​ มนุษย์ (Menschenwürdeverstoße)
ในสื่อต่างๆ ซึ่งย่อมหมายรวมถึงอินเทอร์เน็ตด้วย อาจ นอกเหนือจากเนือ้ หาหลักๆ ดังกล่าวมาแล้ว การเผย
เป็นความผิดตามกฎหมายอาญาในหลายฐาน อาทิ​ แพร่ถ้อยค�ำหมิ่นประมาทบุคคลอื่น หรือการให้บริการ​

12
ตามกฎหมายเยอรมันในเรือ่ งนี
้ “เด็ก” คือ บุคคลทีอ่ ายุยงั ไม่ถงึ 14 ปี (§ 184b StGB) และ “เยาวชน” คือ บุคคลทีม่ อี ายุตงั้ แต่ 14 ปี​
แต่ยังไม่เกิน 18 ปี (§ 184c StGB)
13
ผลจากการศึกษาวิจัยโดยมูลนิธิ Friedrich-Ebert-Stiftung ในหัวข้อ “Vom Rand zur Mitte” ซึ่งเผยแพร่ในปี ค.ศ.2006 พยายามค้นหา
องค์ประกอบของอุดมการณ์ลทั ธิฝา่ ยขวาหัวรุนแรงซึง่ น่าจะอยูใ่ นกลุม่ แนวคิดดังต่อไปนี้ คือ 1. สนับสนุนเผด็จการนิยมฝ่ายขวา 2. ลัทธิคลัง่ ชาติ​
(Chauvinismus) 3. แนวคิดเกลียดชัง เลือกปฏิบัติ ต่อต้านคนต่างชาติ (Ausländerfeindlichkeit) 4. ลัทธิความเป็นอคติต่อชาวเซมิติค หรือ
ลัทธิความเป็นอคติต่อชาวยิว (Antisemitism หรือ Judeophobia), ลัทธิสังคมแบบดาร์วิน (Sozialdarwinismus) รวมทั้งข้อมูลที่พยายาม​
ชวนเชื่อว่าลัทธิชาตินิยมนาซีเยอรมันเป็นลัทธิที่ไม่มีพิษมีภัย หรือมีความสมเหตุสมผลดีอยู่แล้ว (Decker, O. / Brhler, Vom Rand zur Mitte
(2006), http://www.fes.de/rechtsextremismus/pdf/Vom_Rand_zur_Mitte.pdf, S. 20)

18 รายงานสถานการณ์การควบคุมและปิดกั้นสื่อออนไลน์ ด้วยการอ้างกฎหมายและแนวนโยบายแห่งรัฐไทย
หรือจัดด�ำเนินการพนันที่ไม่ได้รับอนุญาตจากรัฐ หรือ ปิดกัน้ ประชาชนจ�ำนวนมากออกมาต่อต้าน ท�ำจดหมาย
การพนันผิดกฎหมาย (§ 284 ff. StGB) ก็เป็น​ ประท้วง จัดสัมมนาวิชาการ กระทั่งมีการยื่นฟ้อง​
สิ่งต้องห้าม และผู้กระท�ำมีความผิดและต้องรับโทษ​ ต่อศาลปกครองตั้งแต่ปี ค.ศ. 2001 อย่างไรก็ดีศาล​
ตามกฎหมายด้วย อย่างไรก็ตาม ในทีส่ ดุ แล้ว แม้เนือ้ หา​ ปกครองสูงสุดแห่งเมืองมึนสเตอร์ ตัดสินยืนยันค�ำสั่ง​
หลากหลายประเภทเป็นสิง่ ต้องห้ามตามกฎหมายเยอรมัน​ ของผูว้ า่ การฯ ว่าชอบด้วยกฎหมายแล้ว จึงย่อมเห็นได้วา่ ​
แต่ควรต้องสังเกตด้วยว่า เนื้อหาเหล่านี้โดยส่วนใหญ่​ แม้ในเยอรมันเอง การปิดกั้นสื่อก็เคยเกิดขึ้นมาแล้ว​
มีบทบัญญัตแิ ห่งกฎหมายก�ำหนดองค์ประกอบความผิด เช่นกัน เพียงแต่ไม่ได้กระท�ำโดยพร�่ำเพรื่อ ทั้งรัฐ
ไว้ชดั เจนไม่คลุมเครือ เป้าหมายคือการคุม้ ครองเด็กและ สามารถชี้ได้ว่าเว็บไซต์ดังกล่าวเป็นความผิดอย่างไร
ประชาชนกลุ่มต่างๆ ในรัฐโดยรวม ไม่ใช่การคุ้มครอง ตามเงื่ อ นไขแห่ ง กฎหมายที่ ใ ห้ อ� ำ นาจ โดยผู ้ ไ ด้ รั บ​
สิ่งนามธรรมต่างๆ อย่าง รัฐ ความมั่นคง ศีลธรรม​ ผลกระทบสามารถร้องให้องค์กรศาลตรวจสอบการใช้
อันดี หรือความภักดีตอ่ ใครคนใดคนหนึง่ ซึง่ ยากต่อการ อ�ำนาจของรัฐได้เสมอ ที่ผ่านมานอกจากการปิดกั้น
หาขอบเขต และไม่สอดคล้องกับการปกครองในระบอบ​ เว็บไซต์ของเมืองดุซเซลดอร์ฟแล้ว เยอรมันเคยใช้
ประชาธิปไตย ทีผ่ า่ นมา คงมีแต่เพียงข้อห้ามไม่ให้เผยแพร่​ มาตรการปิดกัน้ เว็บไซต์ครัง้ ใหญ่อกี สองครัง้ คือ การปิด​
เนื้อหาตามมาตรา 130 แห่งประมวลกฎหมายอาญา เว็บไซต์ที่มีเนื้อหาฝ่ายซ้ายหัวรุนแรงเมื่อปี ค.ศ.1996
เยอรมัน โดยเฉพาะอย่างยิง่ การแสดงออกซึง่ ความเชือ่ และปิดเว็บไซต์การพนันผิดกฎหมาย (Bwin) ซึง่ เกิดขึน้ ​
มัน่ ในแนวคิดชาตินยิ มนาซีทเี่ รียกว่า “Auschwitz-Lge”​ ช่วงฟุตบอลโลกค.ศ.2006
เท่านั้น ที่ถูกตั้งค�ำถาม และโต้แย้งกันในวงวิชาการว่า ภาระหน้ า ที่ และความรั บ ผิ ด ของผู ้ ใ ห้ บ ริ ก าร
เป็นความผิดที่เหมาะสมหรือไม่ เพราะตามความผิด​ อินเทอร์เน็ต : กฎหมายส�ำคัญที่เกี่ยวกับเรื่องนี้ คือ
ฐานนีผ้ ใู้ ดแค่เพียงพูดสนับสนุนแนวทางนาซี หรือแสดง​ กฎหมายโทรคมนาคม (Teledienstgesetz - TDG) ซึง่
ความเชื่ อ ว่ าไม่ มี ก ารฆ่ า คนยิ วในค่ า ยกั ก กั น ก็ มี โ ทษ​ ก�ำหนดภาระหน้าทีค่ วามรับผิด โดยจ�ำแนกประเภทของ
ทางอาญาแล้ว แต่เยอรมันก็ยงั ยืนยันว่า ต้องเป็นความผิด​ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตอย่างชัดเจน คดีส�ำคัญในอดีต
เพราะการแสดงความคิดเห็นเช่นนี้ ก็คอื การพูดความเท็จ​ ซึง่ เต็มไปด้วยข้อสงสัย คือ คดี Compuserver ทีต่ ดั สิน​
และไม่ให้เกียรติผู้เสียชีวิตชาวยิว โดยศาลชัน้ ต้นเมืองมิวนิคปี 1998 ให้ผจู้ ดั การกระดานข่าว​
การใช้มาตรการปิดกั้นการเข้าถึง : กฎหมาย​ ของ Compuserver ประเทศเยอรมนี มีโทษจ�ำคุก 2 ปี​
แห่ ง มลรั ฐ ว่ า ด้ ว ยการให้ บ ริ ก ารสื่ อ สารมวลชน​ แต่ให้รอลงอาญา ฐานไม่ปิดกั้นช่องทางการเข้าถึง​
MediendiensteStaatsvertrag (MDStV) มีบททีว่ า่ ด้วย​ ภาพลามกเด็ ก ที่ ถู กโพสต์ ไ ว้ ใ นเซิ ร ์ ฟ เวอร์ ที่ ตั้ ง อยู ่ ที่
“สือ่ บริการทีต่ อ้ งห้ามเผยแพร่” และ “มาตรการด�ำเนิน ประเทศสหรัฐอเมริกา ศาลให้เหตุผลว่า Compuserver
การกับสือ่ นัน้ ” โดยแต่ละมลรัฐสามารถสัง่ ให้ผใู้ ห้บริการ เยอรมนีควรรูว้ า่ มีภาพลามกนัน้ เผยแพร่อยู่ และเพราะ​
ปิดกัน้ ช่องทางการเข้าถึงสือ่ ใดๆ ทีม่ เี นือ้ หาเป็นความผิด​ ไม่ ไ ด้ เ ป็ น เพี ย งผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารเชื่ อ มต่ อ อิ น เทอร์ เ น็ ต​
ต่อกฎหมายได้ คดีส�ำคัญและน่าสนใจเกี่ยวกับเรื่องนี้​ เพียงอย่างเดียว แต่เป็นผู้ให้บริการเนื้อหาด้วยจึงต้อง​
ก็คือ คดีฟ้องผู้ว่าการเมืองดุซเซลดอร์ฟ แห่งมลรัฐ รับผิดชอบ แม้ในที่สุด ศาลอุทธรณ์เมืองมิวนิคตัดสิน
นอร์ ทไรน์ เ วสฟาเร่ น ที่ อ าศั ย อ� ำ นาจตาม MDStV​ กลับค�ำพิพากษา ด้วยเหตุผลว่า Compuserver เยอรมนี​
สัง่ ผูใ้ ห้บริการเชือ่ มต่ออินเทอร์เน็ต (Access Provider) เป็ น เพี ย งผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารเชื่ อ มต่ อ อิ น เทอร์ เ น็ ต เท่ า นั้ น​
ปิดกั้นไม่ให้คนในรัฐเข้าถึงเว็บไซต์ 4 แห่ง คือ rotten. จึงไม่อยู่ในสถานะที่จะรู้เนื้อหาข้อมูลได้ คดีนี้ท�ำให้ฝ่าย
com, front14.org, nazi-lauck-nsdapao.com และ นิตบิ ญั ญัตพิ บปัญหาในแง่ถอ้ ยค�ำทีค่ ลุมเครือของ TDG​
stormfront.org ด้วยเหตุผลว่าเว็บไซต์เหล่านีม้ เี นือ้ หา รวมทั้ง MDStV (ซึ่งมีบทบัญญัติท�ำนองเดียวกัน)​
ลัทธิฝา่ ยขวาหัวรุนแรง ละเมิดศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์, จนก่อให้เกิดปัญหาการใช้การตีความ จึงน�ำไปสูก่ ารแก้ไข​
สนับสนุนการท�ำสงคราม เป็นภัยต่อเด็กและเยาวชน เพิ่มเติมในส่วนที่เกี่ยวกับความรับผิดของผู้ให้บริการ
และรบกวนสิทธิเสรีภาพของประชาชน ภายหลังการ​ อินเทอร์เน็ตในเวลาต่อมา อนึ่ง ประเด็นน่าสนใจ​

19
ยิง่ เกีย่ วกับภาระหน้าทีข่ องผูใ้ ห้บริการโทรคมนาคม ก็คอื ​ กระดานข่าวแสดงความคิดเห็น การถ่ายทอดภาพและ​
กรณีทปี่ ระชาชนเยอรมันกว่าสามหมืน่ คนเป็นโจทก์รว่ ม เสียงผ่านระบบอินเทอร์เน็ตล้วนต้องได้รับอนุญาตจาก​
กันยื่นฟ้องศาลรัฐธรรมนูญแห่งสหพันธรัฐเยอรมนีใน หน่วยงานของรัฐก่อน หากพิจารณาในด้านของการ
ปลายปี ค.ศ.2007 เพื่อให้ศาลวินิจฉัยว่า บทบัญญัติ​ ด�ำเนินคดีกบั ผูแ้ สดงความคิดเห็นในเชิงวิพากษ์วจิ ารณ์​
ที่ก�ำหนดให้ผู้ให้บริการช่องทางสื่อสารโทรคมนาคม​ รัฐบาล ก็เกิดขึน้ อย่างต่อเนือ่ งผ่านการใช้ขอ้ หาหมิน่ ประมาท​
ทุกประเภท ต้องจัดเก็บข้อมูลจราจรคอมพิวเตอร์ไว้ แต่ถ้าผู้ใดเปิดเผยข้อเท็จจริงที่รัฐบาลไม่ประสงค์ให้​
อย่างน้อย 6 เดือน เพือ่ ประโยชน์ในการสืบสวนสอบสวน เผยแพร่ด้วย ก็มักโดนข้อหาว่าเป็นพวกต้องการสร้าง​
การก่อการร้าย หรือการกระท�ำความผิดร้ายแรงอื่น​ ความเข้าใจผิด ให้รา้ ยรัฐ ล้มล้างรัฐบาล และหากรัฐบาลจีน​
(Vorratsdatenspeicherung) ซึ่งถูกเพิ่มเติมไว้ใน เห็นว่าการหมิ่นประมาทนั้นอาจก่อให้เกิดภยันตราย​
กฎหมายโทรคมนาคม (Telekommunikationsgesetz ต่อผลประโยชน์ของรัฐด้วย รัฐบาลจะสามารถด�ำเนินคดี
- TKG) ขัดรัฐธรรมนูญหรือไม่ ซึง่ ในเดือนมีนาคม ค.ศ.2010​ ได้เองโดยไม่ตอ้ งร้องทุกข์กล่าวโทษ ซึง่ นับแต่ปี พ.ศ.2542​
ศาลรัฐธรรมนูญวินจิ ฉัยว่า บทบัญญัตดิ งั กล่าวเป็นโมฆะ เป็นต้นมา มีพลเมืองเน็ตถูกจ�ำคุกแล้วกว่า 76 ราย
เพราะขัดกับรัฐธรรมนูญทีว่ า่ ด้วยเรือ่ งการคุม้ ครองสิทธิ กฎหมายที่ เ กี่ ย วกั บ การควบคุ ม เสรี ภ าพในการ
ส่วนบุคคลและเสรีภาพในการติดต่อสื่อสาร แสดงความคิดเห็น : นอกจากกฎหมายเฉพาะที่ว่า
3) สาธารณรัฐประชาชนจีน แม้มาตรา 35 ด้วยกิจกรรมต่างๆ บนสื่อออนไลน์แล้ว รัฐบาลจีนยังมี​
แห่งรัฐธรรมนูญจีน พ.ศ. 2525 ได้รับรองเสรีภาพการ กฎหมายอีกหลายฉบับเพือ่ ใช้ควบคุมการแสดงความคิด
แสดงความคิดเห็นของประชาชนไว้เช่นกัน แต่ใน เห็นในพื้นที่สื่อทั่วไปด้วยที่ส�ำคัญได้แก่ กฎหมายความ
ความเป็นจริงปรากฏว่า จีนบัญญัติกฎหมายล�ำดับรอง​ มั่นคงของรัฐ (State Security Law 1993) ซึ่งมีข้อ
และกฎหมายเฉพาะหลายฉบับเพื่อก�ำหนดกฎเกณฑ์ ก�ำหนดกว้างขวางและคลุมเครือ ห้ามมิให้องค์กรหรือ
และข้ อ จ� ำ กั ด สิ ท ธิ ต ่ างๆ รวมทั้งวางนโยบายที่เป็น ปัจเจกชนใดก่อให้เกิดภยันตรายต่อความมั่นคงของ
อุปสรรคต่อการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและแสดงความ ประเทศจีน กฎหมายอาญาว่าด้วยความมัน่ คงแห่งชาติ
คิดเห็น โดยอ้างเหตุด้านความมั่นคงของรัฐบาลจีน และความลับของรัฐ (National Security and State
และพรรคคอมมิวนิสต์ จนอาจกล่าวได้ว่าในท้ายที่สุด Secrets) ที่ก�ำหนดห้ามการแพร่ข่าวสารหรือเปิดเผย​
ประชาชนจีนแทบไม่สามารถแสดงความคิดเห็น หรือ ความลับของรัฐบาลจีน และนอกจากกฎหมายที่เอื้อให้​
วิพ ากษ์วิจ ารณ์ การปกครองประเทศของรัฐบาลจีน รัฐบาลจีนสามารถใช้อ�ำนาจได้อย่างกว้างขวางแล้ว
ได้เลย ทั้งนี้มาตรการเข้มข้นหลากหลายรูปแบบเพื่อ ยังปรากฏด้วยว่า องค์กรตุลาการในประเทศจีนเองก็
ควบคุมเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น อาจจ�ำแนก ไม่ได้ท�ำหน้าที่ปกป้องสิทธิเสรีภาพของประชาชนอย่าง
ได้ดังต่อไปนี้ แท้จริงและเพียงพอ ด้วยยังไม่มีมาตรฐานที่ชัดเจนใน
นโยบาย/กฎหมายพิ เ ศษ เพื่ อ ป้ อ งปรามผู ้ ใ ช้ การพิจารณาว่า ในการแสดงความคิดเห็นหนึง่ ๆ ทีเ่ กิดขึน้
อินเทอร์เน็ต : ประเทศจีนก�ำหนดให้ผู้เขียนหรือสร้าง นั้น อะไรควรถือเป็นเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น​
เนื้อหาบนเว็บไซต์มีหน้าที่ตรวจสอบ และละเว้นการ และอะไรที่อาจเป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ
เผยแพร่ขอ้ มูลไม่เหมาะสม (Self-filtering) บนพืน้ ฐาน​ พัฒนาเทคโนโลยี และตัง้ หน่วยงานเพือ่ ตรวจสอบ
ทีว่ า่ การเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสารบนอินเทอร์เน็ตจะต้อง สือ่ ออนไลน์ : นอกจากการบัญญัติ และการใช้กฎหมาย​
ไม่มีเนื้อหาที่เป็นอันตรายต่อเกียรติภูมิ และประโยชน์ แล้วรัฐบาลจีนยังลงทุนกับการพัฒนาซอฟท์แวร์ทเี่ รียกว่า​
ของรัฐ ห้ามเผยแพร่ขา่ วลือหรือกระท�ำการใดๆ ทีก่ อ่ ให้ Great Firewall of China เพื่อปิดกั้นเว็บไซต์วิพากษ์
เกิดความไม่สงบ และสร้างความปัน่ ป่วนต่อเสถียรภาพ วิจารณ์รฐั บาลจีนอย่างเป็นระบบ ทัง้ นี้ จีนมีศนู ย์จดั การ​
ของสังคม กฎหมายหลายฉบับของจีนก�ำหนดว่า การ ระบบคอมพิวเตอร์อยูใ่ น 3 เมืองส�ำคัญ ได้แก่ ปักกิง่ เซีย่ งไฮ้
สร้างเนือ้ หาในอินเทอร์เน็ตต้องขออนุญาตล่วงหน้าด้วย​ และกวางโจว และมีหน่วยงานสอดส่องอินเทอร์เน็ต
ดังนั้น บริการข้อมูลข่าวสารต่างๆ อาทิ การสร้าง (Internet monitoring and surveillance unit)​

20 รายงานสถานการณ์การควบคุมและปิดกั้นสื่อออนไลน์ ด้วยการอ้างกฎหมายและแนวนโยบายแห่งรัฐไทย
กระจายอยูท่ วั่ ทุกเมืองในประเทศ ด้วยศูนย์นเี้ องทีท่ ำ� ให้ ในการสื่อสารของผู้ใช้บริการร้านไว้อย่างน้อย 60 วัน
รัฐบาลสามารถจัดระบบจราจรคอมพิวเตอร์ และปิดกัน้ ​ เพื่อให้หน่วยงานด้านวัฒนธรรมและความปลอดภัย
การเข้าถึงข้อมูลได้อย่างสมบูรณ์ อีกทัง้ รัฐบาลจีนยังจัดตัง้ ​ (Cultural and Public Security Agency) ตรวจสอบว่า​
Bureau Five และ Bureau Nine ซึ่งเป็นหน่วยงาน มีการกระท�ำใดที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่
ในส�ำนักข้อมูลข่าวสาร (Office of Information) 4) ประเทศมาเลเซีย มาเลเซียเป็นอีกประเทศหนึง่ ​
คอยท�ำหน้าที่ให้ข้อมูลข่าวสารเชิงบวกของฝ่ายรัฐบาล ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นอกเหนือจากประเทศพม่า​
เพื่อชวนเชื่อให้ประชาชนให้การสนับสนุนนโยบายของ​ อินโดนีเซีย รวมทั้งประเทศไทย ที่มีประวัติศาสตร์​
รัฐบาลจีน (Propaganda) รวมทั้งสร้างแรงจูงใจให้​ ยาวนานเกีย่ วกับการตรวจสอบและควบคุมสือ่ จากฝ่าย
ผูใ้ ห้บริการอินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์ตา่ งๆ ให้ความร่วมมือ​ รัฐ โดยมีลักษณะคุกคามสื่อประเภทใดๆ ก็ตามที่แสดง
ในการเฝ้าระวังเนื้อหาบนอินเทอร์เน็ต รวมทั้งจีน​ ข้อมูลซึง่ เป็นฝ่ายตรงข้ามกับรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิง่
ยังลงทุนเงินงบประมาณเพื่อการสร้างกระดานข่าว หนังสือพิมพ์ สื่ออิสระอื่นๆ จะโดนคุกคามจากต�ำรวจ
หลายหมื่ น แห่ ง ส� ำ หรั บ เป็ น พื้ น ที่ เ สนอข่ า วสารที่ หรือโดนบังคับใช้กฎหมายซึง่ มีมากมายหลายฉบับ และ​
สนับสนุนรัฐบาลด้วย มักถูกตีความให้ขยายออกไปจนกว้างขวาง ผูใ้ ห้บริการสือ่ ​
ควบคุมสือ่ ออนไลน์ผา่ นทางผูใ้ ห้บริการ : อาจกล่าวได้วา่ ​ จ�ำนวนไม่น้อยโดนควบคุมตัวและจ�ำคุกเพียงเพราะ
รัฐบาลจีนละเมิดเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น พูดวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาล ซึ่งย่อมส่งผลให้สิทธิในการ
อย่างเป็นระบบ โดยเริ่มตั้งแต่การผูกขาดโทรคมนาคม แสดงความคิดเห็นถูกจ�ำกัดลง ในขณะทีส่ ทิ ธิเสรีภาพใน​
ด้ ว ยระบบการให้ สั ม ปทาน หรื อ การให้ ใ บอนุ ญ าต การเขียนข่าวก็ถูกตรวจสอบ
เพื่อประกอบการอินเทอร์เน็ต ปัจจุบัน รัฐบาลจีนให้ เสรี ภ าพในการแสดงความคิ ด เห็ น ที่ ไ ด้ รั บ การ
สัมปทานผู้ให้บริการรายใหญ่ 4 แห่ง ได้แก่ CSTNet,​ คุม้ ครองไว้ในรัฐธรรมนูญ : เช่นเดียวกับนานาประเทศ
ChinaNet, CERNet และ CHINAGBN ซึ่งเป็นผู้ให้ รัฐธรรมนูญแห่งประเทศมาเลเซียไม่ได้เขียนให้การ
บริการ (หรือให้สมั ปทานต่อ) กับผูใ้ ห้บริการอินเทอร์เน็ต รับรองไว้เฉพาะ “สิทธิความเป็นส่วนตัว” เท่านั้น แต่
รายย่อยอีกกว่า 3,000 บริษัท ด้วยการผูกขาดนี้เอง ยังรับรองสิทธิอื่นๆ อีกหลายอย่าง ทั้งนี้หลักประกัน​
ท�ำให้รัฐบาลสามารถก�ำหนดนโยบาย แนวทางในการ​ ให้พลเมืองของมาเลเซียมีสิทธิเสรีภาพในการพูดและ​
กลั่นกรองและปิดกั้นเนื้อหาได้แบบเบ็ดเสร็จ ในส่วน การแสดงออกปรากฏอยู่ใน มาตรา 10 (1) (a)
ของร้านค้าคอมพิวเตอร์นนั้ มีหน้าทีต่ อ้ งติดตัง้ โปรแกรม รัฐธรรมนูญมาเลเซีย (The Constitution of Malaysia)​
ชื่อว่า Green Dam-Youth Escort เพื่อตรวจสอบ อย่างไรก็ดีในมาตราเดียวกันนี้บัญญัติว่า สิทธิเสรีภาพ
เนื้อหาเว็บไซต์ล่วงหน้า (Pre-installed censorship ในเรื่องดังกล่าวอาจถูกจ�ำกัดได้ถ้าจ�ำเป็น หรือเห็น
software) ท�ำให้รัฐบาลสามารถสอดส่องพฤติกรรม สมควร ทั้งนี้เพื่อ 1) ผลประโยชน์และความมั่นคง
การใช้คอมพิวเตอร์ของประชาชนได้ตลอดเวลา และ ปลอดภัยของรัฐส่วนหนึ่งส่วนใด 2) เพื่อความสัมพันธ์
นอกจากข้อก�ำหนดให้ผใู้ ห้บริการเว็บไซต์มหี น้าทีป่ อ้ งกัน ฉันท์มิตรกับประเทศอื่นๆ 3) เพื่อความสงบเรียบร้อย
เนือ้ หาทีล่ ะเมิดศีลธรรม เช่น ภาพลามก และกลัน่ กรอง และศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือ 4) เพื่อปกป้อง
เนื้อหาที่วิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลจีนแล้ว จีนยังก�ำหนด สิทธิของรัฐสภาหรือสภานิติบัญญัติ หรือการหมิ่นศาล
ให้ ป ระชาชนต้ อ งแจ้งชื่อที่อยู่ที่แท้จริงเมื่อต้องการ การหมิ่นประมาทท�ำให้เสื่อมเสียชื่อเสียง หรือการยั่วยุ​
เสนอข้อความหรือแสดงความคิดเห็นตามเว็บไซต์ด้วย ให้เกิดความผิดใดๆ ขึน้ จึงเห็นได้วา่ ไม่ตา่ งจากรัฐธรรมนูญ​
ส�ำหรับผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตคาเฟ่ ก็ต้องปฏิบัติตาม แห่งราชอาณาจักรไทย (มาตรา 45) เพราะแม้รฐั ธรรมนูญ​
เงื่อนไขการจัดตั้งอินเทอร์เน็ตคาเฟ่ (Regulation on มาเลเซียจะรับรองเสรีภาพในการแสดงออกไว้ก็ตาม
the Administration of Internet Access Service​ รัฐสภาก็สามารถผ่านกฎหมายเพื่อจ�ำกัดเสรีภาพใน
Business Establishments (Internet Cafes)) คือ จัดให้​ การพูดและการแสดงความคิดเห็นได้ด้วยหลากหลาย
ลงทะเบียน และเก็บข้อมูลเกีย่ วกับบุคคล และเนือ้ หาสาระ​ เหตุผล

21
นอกจากนัน้ สิทธินยี้ งั อาจถูกยกเว้นด้วยเหตุผลเพิม่ เติม​ เผยแพร่ความลับทางราชการเป็นอาชญากรรม Printing​
ได้อีกในระหว่างที่รัฐตกอยู่ภายใต้สถานการณ์ฉุกเฉิน Presses and Publications Act 1984 ก�ำหนดว่า​
โดยฝ่ายบริหารมีอ�ำนาจในการออกกฎหมายได้ แม้ว่า ความเห็นของรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการต่างประเทศ
กฎหมายนัน้ จะขัดหรือแย้งกับบทบัญญัตใิ นรัฐธรรมนูญ ถือเป็นที่สุดส�ำหรับการออก และเพิกถอนใบอนุญาต​
ก็ ต าม ภายหลั ง เหตุ ก ารณ์ ก ารจลาจลในประเทศ เผยแพร่สงิ่ พิมพ์ The Communications and Multimedia​
มาเลเซียเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1969 ฝ่ายนิติบัญญัติ Act of 1998 (CMA) รวมทัง้ Communications and
ก็แก้ไขรัฐธรรมนูญและเพิ่มค�ำสั่งให้อ�ำนาจรัฐสั่งห้าม Multimedia Commission Act of 1998 (CMCA) ถูกใช้​
ประชาชนพูดคุย หรือแลกเปลี่ยนกันในเรื่องเกี่ยวกับ​ ร่วมกันเพื่อผลในการควบคุมการสื่อสารโทรคมนาคม
ความเป็ น พลเมื อ ง ภาษาประจ� ำ ชาติ สิ ท ธิ พิ เ ศษ​ และการเผยแพร่ข่าวสารด้วยการกระจายเสียงของ
และอ�ำนาจอธิปไตย ประเทศมาเลเซีย ระบบอินเทอร์เน็ต และสิ่งอ�ำนวย
การคุกคามโลกออนไลน์ : นอกจากสือ่ ประเภทเดิมๆ​ ความสะดวกต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการข้อมูล
อย่างหนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์แล้ว ช่วงหลายปีที่​ ข่าวสาร Internal Security Act 1960 (ISA) หรือ
ผ่านมา เว็บข่าวและบล็อกในประเทศมาเลเซีย ซึง่ เติบโต​ กฎหมายความมัน่ คงภายใน14 ซึง่ รัฐบาลมาเลเซียใช้เป็น
อย่างมากเพราะได้รบั ความนิยมและเชือ่ ถือจากประชาชน​ เครือ่ งมือในการปิดกัน้ สือ่ จับกุม และควบคุมตัวบุคคลที่
มากกว่าสื่อกระแสหลัก เช่น NutGraph, Malaysia​ เกี่ยวข้องกับสื่อสารมวลชน และ Sedition Act 1948​
Insider และ Malaysiakini และบล็อก เช่น Articulations,​ หรื อ พระราชบั ญ ญั ติ ว ่ า ด้ ว ยการจลาจล 15 (ตราขึ้ น​
Zorro unmasked, Peoples Parliament และ Malaysia​ ในสมั ย ที่ ม าเลเซี ย ตกเป็ น อาณานิ ค มอั ง กฤษในปี​
Today ก็ถกู ปิดกัน้ การเข้าถึง ในขณะทีเ่ จ้าของเว็บไซต์​ ค.ศ.1948) ซึ่งมีมาตราห้ามมิให้เผยแพร่สื่อที่มีเนื้อหา​
บล็อกเกอร์ รวมทัง้ นักข่าวออนไลน์จำ� นวนมากถูกคุกคาม​ ทีม่ แี นวโน้มในการก่อความไม่สงบเรียบร้อย หากฝ่าฝืน​
จากฝ่ายรัฐ ส�ำหรับการจัดการเนือ้ หาในอินเทอร์เน็ตนัน้ ​ ให้ เ ป็ น ความผิ ด ทางอาญาโดยปราศจากข้ อ แก้ ตั ว​
แม้มาเลเซียเป็นประเทศแรกๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้​ ตามกฎหมาย หนังสือพิมพ์และนิตยสารทั้งหมดต้อง​
ทีม่ กี ฎหมายเกีย่ วกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ (Computer​ ได้รับอนุญาตจากรัฐบาลตามพระราชบัญญัติฉบับนี้​
Crime Act) แต่ในตัวกฎหมายดังกล่าวก็หาได้มบี ทบัญญัติ​ ซึ่ ง ห้ า มแสดงความคิ ด เห็ นในประเด็ น ละเอี ย ดอ่ อ น​
ให้อ�ำนาจรัฐตรวจสอบเนื้อหา หรือปิดกั้นช่องทางการ​ หลายประเด็น และเพื่อเป้าหมายในการตรวจสอบ​
เข้าถึงข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตไว้เฉพาะเจาะจงไม่ ทีผ่ า่ นมา​ ควบคุ ม สื่ อ ประเภทนี้ รั ฐ บาลมาเลเซี ย ได้ ตั้ ง​
รัฐมักใช้กฎหมายฉบับอื่นที่มีบทให้อ�ำนาจปิดกั้น แล้ว​ ห น ่ ว ย ง า น พิ เ ศ ษ ชื่ อ ว ่ า T h e M a l a y s i a​
ตีความให้ขยายไปถึงเนื้อหาในสื่อออนไลน์แทน โดย Communications and Multimedia Commission
กฎหมายฉบับทีม่ บี ทบาทในการควบคุมสือ่ ในระดับต่างๆ หรือ MCMC ซึ่งเป็นคณะกรรมการที่มีหน้าที่ในการ
ทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ Official Secrets Act ทีม่ บี ทบัญญัตใิ ห้การ​ ก�ำกับดูแลเนื้อหาออนไลน์บนอินเทอร์เน็ตโดยตรง

14
กฎหมายฉบับนี้ถูกยกร่างขึ้นภายหลังจากที่ประเทศมาเลเซียได้รับเอกราชจากประเทศอังกฤษในปี ค.ศ. 1957 และมีกระแสการคุกคามจาก
คอมมิวนิสต์ ISA มีผลบังคับใช้ในปี ค.ศ.1960 เพื่อให้รัฐใช้ในการป้องกันเหตุร้าย และต่อต้านการก่อความไม่สงบของพรรคคอมมิวนิสต์
ทั้งนี้ในปี ค.ศ. 1998 ต�ำรวจจับกุมบุคคลสี่คนตามกฎหมาย ISA โดยสันนิษฐานว่า เกี่ยวข้องกับการแพร่กระจายข่าวลือป่วนเมืองในกรุง
กัวลาลัมเปอร์ General of Police Tan Sri Abdul Rahim Noorsaid กล่าวว่า ผู้ต้องสงสัยถูกจับหลังจากที่ต�ำรวจติดตามดูพฤติกรรมโดย
ความช่วยเหลือของผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต เดือนมกราคมปี ค.ศ.2001 เว็บไซต์ของรัฐสภาถูก Hack ข้อมูล จึงมีการรายงานว่ารัฐบาลอาจจะ
ขยาย ISA ส�ำหรับ Hacker ที่เจาะเว็บไซต์ของรัฐบาลด้วย
15
องค์การสิทธิมนุษยชน กล่าวว่า Sedition Act มีความหมาย “คลุมเครือเกินไป” และวิจารณ์วา่ ความไม่ชดั เจนนีเ้ องทีถ่ อื เป็นการ “เชือ้ เชิญ​
ให้เกิดการกระท�ำผิด และหน่วยงานรัฐอาจหาทางที่จะน�ำมันไปใช้เป็นเครื่องมือกับสถานการณ์ต่างๆ โดยไม่มีความสัมพันธ์กับเจตนารมณ์เดิม
ของกฎหมาย” Lord Bach รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของอังกฤษเอง ยังเคยกล่าวว่า Sedition law เป็นกฎหมายที่ล้าหลังและควร
ยกเลิกได้แล้ว ในขณะที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีและสารสนเทศและรัฐมนตรีมหาดไทย Datuk Hussein Seri Hishammuddin
กลับให้ความเห็นไว้ว่า ไม่มีความจ�ำเป็นต้องยกเลิก Sedition Act

22 รายงานสถานการณ์การควบคุมและปิดกั้นสื่อออนไลน์ ด้วยการอ้างกฎหมายและแนวนโยบายแห่งรัฐไทย
5) ประเทศไทยกับกฎหมายควบคุมสื่อ และสิทธิ ใช้ควบคุมสื่อรูปแบบใหม่อย่างอินเทอร์เน็ต และทั้งมี
เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น ส�ำหรับกรณีของ บทให้อำ� นาจรัฐในการปิดกัน้ การเข้าถึงเนือ้ หาด้วย ก็คอื ​
ไทยนั้น ปัจจุบัน ประเทศไทยมีกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ อย่างไรก็ตาม หากนายกรัฐมนตรี​
สื่อสารมวลชน อยู่ด้วยกันหลายฉบับโดยกฎหมายที่ให้ ตัดสินใจประกาศให้พื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งของประเทศไทย
อ�ำนาจรัฐใช้มาตรการในการปิดกั้นการเข้าถึงสื่อ แม้ ตกอยู่ในสถานการณ์ฉุกเฉิน หรือภาวการณ์พิเศษอื่นๆ
ในช่วงที่ประเทศไทยไม่ได้ตกอยู่ในสถานการณ์ฉุกเฉิน ซึ่งจะยังผลให้ฝ่ายรัฐสามารถใช้กฎหมายพิเศษเพื่อ
ใดๆ ปรากฏเป็นรูปธรรมตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2484 คือ พ.ร.บ. ​ บังคับกับสถานการณ์ และจ�ำกัดสิทธิเสรีภาพในหลายๆ
การพิมพ์ พ.ศ.2484 (มาตรา 9) จากนัน้ ในปี พ.ศ. 2530​ เรื่องของประชาชนได้ บทบัญญัติให้อ�ำนาจรัฐระงับ​
พ.ร.บ. ควบคุมกิจการเทปและวัสดุโทรทัศน์ ซึ่งเป็น​ การเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสารก็จะประกอบไปด้วยกฎหมาย​
กฎหมายทีบ่ ญ ั ญัตขิ นึ้ เพือ่ ควบคุมการด�ำเนินการ รูปแบบ​ ลายลักษณ์อักษรอีกอย่างน้อย 2 ฉบับ คือ พ.ร.บ.​
การประกอบการ รวมทัง้ เนือ้ หาทีเ่ ผยแพร่ตอ่ สาธารณชน​ กฎอั ย การศึ ก พ.ศ. 2457 และพ.ร.ก. การบริ ห าร
ก็มีบทมาตราที่ให้อ�ำนาจรัฐสั่งห้ามมิให้มีการให้บริการ​ ราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 ซึ่งสามารถ​
เทปหรือวัสดุโทรทัศน์ในสถานทีบ่ ริการใดบริการหนึง่ ได้​ ใช้ได้กบั สือ่ ทุกประเภท เหล่านีย้ งั ไม่ได้กล่าวถึง ประมวล
(มาตรา 30) อย่างไรก็ดี ปัจจุบันด้วยผลของ พ.ร.บ. ​ กฎหมายอาญา ซึ่งมีบทบัญญัติส�ำคัญที่เกี่ยวข้องกับ
ภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พ.ศ. 2551 ท�ำให้ พ.ร.บ. ​ สิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นอีกหลายมาตรา
ควบคุมกิจการเทปและวัสดุโทรทัศน์ดังกล่าวรวมทั้ง ที่ก�ำหนดว่าข้อมูลข่าวสารที่มีเนื้อหาลักษณะใดบ้าง​
พ.ร.บ.ภาพยนตร์ พ.ศ.2473 (ซึง่ เคยมี มาตรา 4 ให้อำ� นาจ​ ทีผ่ เู้ ผยแพร่ตอ้ งมีความรับผิดตามกฎหมาย ไม่วา่ จะเป็น
เจ้ า หน้ า ที่ รั ฐ ห้ า มฉายหรื อ แสดงภาพยนตร์ ที่ ขั ด ต่ อ​ มาตรา 287 การเผยแพร่สงิ่ ลามกอนาจาร, มาตรา 326​
ความสงบฯ) ถูกยกเลิกไป อย่างไรก็ตาม ในกฎหมาย​ และ 328 ว่าด้วยการหมิน่ ประมาทบุคคลอืน่ โดยเฉพาะ​
ฉบั บใหม่ นี้ ยั ง ปรากฏบทมาตราที่ ใ ห้ ดุ ล พิ นิ จ อย่ า ง​ อย่างยิง่ มาตรา 112 ความผิดในฐานดูหมิน่ พระมหากษัตริย์​
เต็มทีแ่ ก่คณะกรรมการพิจารณาภาพยนตร์และวีดทิ ศั น์​ ซึ่งในช่วงสองสามปีที่ผ่านมา ปรากฏว่า มาตรา 112​
ที่จะตัดสินใจอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ภาพยนตร์หรือ​ แห่งประมวลกฎหมายอาญานี้ ถูกใช้ควบคู่กับ พ.ร.บ.​
วีดิทัศน์ฉาย หรือแสดงในราชอาณาจักรได้ คอมพิวเตอร์ ทัง้ เพือ่ การด�ำเนินคดีกบั พลเมืองเน็ต และ​
กฎหมายอี ก ฉบั บ หนึ่ ง ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ สื่ อ สาร เป็ น เหตุ ผ ลเพื่ อ ปิ ด กั้ น บริ ก ารออนไลน์ จ� ำ นวนมาก​
มวลชนและสิทธิเสรีภาพของประชาชนในเรื่องนี้ คือ อย่างไม่เคยเป็นมาก่อน ตามทีไ่ ด้แสดงสถิตติ า่ งๆ ให้เห็น​
พ.ร.บ. วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ พ.ศ. 2498 ไปแล้วในส่วนที่ 1 ของรายงานฉบับนี้
ซึ่งเคยให้อ�ำนาจรัฐในการยึด หรือห้ามการใช้เครื่องรับ​
วิทยุกระจายเสียง หรือเครื่องรับวิทยุโทรทัศน์ได้ ด้วย
ค�ำอธิบายว่า เพื่อความสงบเรียบร้อยของประชาชน
หรือป้องกันราชอาณาจักร แต่กฎหมายฉบับนี้ก็ถูก
ยกเลิกไปแล้วเช่นกันโดยผลของพ.ร.บ. การประกอบ
กิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. 2551​
ซึ่งแม้จะได้มีการปรับปรุงเนื้อหาในกฎหมายฉบับใหม่นี้​
ให้ ทั น สมั ย ยิ่ ง ขึ้ น รวมทั้ ง พยายามลดลั ก ษณะการ
ผูกขาดการสื่อสารผ่านวิทยุและโทรทัศน์ลงแล้ว แต่
บทมาตราที่เกี่ยวกับการควบคุมเนื้อหา หรือบทบัญญัต​ิ
ทีเ่ ปิดโอกาสให้รฐั จัดการแทรกแซงสือ่ ทัง้ สองประเภทนี้
ก็ยงั คงปรากฏอยู่ (มาตรา 35 และ มาตรา 37) ส�ำหรับ
กฎหมายฉบับล่าสุดที่เกี่ยวกับสื่อสารมวลชน และเพื่อ

23

You might also like