You are on page 1of 9

การพิมพหนังสือราชการชนิดตางๆ

หนังสือภายนอก
คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีโดยใชกระดาษตราครุฑเปนหนังสือที่ติดตอระหวางสวน
ราชการ หรื อ ส ว นราชการมี ถึ ง หน ว ยงานอื่ น ใดซึ่ ง มิ ใ ช ส ว นราชการ หรื อ ที่ ส ว นราชการมี ถึ ง
บุคคลภายนอก (ใหจัดทําตามแบบ) ซึ่งไดกําหนดขนาดกระดาษตราครุฑ ไวดังนี้
กระดาษ ขนาด A4 ใชขนาดครุฑมาตรฐาน คือ สูง 3 เซนติเมตร
กระดาษขนาดเล็ก ใชขนาดครุฑ สูง 1.5 เซ็นติเมตร
หนังสือภายนอก จะตองใสหัวขอที่กําหนดไว ดังนี้
1. ที่ ใหลงรหัสตัวพยัญชนะและเลขประจําของเจาของเรื่อง ตามที่กําหนดไวทับ (ใชเครื่องหมาย / )
เลขทะเบียนหนังสือออก เพื่อแบงแยกเลขประจํากรม กอง ออกจากเลขทะเบียนหนังสือสงออกสําหรับ
หนังสือของคณะกรรมการใหกําหนดรหัสตัวพยัญชนะเพิ่มขึ้นไดตามความจําเปน
ตัวอยางเชน ประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่องการกําหนดเลขที่หนังสือออก ซึ่งปรับเปลี่ยน
จากทบวงมหาวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 ตาม
ประกาศราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เลม 120 ตอนที่ 62 ก วันที่ 6 กรกฎาคม 2546 จึงกําหนด
เลขที่หนังสือออกใหม เปนดังนี้ หนังสือที่ ศธ 0517.07/
ที่ ศธ หมายถึง กระทรวงศึกษาธิการ
เลข 2 ตัวแรก คือ 05 หมายถึง สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
เลข 2 ตัวหลัง คือ 17 หมายถึง มหาวิทยาลัยมหิดล
เลขหลังจุด คือ .07 หมายถึง คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล
เลขหลัง .07 / ตั้งแต 1-33 หมายถึง ภาควิชาและหนวยงานภายในคณะที่ไดกําหนดไว
2. สวนราชการเจาของหนังสือ ใหลงชื่อสวนราชการ หรือสถานที่ราชการที่ออกหนังสือนั้น หรือ
คณะกรรมการซึ่งเปนเจาของหนังสือนั้น และโดยปกติใหลงที่ตั้งไวดวย เพื่อผูรับสามารถจะติดตอหรือ
โตตอบไปมาไดโดยไมตองเสียเวลาคนหา สอบถามวาสถานที่ราชการนั้นอยูที่ใด ชื่อของสวนราชการที่
ออกหนังสือจะตองเปนสวนราชการที่สอดคลองกับตําแหนง ของผูลงนามทายหนังสือฉบับนั้น รวมทั้งผู
ปฏิบัติราชการแทน หรือรักษาราชการแทน ดังตัวอยาง
-2-

ชื่อสวนราชการ ตําแหนงผูลงนาม
กระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรี ปลัดกระทรวง
กรมสามัญศึกษา อธิบดี กรมสามัญศึกษา
มหาวิทยาลัยมหิดล อธิการบดี
คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล คณบดี
กอง / สํานัก / สถาบัน ผูอํานวยการกอง / สํานัก / สถาบัน
ภาควิชา / หนวยงาน หัวหนาภาควิชา / หนวยงาน
ในกรณีที่หัวหนาสวนราชการมอบหมายใหรองทานใดทานหนึ่งลงนามแทน จะตองลงทายตําแหนงวา
ปฏิบัติราชการแทน หรือ รักษาราชการแทน ดังตัวอยาง

ลงชื่อ…………………………………
(………………………………………………..)
รองคณบดีคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล
ปฏิบัติราชการแทนคณบดี
3. วัน เดือน ป ใหลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของปพุทธศักราช ที่ออก
หนังสือ จะไมใสคําวา เดือน และ พ.ศ. การลงวันที่ควรลงภายหลังจากลงนามแลว และควรเปนวันที่สง
หนังสือออก มิใชลงวันที่ไวแลวอีกหนึ่งสัปดาหจึงสงออก ซึ่งทําใหเกิดความลาชา เสียหายแกทางราชการ
และผูรับ เชน แจงการใหทุนศึกษาดูงาน แตผูรับไดรับหนังสือหลังจากหมดเขตรับสมัครแลว เปนตน
4. เรื่อง ใหลงเรื่องยอที่เปนใจความสั้นที่สุดของหนังสือฉบับนั้น ที่จะทําใหผูรับเขาใจ ความ
ประสงคและเนื้อหาโดยสังเขปทันที และไมควรเกิน 2 บรรทัด มีวิธีการเขียนขึ้นตนชื่อเรื่อง 2 วิธีดังนี้
1) เรื่องที่ขึ้นตนดวยคํากริยา จะทําใหเห็นพฤติกรรมที่ชัดเจน เชน
ขออนุมัติเดินทางไปราชการตางประเทศ
ขอความอนุเคราะหขอมูล….
ขอเชิญประชุมคณะกรรมการ……
แจงผลการตรวจ…..
ชี้แจงขอเท็จจริงกรณี…..
ตอบขอหารือกรณี…….
สงรายงานการประชุมคณะกรรมการ…..
-3-
2) เรื่องที่ขึ้นตนดวยคํานาม มักใชในกรณีที่เนื้อความในหนังสือเปนเรื่องที่กวาง หรือมี
หลายประเด็น หรือเปนเรื่องตอเนื่อง หรือเรื่องที่ไมพึงประสงค เปนการตําหนิ การ
ปฏิ เ สธ หรื อ การแจ ง ข า วที่ จ ะทํ า ให ผู รั บ ไม ส บายใจ ซึ่ ง ไม ส ามารถหาคํ า กริ ย าที่
ครอบคลุมได ใหใชคํานามซึ่งเปนคํากวางๆ เชน
การขออนุมัติไปราชการตางประเทศ (กรณีไมอนุมัติ)
การปรับอัตราเงินเดือนขาราชการ (กรณีลาชา)
การจายเงินรางวัล (กรณีงด หรือลด)
การชําระเงินคารักษาพยาบาล (กรณีทวงเงินคารักษาพยาบาล)
ในกรณีที่เปนหนังสือตอเนื่อง โดยปกติใหลงเรื่องของหนังสือฉบับเดิม เพื่อใหเก็บเรื่องหรือคนหา
เรื่องอางอิงไดงาย ดังนั้น หากเรื่องเดิมขึ้นตนดวยคํานาม ก็ควรใชคํานามในเรื่อง ตอบไปได ถาเรื่องเดิม
ขึ้นตนดวยคํากริยา หนังสือตอบจะใช คําเดิมไมได เชนเรื่อง ขออนุญาต ขออนุมัติ ขอเชิญ เพราะจะทํา
ใหไมเขาใจวาใครเปนฝายขอ ใครเปนฝายอนุญาตวิธีปฏิบัติ มี 2 วิธี คือ
วิธีที่ 1 เติมคําวา การ ขางหนาคํากริยาที่ขอมา ใหเปนคํานาม เชน ขออนุมัติ เปน การขออนุมัติ
วิธีที่ 2 ตัดคําวา ขอ ออก เชน อนุมัติใหขาราชการเปนวิทยากร
5. คําขึ้นตน ใหใชคําขึ้นตนตามฐานะของผูรับหนังสือ ตามตารางการใชคําขึ้นตน สรรพนาม และ
คําลงทาย แลว ลงตําแหนงของผูที่หนังสือนั้นมีถึง หรือชื่อบุคคลในกรณีที่มีถึงตัวบุคคลไมเกี่ยวกับ
ตําแหนงหนาที่ ในกรณีที่ตองเขียนบันทึกเสนอผูบังคับบัญชาระดับสูง ที่ตองผานผูบังคับบัญชาระดับตน จะ
ใชคําวา ผาน เชน เรียน คณบดี ผานหัวหนาภาควิชา ในกรณีนี้หัวหนาภาควิชาจะตองลงนามทาย
หนังสือ เปนการผานเรื่อง ดวย
6. อางถึง (ถามี) ใหอางถึงหนังสือที่เคยมีติดตอระหวางกัน จะจากสวนราชการใดก็ตาม ใหลงชื่อ
สวนราชการเจาของหนังสือและเลขที่หนังสือ วันที่ เดือน พ.ศ. ของหนังสือนั้น
การอ า งถึ ง ให อ า งถึ ง หนั ง สื อ ฉบั บ สุ ด ท า ยที่ ติ ด ต อ กั น เพี ย งฉบั บ เดี ย ว เว น แต มี เ รื่ อ งอื่ น ที่ เ ป น
สาระสําคัญตองนํามาพิจารณา จึงอางถึงหนังสือฉบับอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องนั้นโดยเฉพาะ ใหทราบดวย
เพื่อใหเจาหนาที่ผูรับหนังสือสามารถคนหาเรื่องเดิมไดงาย
ในยอหนาแรกใหพิมพวา ตามหนังสือที่อางถึง กองทัพบก ไดขอความรวมมือในการจัด
นิทรรศการ เพื่อสุขภาพ ในวันที่ ………………ณ.............….ความละเอียดแจงแลว นั้น
สําหรับหนังสือภายในและบันทึก การอางถึงจะไมปรากฏที่หัวหนังสือ แตจะอยูในเนื้อความสวน
แรกของหนังสือ ดังนี้ ตามหนังสือกองกลาง มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ …ลงวันที่………ขอความรวมมือ
ในการจัดนิทรรศการ “มหิดล-วันแม” ในวันที่…………..ความละเอียดแจงแลว นั้น
-4-

7. สิ่งที่สงมาดวย (ถามี) ใหลงชื่อสิ่งของ เอกสาร หรือสิ่งอื่นใด ที่สงไปพรอมกับหนังสือนั้น ลง


จํานวนใหครบ ในกรณีที่ไมสามารถสงไปในซองเดียวกันได ใหแจงดวยวาสงไปโดยทางใด
8. ขอความหรือเนื้อเรื่อง ใหลงสาระสําคัญของเรื่องใหชัดเจนและเขาใจงาย หากมีความประสงค
หลายประการใหแยกเปนขอ ๆ
ขอความหรือเนื้อเรื่อง ควรประกอบดวยขอความที่ไดใจความชัดเจน แบงเปน 3 สวน ดังนี้
ก. สวนนํา คือขอความสวนที่เปนที่มาของเรื่อง เหตุที่ตองเขียนหนังสือฉบับนี้ หรือเปนการ
เทาความหนังสือที่มีมาถึง คําขึ้นตนสวนนํามักมี 2 กลุม คือ
• ถาติดตอกันเปน ครั้งแรก ขึ้นตนหนังสือวา “เนื่องจาก” “เนื่องดวย” “ ดวย”
• ถาเปนเรื่องที่มีสาเหตุเกี่ยวเนื่อง เชื่อมโยงกัน หรือเปนเรื่องที่รูๆ กันอยูขึ้นตนวา “ เนื่องจาก ”
• ถาเปนหนังสือตอบ หรือมีการอางถึงเรื่องเดิมที่เคยติดตอกันมากอน ขึ้นตนโดยใชคําวา “ตาม”
“ตามที่” “อนุสนธิ” แลวสรุปใจความสั้นๆ ใหครอบคลุมเนื้อหาสําคัญของหนังสือฉบับที่อางถึง
สิ่งสําคัญที่มักผิดพลาดกันเสมอ คือการลงทายขอความวา นั้น หรือความละเอียดดังแจงแลว นั้น
ความ หมายถึง ขอความ ใจความ
แจง หมายถึง บอก แจมแจง ชัดเจน
นั้น ตองวรรค 1 ตัวอักษรกอนคําวานั้น เสมอ เพราะคําวา นั้น
ขยายขอความทั้งยอหนาที่ผานมา หากไมเวนวรรคจะเปนการขยายเฉพาะขอความที่อยูติดกันเทานั้น
ข. สวนเนื้อหา
การเขี ย นส ว นเนื้ อ หาที่ เ ป น ส ว นประกอบที่ 2 ของหนั ง สื อ หากส ว นนํ า สั้ น ๆ เพี ย ง 1-2
บรรทัด ก็สามารถเขียนตอเนื่องในยอหนาแรกได แตถาสวนนํายาว ประมาณ 3 บรรทัดขึ้นไป ควรแยก
เปน 2 ยอหนา คําเชื่อมจากสวนนําอาจใชคําวา ในการนี้ บัดนี้การประชุมดังกลาว จากเหตุการณดังกลาว
............เปนตน หากมีรายละเอียดมาก อาจเขียนเปนขอ ๆ และมากกวา 1 ยอหนาก็ได
-5-

ค. สวนลงทาย
การเขีย นส ว นลงท า ยควรเป น ประโยคสั้ น ๆ ไมควรมี เ นื้ อ หาสํ าคั ญ อยูใ นสว นนี้อี ก เนื้ อหา
ทั้งหมดควรอยูในองคประกอบที่ 2 คือ สวนเนื้อหา สวนลงทายควรเปนการสรุป เนนย้ํา หรือ
ขอบคุณแลวแตกรณี ทั้งนี้ จะตองตรงกับเรื่องดังตัวอยาง

เรื่อง คําลงทาย
1. ขออนุญาต หรือขออนุมัติ ก. จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา
ข. จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติดว ยจะขอบคุณยิ่ง
2. รายงานผลการปฎิบัติงาน ก. จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ
ข. จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และพิจารณาดําเนินการตอไป
3. ชี้แจงขอเท็จจริง ก. จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ
ข. จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและดําเนินการตอไปดวย
จะขอบคุณยิ่ง
4. สงขอมูล ก. จึงเรียนมาเพื่อทราบ
5. เชิญเปนวิทยากร ก. จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณารับเชิญดวย จะขอบคุณยิง่
ข. คณะหวังวาจะไดรับความอนุเคราะหจากทานดวยดี และ
ขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้
6. ขอความรวมมือ หรือขอความอนุเคราะห ก. จึงเรียนมาเพื่อโปรดใหความรวมมือ ขอขอบคุณ
ข. จึงเรียนมาเพื่อโปรดใหความรวมมือ (อนุเคราะห)
ดวย จะขอบคุณยิ่ง
ค. คณะหวังวาจะไดรับความอนุเคราะหจากทานดวยดีเชน
เคย และขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้
7. ซักซอมความเขาใจ ยืนยันหรือใหดําเนินการ ก. จึงเรียนซักซอมมาเพื่อใหเขาใจตรงกัน
ข. จึงเรียนยืนยันมาเพื่อโปรดเขาใจตรงกัน
ค. จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและถือปฏิบัติตอไป
ง. จึงเรียนมาเพื่อโปรดดําเนินการตอไป จะขอบคุณยิ่ง
-6-
9. คําลงทาย ใหใชคําลงทายตามฐานะของผูรับหนังสือตามตารางการใชคําขึ้นตน สรรพนาม
คําลงทาย และการจาหนาซอง ดังตอไปนี้
ผูรับหนังสือ คําขึ้นตน สรรพนาม คําลงทาย คําที่ใชในการจาหนาซอง
1.พระราชวงศ
• พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ข อ เ ด ช ะ ฝ า ล ะ อ อ ง ธุ ลี ใตฝาละอองธุลี ควรมิ ค วรแล ว แต จ ะ
• สมเด็จพระบรมราชินีนาถ พ ร ะ บ า ท ป ก เ ก ล า ป ก พระบาท ทรงพระกรุณาโปรด
กระหมอม ขาพระพุทธเจา เกลาโปรดกระหมอม ขอพระราชทาน
ข า พ ร ะ พุ ท ธ เ จ า …….. ขอเดชะ ทูลเกลาทูล
(ออกชื่อ). ขอ ขาพระพุทธเจา… กระหมอมถวาย

พระราชทาน พระบรม …..(ลงชื่อ)….. ขอเดชะ


ราชวโรกาส กราบบังคม (หรื อ จะนํ า คํ า ว า ขอ
ทูลพระกรุณาทราบฝา เดชะ มาไว ท า ยชื่ อ
ละอองธุลีพระบาท เจาของหนังสือก็ได)

2.สมเด็จพระบรมราชินี ขอพระราชทานกราบ ใตฝาละอองพระบาท ควรมิ ค วรแล ว แต จ ะ ขอพระราชทานกราบ


สมเด็จพระบรมราชชนนี บังคมทูล……………….. ขาพระพุทธเจา ทรงพระกรุณาโปรด บังคมทูล
สมเด็จพระยุพราช (สยามมกุฎ (ออกพระนาม)…….. เกลาโปรดกระหมอม …...(ระบุพระนาม)..….
ราชกุมาร) ทราบฝาละอองพระบาท ขาพระพุทธเจา.……
สมเด็จพระบรมราชกุมารี …….(ลงชื่อ)……….

3. สมเด็จเจาฟา ขอพระราชทานกราบทูล ใตฝาพระบาท ควรมิ ค วรแล ว แต จ ะ ขอพระราชทานกราบ


…….(ออกพระนาม)….. ขาพระพุทธเจา โ ป ร ด เ ก ล า โ ป ร ด ทู ล ……….(ระบุ พ ระ
ทราบฝาพระบาท กระหมอม นาม)…........
ขาพระพุทธเจา.……
……….(ลงชื่อ)…….

4. พระบรมวงศ ชั้นพระองคเจา ขอประทานกราบทูล…… ใตฝาพระบาท ควรมิ ค วรแล ว แต จ ะ ขอพระราชทานกราบ


….(ออกพระนาม)…… ขาพระพุทธเจา โ ป ร ด เ ก ล า โ ป ร ด ทู ล ……….(ระบุ พ ระ
ทราบฝาพระบาท กระหมอม นาม)…........
ข า พระพุ ท ธเจ า .…
…..(ลงชื่อ)…….
- 8-
ผูรับหนังสือ คําขึ้นตน สรรพนาม คําลงทาย คําที่ใชในการจาหนาซอง
5. พระเจาวรวงศเธอ กราบทูล... (ออกพระนาม) ฝาพระบาท ควรมิควรแลวแตจะ กราบทูล....(ระบุพระ
( ที่มิไดทรงกรม ) ทราบฝาพระบาท เกลากระหมอม โปรด นาม)….....
(ชาย)
เกลากระหมอมฉัน
(หญิง)

6. พระอนุวงศชั้น กราบทูล...(ออกพระนาม). ฝาพระบาท ควรมิควรแลวแต กราบทูล....(ระบุพระ


พระวรวงศเธอ ทราบฝาพระบาท เกลากระหมอม จะโปรด นาม).....…
(ทรงกรม) (ชาย)
เกลากระหมอมฉัน
(หญิง)

7. พระอนุวงศ ชั้นพระวรวงศ ทูล ………….(ออกพระ ฝาพระบาท ควรมิควรแลวแตจะ ทูล…....(ระบุพระ


เธอ (ที่มิไดทรงกรม) นาม)…………ทราบฝา กระหมอม(ชาย) โปรด นาม)....…
พระบาท หมอมฉัน(หญิง)

8. พระอนุวงศ ชั้นหมอมเจา ทูล…(ออกพระนาม)….. ฝาพระบาท แลวแตจะโปรด ทูล……(ระบุพระ


กระหมอม(ชาย) นาม).....…
หมอมฉัน(หญิง)
9. พระภิกษุ
สมเด็จพระสังฆราชเจา ขอประทานกราบทูล…… ใตฝาพระบาท ควรมิควรแลวแตจะ ขอประทานกราบ
……(ออกพระนาม)…… ขาพระพุทธเจา โปรดเกลา ทูล…(ระบุพระ
โปรดกระหมอม นาม)…....
10. สมเด็จพระสังฆราช กราบทูล ………………. ฝาพระบาท ควรมิควรแลวแตจะ กราบทูล....(ระบุพระ
……(ออกพระนาม).…. เกลากระหมอม โปรด นาม)....….
(ชาย)
เกลากระหมอมฉัน
(หญิง)
11. สมเด็จพระราชาคณะ นมัสการ…………… พระคุณเจา ขอนมัสการดวย นมัสการ…..... (ระบุ
รองสมเด็จพระราชาคณะ ……...(ออกนาม)….…. กระผม ความเคารพ นาม)….....
ดิฉัน อยางยิ่ง
12. พระราชาคณะ นมัสการ.(ออกนาม)….. พระคุณทาน ขอนมัสการดวย นมัสการ…….(ระบุ
กระผม ความเคารพอยางสูง นาม)…......
ดิฉัน
- 8-

ผูรับหนังสือ คําขึ้นตน สรรพนาม คําลงทาย คําที่ใชในการจาหนาซอง


13. พระภิกษุสงฆทั่วไป นมัสการ...(ออกนาม)….. ทาน ขอนมัสการดวย นมัสการ............(ระบุ
ผม/ดิฉัน ความเคารพ นาม)…....

14. บุคคลธรรมดา
• ประธานองคมนตรี
• นายกรัฐมนตรี
• ประธานรัฐสภา
• ประธานสภา
ผูแทนราษฎร
• ประธานวุฒิสภา
• ประธานศาลฎีกา ทาน
• ประธานศาลรัฐธรรมนูญ กราบเรียน ขาพเจา ขอแสดงความนับถือ กราบเรียน
• ประธานศาลปกครอง กระผม อยางยิ่ง
สูงสุด ผม
• ประธานกรรมการการ ดิฉัน
เลือกตั้ง
• ประธานกรรมการสิทธิ
มนุษยชนแหงชาติ
• ประธานกรรมการ
ปองกันและปราบปราม
การทุจริตแหงชาติ
• ประธานกรรมการตรวจ
เงินแผนดิน
• ผูตรวจการแผนดินของ
รัฐสภา
• รัฐบุรุษ
15. บุคคลทั่วไป เรียน ทาน ขอแสดงความ เรียน
(นอกจากขอ 14) ขาพเจา นับถือ
กระผม
ผม
ดิฉัน
-9-

10. ลงชื่อ ใหลงลายมือชื่อเจาของหนังสือ และใหพิมพชื่อเต็มของเจาของลายมือชื่อไว ใตลายมือชื่อ


11. ตําแหนง ใหลงตําแหนงของเจาของหนังสือ
12. สวนราชการเจาของเรื่อง ใหลงชื่อสวนราชการเจาของเรื่อง หรือหนวยงานที่ออกหนังสือ ถา
สวนราชการที่ออกหนังสืออยูในระดับกระทรวง หรือทบวง ใหลงชื่อสวนราชการเจาของเรื่อง
ทั้งระดับกรมและกอง ถาสวนราชการ ที่ออกหนังสืออยูในระดับกรมลงมา ใหลงชื่อสวน
ราชการเจาของเรื่องเพียงระดับกองหรือหนวยงานที่รับผิดชอบ
13. โทรศัพท ใหลงหมายเลขโทรศัพทของสวนราชการเจาของเรื่อง หรือหนวยงานที่ออกหนังสือ
และหมายเลขภายในตูสาขา (ถามี) ไวดวย
14. สําเนาสง (ถามี) ในกรณีที่ผูสงจัดทําสําเนาสงไปใหสวนราชการ หรือบุคคลอื่นทราบ และ
ประสงคจะใหผูรับทราบวาไดมีสําเนาสงไปใหผูใดแลว ใหพิมพชื่อเต็ม หรือชื่อยอของสวน
ราชการหรือชื่อบุคคลที่สงสําเนาไปให เพื่อใหเปนที่เขาใจระหวางผูสงและผูรับ ถาหากมีรายชื่อ
ที่สงมากใหพิมพวาสงไปตามรายชื่อที่แนบ และแนบรายชื่อไปดวย

You might also like