ญาณ16

You might also like

You are on page 1of 22

โสฬสญาณ ญาณ ๑๖ ขัน้

ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามัคค์ เล่ มที่ ๓๑ มาติกา หน้ าที่ ๑ - ๒


และในคัมภีร์ วิสุทธิมคั ค์ เล่ มที่ ๓ หน้ าที่ ๒๐๖ – ๓๒๘

นำเสนอโดย อ.ธเนศ อุ่นศิริ


อักษรย่ อทีต่ ้ องทำความเข้ าใจ
นา = นามรู ปปริ จเฉทญาณ มุ, = มุญจิตุกมั ยตาญาณ
ปัจ = ปัจจยปริ คคหญาณ ปะ = ปฏิสงั ขาญาณ
สั ม, = สัมมสนญาณ สั ง = สังขารุ เปกขาญาณ
อุ = อุทยัพพยญาณ สั จ, = สัจจานุโลมิกญาณ
ภัง = ภังคญาณ โค = โคตรภูญาณ
ภะ, = ภยตูปัฏฐานญาณ มะ = มรรคญาณ
อา = อาทีนวญาณ ผะ = ผลญาณ
นิ = นิพพิทาญาณ ปะ = ปัจจเวกขณญาณ
ขั้นตอนกระบวนการในการตัดทำลายกิเลส เรียกว่ า วิปัสสนาญาณ 16
๑. นามรู ปปริจเฉทญาณ = ญาณแยกรู ปและนาม
๒. ปัจจยปริคคหญาณ = ญาณรู้เหตุปัจจัยของรูปนาม
๓. สั มมสนญาณ = ญาณพิจารณารู ปนามโดยความ
เป็ นไตรลักษณ์
๔. อุทยัพพยญาณ = ญาณพิจารณาความเกิดดับ
นามและรู ป
d. อุทยัพพยญาณ
= ญาณพิจารณาความ
ญาณนี้จดั เป็ นญาณที่ ๔ ในโสฬสญาณ แต่จดั เป็ นญาณที่ ๑
ใน วิปัสสนาญาณ ๙
เมื่อเจริ ญญาณนี้ จนแก่กล้าก็จะเกิด วิปัสสนูปกิเลส ๑๐
ประการ ที่ทำให้วปิ ัสสนาเศร้าหมอง ดังนี้
๑. โอภาส = แสงสว่าง ๒. ญาณ = ปัญญา
๓. ปี ติ = ความอิ่มใจ ๔. ปัสสัทธิ = ความสงบ
๕. สุ ข = ความสบายใจ ๖. อธิโมกข์ = ศรัทธาแก่กล้า
๗. ปัคคาหะ = ความเพียรแก่กล้า ๘. อุปัฏฐานะ = สติแก่กล้า
๙. อุเบกขา = ความวางเฉย ๑๐. นิกนั ติ = ความยินดีติดใจ
๕. ภังคญาณ = เป็ นญาณที่เห็นความแตกสลาย
ของรู ปนาม
๖. ภยตูปัฏฐานญาณ = เป็ นญาณที่เห็นรู ปนามเป็ นของ
ความน่ากลัว
๗. อาทีนวญาณ = เป็ นญาณที่เห็นความเป็ นโทษ
ของรู ปนาม
๘. นิพพิทาญาณ = เป็ นญาณที่เห็นความน่าเบื่อ
หน่ายของรู ปนามจนถอนจาก
กามราคะได้
ผูเ้ จริ ญวิปัสสนาเกิดความเบื่อหน่ายในสังขาร
๙. มุญจิตุกมั ยตาญาณ = เป็ นญาณทีเ่ ห็นว่ ารู ปนามเป็ นทุกข์
จึงใคร่ จะหนีจากรู ปนาม
๑๐. ปฏิสังขาญาณ = เป็ นญาณที่หาทางหลุดพ้นจาก
การเวียนว่ายตายเกิดเพื่อยุติ
การมีรูปนามในภพต่อ ๆไป
๑๑. สั งขารุ เปกขาญาณ = เป็ นญาณที่เห็นรู ปนามเป็ นไป
ตามปัจจัยจึงวางเฉยในรู ปนาม
ญาณนี้ ถือว่า เป็ นญาณที่มีความสำคัญมาก เพราะเป็ นญาณ
สร้างอำนาจผูป้ ฏิบตั ิวางเฉยต่อรู ปนาม เพราะเห็นความเปลี่ยนของ
รู ปนามที่ปรากฎว่ามีความเป็ นไปแห่งไตรลักษณ์ ไม่สามารถ
บังคับบัญชาได้ ต้องเป็ นตามเหตุและปั จจัย
การปรับ ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา
(อินทรีย์ 5)
 ในการเรียนกรรมฐาน
สิ่ งสำคัญทีส่ ุ ดมีอย่ ู ๒ ประการ คือ
๑. การสอบอารมณ์
๒. การเข้ าถึงธรรมชาติ
การสอบอารมณ์
การสอบอารมณ์ คือการทีล่ ูกศิษย์ ผ้ ูเรียน
กรรมฐาน จะต้ องไปส่ งอารมณ์ คือเล่ าสภาพจิต
ตามความเป็ นจริงให้ อาจารย์ ได้ ทราบ
เมือ่ อาจารย์ ทราบปัญหาในการฝึ กจิต จากนั้น
ท่ านจะได้ ทำการแก้ ไขความเข้ าใจในการวางจิต
ของลูกศิษย์ เรียกว่ า การพัฒนาจิตให้ ถงึ ธรรม
การตบแต่ งอินทรีย์
 การตบแต่ งอินทรีย์ คือ การทีอ่ าจารย์ จะทำการปรับ
คุณธรรมซึ่งมีอยู่ท้งั หมด ๕ ประการในตัวศิษย์ คือ
 ๑. สั ทธา ความเชื่อ
 ๒. วิริยะ ความเพียร
 ๓. สติ ความระลึกได้
 ๔. สมาธิ ความตั้งใจมัน ่
 ๕. ปัญญา ความรอบรู้
 การปรับอินทรีย์หรือสอนวางใจให้ เข้ าสายกลางคือ การทำให้
คุณธรรมเกิดความสม่ำเสมอ ไม่ ล้ำหน้ ากัน โดยมีวธิ ีการ
ตกแต่ ง ดังนี้
๑. ปรับสั ทธาให้ พอดีกบั ปัญญา
๒. ปรับวิริยะให้ พอดีกบั สมาธิ
 เหตุผลคือ ถ้ ามีสัทธามากเกินไปก็จะทำให้ เชื่อง่ าย ถ้ ามีปัญญา
มากเกินไปก็จะทำให้ ไม่ เชื่ออะไรเลย หรือมีเรื่องให้ คดิ มาก ดัง
นั้น จึงต้ องปรับให้ พอดีกนั
 ส่ วนวิริยะ ถ้ ามีมากเกินไปจะทำให้ ฟุ้งซ่ าน สมาธิถ้ามีมากเกิน
ไปก็จะทำให้ ซึมเซา ยึดติดในความสุ ขขั้นสู ง ดังนั้น จึงต้ อง
ปรับให้ พอดีกนั
 สำหรับสติน้ ัน ไม่ ต้องปรับกับองค์ ธรรมอะไรเลย
 สติ สพฺพตฺถ ปตฺถยิ า แปลว่ า สติเป็ นสิ่ งทีต
่ ้ องการ
ในทีท่ ุกสถาน ในกาลทุกเมือ่
 อุปมาในเรื่องอินทรีย์ ๕ ก็เหมือนกับการเทียมรถด้ วยม้ า ๕
ตัว ม้ า ๒ คู่แรก ต้ องสามัคคีไปทางเดียวกัน โดยมีม้า
หัวหน้ าได้ แก่ สติ เป็ นตัวนำทางนั้นเอง
๑๒. สั จจานุโลมิกญาณ = เป็ นญาณที่หยัง่ รู ้อารมณ์
รู ปนามเป็ นครั้งสุ ดท้าย
คล้อยตามอริ ยสัจทั้ง ๔
ตามความเป็ นจริ งก่อน
จะได้บรรลุมรรคผล

อริยสั จ ๔
๑. ทุกข์ ต้องกำหนดรู้เพื่อให้เกิดความเบื่อหน่าย
๒. สมุทยั ต้องหาทางทำลายกิเลสให้สิ้นไปจากใจ
๓. นิโรธ ต้องทำนิพพานให้ประจักษ์แจ้งในใจ
๔. มรรค ต้องปฏิบตั ิตามอริ ยมรรคจนกิเลสเหื อดแห้งไป
๑๓. โคตรภูญาณ = เป็ นญาณที่อยูใ่ นระหว่างการข้าม
จากปุถุชนไปสู่ อริ ยบุคคล
๑๔. มรรคญาณ = เป็ นญาณที่บรรลุความเป็ นอริ ยบุคคลใน
แต่ละขั้น
๑๕. ผลญาณ = เป็ นญาณที่ได้รับความสุ ขอันเกิดมาจาก
การหมดกิเลส
๑๖. ปัจจเวกขณญาณ = เป็ นญาณทีพ่ จิ ารณาทบทวนกิเลสทีล่ ะ
ได้ แล้วและกิเลสทีเ่ หลืออยู่

นี่เป็ นคำตอบทีว่ ่ า เมือ่ บรรลุธรรมแล้วจะรู้ตวั หรือไม่ ว่าบรรลุธรรม


ในขั้นที่ ๑๖ นีจ้ ะไม่ มใี นขั้นอรหัตผล เพราะสามารถละกิเลส
ได้ หมดสิ้นแล้ ว
นิพพาน เป็ นบรมสุข อย่ างยิง่

You might also like