You are on page 1of 26

1

การแกว่งแขนกับการเปลี่ยนแปลง
ชีพจร
การจับชีพจรเพื่อวินิจฉัยโรคต่าง ๆ ซึ่งชาวจีนเรียกว่า
“แมะ” นั้ นเป็ นการค้นพบ ที่
http://campus.sanook.com/u_life/knowledge_04848.phphttp://campus.sanook.com/u_life/knowledge_0

4848.php สำาคัญอย่างยิ่ง ของแพทย์จีนแผนโบราณ แพทย์จีน


ในสมัยโบราณ ได้ศึกษาเกี่ยวกับ หลักการเต้นของชีพจร ไว้
อย่างละเอียดถี่ถ้วน และมีผลงาน เป็ นเกียรติประวัติ เป็ น
ที่แพร่หลายกว้างขวาง จากการเฝ้ าสังเกต การ
เปลี่ยนแปลง ของชีพจร ทำาให้สามารถ ร้้ถึงสภาพของ
ร่างกาย ว่าแข็งแรง หรืออ่อนแอประการใด เหตุท่ีการแกว่ง
แขน สามารถรักษาโรคได้ก็เพราะการแกว่งแขน สามารถ
เปลี่ยนแปลง แก้ไข สภาพของร่างกาย เมื่อแก้ไขสภาพ
ของร่างกายได้ ผลสะท้อน ก็จะแสดงออกไปยังชีพจรด้วย

ตัวอย่างเกี่ยวกับการจับชีพจรเพื่อวินิจฉัยโรค
1. โรคหัวใจ ความดันโลหิตส้ง โดยทัว่ ไปชีพจรจะลอยส้ง
เน้นเร็วเกินไป ความดันโลหิตยิ่งส้ง ชีพจรก็จะยิ่งเต้นเร็ว
เป็ นเงาตามตัว ดังนั้ นโรคหัวใจกับความดันโลหิตส้ง จึง
เกี่ยวพันกันอย่างใกล้ชิด ชีพจรของคนปกติจะเต้นอย่้
ระหว่าง 60 – 80 ครั้งต่อนาที มีการเต้นเป็ นจังหวะ
สมำ่าเสมอเต้นอย่างลึก ๆ และอย่างมีแรง ส่วนผ้้ท่ีป่วยเป็ น
โรคหัวใจผ้้ส้งอายุ และผ้้ท่ีมีร่างกายอ่อนแอ การเต้นของ
ชีพจรจะอย่้ในระหว่าง 60 ครั้งต่อนาที แต่เต้นอ่อน และผ้้
ป่ วยที่เป็ นโรความดันโลหิตตำ่าการเต้นของชีพจรก็จะมีกำาลัง
2

อ่อนเช่นกัน
2. โรคประสาท โรคจิต โรคไต ชีพจรจะเต้นเร็วบ้างช้า
บ้างไม่สมำ่าเสมอ
3. โรคเกี่ยวกับโลหิต เกี่ยวกับนำ้าเหลือง ชีพจรเต้นช้ามี
แรงอ่อนมาก จนกระทัง่ บางรายคลำาด้ไม่ร้สึกว่าเต้น บาง
ราย ชีพจรทางซ้ายกับขวาเต้นไม่เหมือนกัน เมื่อชีพจรทาง
ซ้ายและขวาขัดกันเช่นนี้ การหมุนเวียนของโลหิตก็จึง
ติดขัด
4. โรคอัมพาต คนที่เป็ นลม มักมีชีพจรทั้ง 2 ข้างต่างกัน
บางรายการเต้นของชีพจรแต่ละข้างต่างกันถึง 20 ครั้งต่อ
นาที ซึ่งเกี่ยวโยง กับโรคไขข้ออักเสบเหมือนกัน เมื่อข้าง
หนึ่ งทางเดินของเลือดติดขัดไม่สะดวก อีกข้างหนึ่ งก็จะมี
กำาลังกดดันมากขึ้น

โรคดังกล่าว เหล่านี้ ล้วนสามารถรักษาให้หายได้โดยกาย


บริหารแกว่งแขนทั้งสิ้น
กายบริหารแกว่งแขนสามารถควบคุมการเต้นของชีพจรให้
เป็ นปกติได้อย่างไร
โรคชีพจรเต้นเร็ว การที่ชีพจรเต้นเร็วก็เพราะ โลหิตใน
ร่างกายของเรา ไม่สามารถบังคับการไหลของโลหิตให้เป็ น
ปกติ เมื่อบังคับและควบคุมไม่ได้ ลมก็เสีย สาเหตุ
เนื่ องจากปริมาณโลหิตไม่เพียงพอ เมื่อทำากายบริหารแกว่ง
แขน จะทำาให้ สามารถเสริมสร้างบำารุงโลหิต และยังบังเกิด
ผลในการบังคับควบคุมได้ด้วย
3

การออกำาลังด้วยการบริหารแบบนี้ สามารถบำารุงและ
เสริมสร้างโลหิตได้ก็เพราะ เมื่อกระเพาะและลำาไส้ ได้รบ

การออกกำาลัง จึงเสมือนกับได้รบ
ั การนวดเฟ้ น ก็จะเริม

เคลื่อนไหวได้มากขึ้น ทำาให้กระเพราะอาหาร และลำาไส้
สามารถรับเอาอาหารไปบำารุงร่างกาย ได้อย่างเต็มที่
สำาหรับผ้้ท่ีมีชีพจรเต้นช้ากว่าปกติ ก็เพราะการหมุนเวียน
ของโลหิตติดขัด และปริมาณของโลหิตไม่เพียงพอ การ
บริหารแกว่งแขนจะทำาให้มือและเท้าได้รบ
ั การบริหาร และ
หลังของเรา จะพลอยได้รบ
ั การเคลื่อนไหวด้วย สิ่งกีดขวาง
ทางเดิน ของเลือดลมในทรวงอก และช่องท้องจะถ้กขจัด
ไป โลหิตที่คัง่ ก็จะกระจายหายคัง่ เมื่อนั้ นชีพจรจึงจะเต้น
เป็ นปกติ
การแก้ไขชีพจรให้ดไี ด้ ก็โดยถือหลักของแพทย์จีนแผน
โบราณที่ได้กล่าวไว้แล้วข้างต้นว่า “ชีพจรขึ้นมาจากส้นเท้า”
เวลาทำากายบริหารแกว่งแขน นำ้าหนั กการทรงตัวทั้งหมดอย่้
ที่เท้า เมื่อเท้าได้รบ
ั การออกแรงก็เปรียบเหมือนต้นไม่ท่ีใช้
รากยึดเกาะถึงพื้ นดิน และคล้ายกับการตอกเสาเข็มซึ่งตอก
ลึกลงไป ๆ ทำาให้เกิดมีอาการบีบนวดเลือดลมที่บริเวณเท้า
แล้วส่งกระจายออกไปทัว่ ร่างกาย เมื่อเป็ นเช่นนี้ กล้ามเนื้ อ
ผิวหนั ง กระด้ก ไขข้อ ก็จึงไม่ยากที่จะแก้ไขได้
ดังนั้ นกายบริหารแกว่งแขน จึงมีประสิทธิภาพในการ
บำาบัดโรคภัยเรื้ อรังและร้ายแรงต่าง ๆได้อย่างเกินความคาด
ฝั นทีเดียว
4

กายบริหารแกว่งแขน เพื่อรักษาโรคอัมพาต
โรคอัมพาตหรืออาการที่ตายไปครึง่ ตัว เป็ นลม ความดัน
โลหิตส้ง ไขข้ออักเสบ ส่วนมากโรคเหล่านี้ มักจะเกี่ยว
เนื่ องกัน เกิดขึ้นเพราะ เลือดลมภายในร่างกาย ขาดความ
สมดุลยซึ่งกระทบกระเทือนการไหลเวียนแจกจ่ายของเลือด
ลม และทำาให้ชีพจร กล้ามเนื้ อ และกระด้กไขข้อ เกิดการ
แปรปรวนขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อปรากฏว่าชีพจรทั้ง
สองข้างเต้นไม่เท่ากัน คือข้างหนึ่ งเต้นเร็วอีกข้างหนึ่ งเต้น
ช้า การเต้นของชีพจรบางครั้งต่างกัน 10 – 20 ครั้ง เมื่อ
เป็ นเช่นนี้ ก็จะเกิดปฏิกิรย
ิ าโดยมือเท้าข้างใดข้างหนึ่ ง มี
อาการร้้สึกปวดเมื่อย หรือชา ขาดความร้้สึก ที่จริงส่วนบน
กับส่วนล่างก็มักมีปัญหาเช่นกัน ได้แก่ ส่วนบนเลือดคัง่
แต่ส่วนล่างเลือดกลับเดินไม่ถึงเช่นนี้
เหตุใดการออกกำาลังโดยการแกว่งแขนจึงสามารถรักษา
โรคเหล่านี้ ได้อย่างชะงัด
การออกกำาลังแบบนี้ มิเพียงสามารถรักษาโรคเหล่านี้ ได้
แต่ยังสามารถป้ องกันการเป็ นลมอีกด้วย การที่คนเราเกิด
เป็ นลมขึ้นมา ก็เพราะการไหลเวียนของโลหิต ทั้งสองด้าน
ของร่างกายขัดแย้งกัน ดังนั้ นชีพจรจึงแสดงการไม่สมดุล
กันออกมาให้ปรากฏ
แพทย์จีนแผนโบราณให้คำาอธิบายไว้ว่า “ชีพจรนั้ นได้
เริม
่ จากส้นเท้า” การทำากายบริหารแกว่งแขนมีประโยชน์ก็
เพราะหลังจากแกว่งแขนแล้ว ชีพจรจะเกิดการ
5

เปลี่ยนแปลงกลับคืนส่้สภาพปกติ ชีพจรเป็ นเสมือน


ตัวแทนของอวัยวะภายในร่างกายของคนเรา สาเหตุของ
โรคอัมพาตก็คือ ศีรษะหนั กเท้าเบา ซึ่งเท่ากับส่วนบนหนั ก
ส่วนล่างว่าง กรณี เช่นนี้ จึงเป็ นความผิดปกติอย่างยิ่งเพราะ
ที่ถ้กต้องร่างกายของคนเราส่วนบนต้องเบา และส่วนล่าง
ต้องหนั ก

กายบริหารแกว่งแขนเพื่อพิชิตโรคมะเร็ง
สมุฏฐานของโรคมะเร็งคืออะไร
ตามหลักการแพทย์จีนโบราณ มะเร็งและเนื้ องอกเป็ น
ผลจากการรวมตัวเกาะกันเป็ นก้อนของเลือดลม และเส้น
ชีพจรติดขัด ระบบ การขับถ่ายของเสีย ไม่ทำางาน การ
หมุนเวียนของโลหิตไม่สะดวก และโลหิตไหลช้าลง นำา
เหลือง นำ้าดี นำ้าเมือก เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ผิดปกติ เมื่อ
การหมุนเวียนของโลหิตขาดประสิทธิภาพ และทำางานไม่
เต็มที่ พลังงานหรือความร้อนก็ไม่เพียงพอ จึงทำาให้ระบบ
ขับถ่าย และระบบ ย่อยอาหารไม่ทำางาน แต่เมื่อทำากาย
บริหารแกว่งแขนแล้วจะช่วยให้เจริญอาหาร เม็ดเลือดจะ
เพิ่มมากขึ้น กล้ามเนื้ อที่ไหล่ท้ ัง 2 ข้างได้รบ
ั การออกกำาลัง
อาการเกร็งซึ่งแบกรับนำ้าหนั กอย่้ตลอดเวลาก็จะหายไป
เยื่อบุช่องท้องจะได้รบ
ั การบริหารขึ้น ๆ ลง ๆ ตื่นตัวอย่้
เสมอ ซึ่งจะทำาปฏิกิรย
ิ ากระตุ้นและบีบบังคับลม
เคลื่อนไหวระหว่างไต เมื่อโลหิตสามารถผลิตความร้อน ก็
จะเกิดพลังในการรับของใหม่ แล้วถ่าย ของเก่าออก เช่นนี้
6

แล้ว จึงมีประโยชน์ทางบำารุงเลือดลมด้วย
อนึ่ งจากการศึกษาพบว่า ผ้้ป่วยที่งดบริโภคเนื้ อสัตว์ หัน
มารับประทานอาหารพืชผัก อาหารมังสวิรต
ั อาหารเจ ซึ่งมี
ปริมาณใยมาก จะช่วยให้เลือดในกายสะอาด สามารถขับ
พิษออกจากร่างกายได้เร็ว และส่งผลให้การแกว่งแขน
บำาบัดโรคประสบผลเร็วยิ่งขึ้น

กายบริหารแกว่งแขนกับการรักษาโรคตา
การทำากายบริหารแกว่งแขน มีคุณประโยชน์ต่อผ้้ป่วยที่
เป็ นโรคตา มีบางท่านใช้แว่นสายตาหนามาก แต่เมื่อได้ทำา
กายบริหารแกว่งแขน ระยะหนึ่ ง กลับไม่ต้องใช้แว่นอีกเลย
มีบางคนอ่านหนั งสือพิมพ์ร้สึกลำาบาก มองไม่ค่อยจะเห็น
อ่านแต่ละตัวต้องเพ่งแล้วเพ่งอีก หนั งสือ (เน่ยจัง) คัมภีร์
แพทย์เล่มแรกของจีนกล่าวไว้ว่า “ตาเมื่อได้รบ
ั เลือดหล่อ
เลี้ยงจึงสามารถมองเห็น” แสดงว่าปั จจัยสำาคัญอย่้ท่ีเลือด
เมื่อเลือด เดินไปไม่ทัว่ ถึง ทุกส่วนของร่ายกายก็จะเกิดโรค
ต่าง ๆ อย่างแน่นอน ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายทัว่ ร่างกายมี
ส่วนสัมพันธ์กันทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็ น ชีพจร เส้นเลือด ทาง
ลม หากเลือดหมุนเวียนทัว่ ทุกส่วน เราก็จะร้้สึกสบาย ไม่
เจ็บป่ วย ถ้าใครคิดว่า ดวงตานั้ นมีระบบอย่้อย่างเอกเทศ
ตัดขาด จากกล้ามเนื้ อส่วนอื่น ๆ ของร่างกายนั้ น จึงเป็ น
ความเข้าใจที่ไม่ถ้กต้อง นอกจากนี้ เมื่อเราได้ทำากายบริหาร
แกว่งแขนทัว่ ๆ ไป จะร้้สึกเจริญอาหาร เดินกระฉบับ
กระเฉง นอนหลับสบาย ท้องก็ไม่ผ้ก ซึ่งเป็ นข้อบ่งชี้ว่า
7

ระบบการเผาผลาญอาหารในร่างกาย (METABLISM) นั้ น


ทำางานดี

กายบริหารแกว่งแขนรักษาโรคตับ
กายบริหารแกว่งแขน สามารถรักษาโรคตับแข็ง และโรค
ท้องมานให้หายขาดได้ ถ้าเป็ นตัวบวมหรือตับอักเสบ การ
แกว่งแขน ก็จะยิ่งรักษา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะว่า
ตัวการที่ทำาให้เกิดโรคประเภทนี้ ก็คือ เลือดลมเช่นกัน การที่
เลือดลมผิดปกติ จะทำาให้ตบ
ั เกิดปฏิกริยา เกิดมีน้ ำาขังและ
ไม่สามารถขับถ่ายออกได้ เมื่อเป็ นเช่นนี้ ท่านจะร้้สึกจุก
แน่น อึดอัดจนกระทบกระเทือนไปถึงกระเพาะ ม้าม และ
ถุงนำ้าดีด้วย เมื่อเราทำากายบริหารแกว่งแขน ก็จะขจัด
ปั ญหาเหล่านี้ ไปได้ เป็ นต้นว่า เมื่อลงมือทำาการแกว่งแขน
จะมีอาการเรอ สะอึด ผายลม อาการเหล่านี้ เป็ นสิ่งดีอัน
เนื่ องจากผลทางการรักษาโรค ทั้งนี้ ก็เพราะเข้ากฎเกณฑ์
ตามตำาราจีนแผนโบราณที่ว่า “เลือดลมผ่านตลอดทั้งสาม
จุด”
“จุดสามจุด” ตามตำาราแพทย์จีนโบราณหมายถึง 1 ทาง
ข้าว 2. ทางนำ้า 3. เนิ นที่เริม
่ ต้น และจุดที่ส้ ินสุดของลม
ได้แก่ จุดบน อย่้ท่ีปากกระเพาะด้านบน มีหน้าที่รบ
ั เข้าไม่
รับออก จุดล่าง คือ ภายในส่วนกลางของกระเพาะ มีระดับ
ไม่ส้งไม่ตำ่า มีหน้าที่ย่อยข้าวนำ้า จุดตำ่า อย่้เหนื อกระเพาะ
ปั สสาวะ มีหน้าที่แบ่งแยกสิ่งสะอาดและสิ่งสกปรกออกจา
กัน และมีหน้าที่ขับถ่าย
8

เมื่อตับเกิดอาการแข็ง ส่วนที่แข็งคือส่วนที่ต้องตายไป
อาการแข็งเป็ นเรื่องของวัตถุธาตุซึ่งเป็ นเครื่องบ่งบอกถึง
สมรรถภาพที่เสื่อมถอย ไม่มีชีวิตชีวา นอกจากนี้ ยังมีส่ิงขัด
แย้งเป็ นปั ญหาอีกก็คือ เลือดที่เสียคัง่ ค้างไม่เดิน เพราะแรง
ขับดันเคลื่อนไหวไม่พอ เมื่อทำากายบริหารแกว่งแขน ก็จะ
กระตุ้นให้เลือดลมตื่นตัวหมุนเวียนเร็วขึ้น และจะทำาให้
เจริญอาหาร ช่วยเพิ่มเม็ดเลือด เปิ ดทวารทั้งเก้าและร้ขน
ตับที่อย่้ในสภาพเกาะติด จนแข็ง ก็จะเริม
่ ฟื้ นตัวมีชีวิตใหม่
เพิ่มขึ้นตามลำาดับ ตับที่แข็งก็จะกลายเป็ นอ่อน นั ่นเป็ นการ
เปลี่ยนแปลงสภาพอย่างหนึ่ ง
เมื่อเรากล่าวถึง สภาพการแข็งตัวก็คือการต่อส้้ระหว่าง
พลังใหม่กับพลังเก่า จากผลของการต่อส้้ หากพลังเก่าได้
ชัยชนะ โรคก็จะกำาเริบ หนั กขึ้น ในทางตรงกันข้าม หาก
พลังใหม่มีอำานาจเหนื อพลังเก่า สิ่งที่อย่้ในสภาพแข็งตัวก็
จะค่อย ๆ อ่อนลง การแกว่งแขนนั้ น ให้คุณประโยชน์ ทาง
เสริมสร้างพลังใหม่ ให้สามารถต่อส้้กับสภาพแข็งตัวของตับ
ได้ ความร้้ท่ีค้นพบนี้ นั บว่า เป็ นอัจฉริยะ ชิ้นโบว์แดง ใน
วงการแพทย์จีนโบราณทีเดียว

เคล็ดวิชา 16 ประการ ของกาย


บริหารแกว่งแขน
1. ส่วนบนปล่อยให้ว่าง
2. ส่วนล่างควรให้แน่น
3. ศีรษะให้แขวนลอย (มองตรงไม่ก้มไม่เงยหน้า)
9

4. ปากปล่อยให้เงียบสงบตามปกติ
5. ทรวงอกเหมือนปุยฝ้ าย (ปล่อยตามสบายไม่เกร็ง)
6. หลังยืดตรงให้ตระหง่าน
7. บั้นเอวตั้งตรงเป็ นแกนเพลา
8. ลำาแขนแกว่งไกว
9. ข้อศอกปล่อยให้ลดตำ่าตามธรรมชาติ
10. ข้อมือปล่อยให้หนั กหน่วง
11. สองมือพายไปตามจังหวัดแกว่งแข
12. ช่วงท้องปล่อยตามสบาย
13. ช่วงขาผ่อนคลายืนตรงตามธรรมชาติ
14. บั้นท้ายควรให้งอนขึ้นเล็กน้อย
15. ส้นเท้ายืนถ่วงนำ้าหนั กเสมือนก้อนหิน
16. ปลายนิ้ วเท้าทั้ง 2 ข้างต้องงอจิกแน่นกับพื้ น

คำาอธิบายเคล็ดวิชา 16 ประการ ของกายบริหารแกว่ง


แขน
1. ส่วนบนปล่อยให้ว่าง หมายถึง ส่วนบนของร่างกาย
คือ ศีรษะ ควรปล่อยให้ว่างเปล่า อย่าคิดฟ้ ุงซ่าน มีสมาธิ
แน่วแน่ ควรทำาอย่างตั้งอกตั้งใจมีสติ
2. ส่วนล่างควรให้แน่น หมายถึง ส่วนล่างของร่างกายใต้
บั้นเอวลงไป ต้องให้ลมปราณสามารถเดินได้สะดวก เพื่อให้
เกิดพลังสมบ้รณ์ ฉะนั้ นคำาว่า “ส่วนบนว่าง ส่วนล่างแน่น”
จึงเป็ นหลักสำาคัญอย่างยิ่งในการบริหารแกว่งแขน ขณะทำา
กายบริหารหากไม่สามารถข้าถึงจุดนี้ ได้แล้ว ก็จะทำาให้ได้
10

ผลน้อยลงไปมากทีเดียว
3. ศีรษะให้แขวนลอย หมายถึง ศีรษะของท่าต้องปล่อย
สบาย ๆ ประหนึ่ งว่ากำาลังแขวนลอยไว้ในอากาศ กล้ามเนื้ อ
บริเวณลำาคอ จะต้องปล่อยให้ผ่อนคลายไม่เร็ง ไม่ควรโน้ม
ศีรษะไปข้างหน้า หรือหงายไปข้างหลัง หรือเอียงไปข้าง ๆ
ต้องมองตรงไม่ก้มไม่เงยหน้า
4. ปากปล่อยให้เงียบสงบตามปกติ หมายถึง ไม่ควร
หุบปากแน่น หรืออ้าปากไปตามจังหวะที่ออกแรงแกว่ง
แขนไม่ควรให้ปากอ้าตามใจชอบ ให้หุบปากเพียงเล็กน้อย
โดยผ่อนคลายกล้ามเนื้ อคือ ไม่เม้มริมฝี ปากจนแน่น
5. ทรวงอกเหมือนปุยฝ้ าย คือกล้ามเนื้ อทุกส่วนบน
ทรวงอกต้องให้ผ่อนคลายเป็ นธรรมชาติ เมื่อกล้ามเนื้ อไม่
เกร็งก็จะอ่อนนุ่มเหมือนปุยฝ้ าย
6. หลังยืดตรงให้ตระหง่าน หมายความว่าไม่แอ่นหน้า
แอ่นหลัง หรือก้มตัวจนหลังโก่ง ต้องปล่อยแผนหลังให้ยืด
ตรงตามธรรมชาติ
7. บั้นเอวตั้งตรงเป็ นแกนเพลา หมายถึง บั้นเอวต้องให้
เหมือนเพลารถ ต้องให้อย่้ในลักษณะตรง
8. ลำาแขนแกว่งไกว หมายถึง แกว่งแขนทั้งสองข้างไป
มา ได้จังหวะอย่างสมำ่าเสมอ
9. ข้อศอกปล่อยให้ลดตำ่าตามธรรมชาติ หมายถึง ขณะ
ที่แกว่งแขนทั้ง 2 ข้าง ไปข้างหน้าและข้างหลังนั้ น อย่าให้
แขนแข็งทื่อ ควรให้ข้อศอกงอเล็กน้อยตามธรรมชาติ
11

10. ข้อมือปล่อยให้หนั กหน่วง หมายถึง ขณะที่แกว่ง


แขนทั้ง 2 ข้างนั้ น ควรผ่อนคลายกล้ามเนื้ อที่ข้อมือ เมื่อไม่
เกร็งแล้วจะร้้สึกคล้ายมือหนั กเหมือนเป็ นล้กตุ้มถ่วงอย่้
ปลายแขน
11. สองมือพายไปตามจังหวะแกว่งแขน หมายถึง ขณะ
ที่แกว่งแขนนั้ นฝ่ ามือด้านในหันไปด้านหลัง ทำาท่าคล้าย
กำาลังพายเรือ
12. ช่วงท้องปล่อยตามสบาย หมายถึง เมื่อกล้ามเนื้ อ
บริเวณช่องท้องถ้กปล่อยให้ผ่อนคลายแล้วจะร้้สึกว่า
แข็งแกร่งขึ้น
13. ช่วงขาผ่อนคลาย หมายถึง ขณะที่ยืนให้เท้าทั้งสอง
แยกห่างกันนั้ นควรผ่อนคลายกล้ามเนื้ อที่ช่วงขา
14. บั้นท้าย ควรให้งอนขึ้นเล็กน้อย หมายถึง ระหว่าง
ทำากายบริหารนั้ น ต้องหดกันคือ ขมิบทวารหนั ก คล้ายยก
ส้งให้หดหายเข้าไปใน
ลำาไส้
15. ส้นเท้ายืนถ่วงนำ้าหนั กเสมือนก้อนหิน หมายถึง การ
ยืนด้วยส้นเท้าที่มัน
่ คงยึดแน่นเหมือนก้อนหินไม่มีการสัน

คลอน
16. ปลายนิ้ วเท้าทั้ง 2 ข้างต้องงอจิกแน่นกับพื้ น หมาย
ถึง ขณะที่ยืนนั้ นปลายนิ้ วเท้าทั้ง 2 ข้างต้องงอจิกแน่นกับ
พื้ นเพื่อยึดให้มัน
่ คง
12

เคล็ดลับพิเศษของกายบริหารแกว่งแขน

ข้อพิเศษของกายบริหารแกว่งแขนคือ “บนสาม ล่าง


เจ็ด” ส่วนบน “ว่างและเบา” เรียกว่า “บนสาม” แต่ส่วน
ล่างแน่นและหนั ก เรียกว่า “ล่างเจ็ด” การเคลื่อนไหวอ่อน
โยนละมุนละไม ตั้งจิตให้เป็ นสมาธิ แล้วจึงแกว่งแขนทั้ง
สองข้าง
ด้วยเคล็ดลับพิเศษนี้ แหละ ที่จะช่วยให้ผ้ท่ีมีร่างกาย
อ่อนแอเพราะส่วนบนแข้งแรงแต่ส่วนล่างอ่อนแอ ให้
สามารถปรับเปลี่ยนไปเป็ นผ้้ท่ีมีส่วนล่างแข็งแรงและส่วน
บนกระชุมกระชวย อันเป็ นลักษณะที่ถ้กต้องซึ่งจะทำาให้โรค
ภัยทั้งหายในร่างกายถ้กขจัดออกไปเองจนหมด
อธิบายเคล็ดลับพิเศษ “บนสาม ล่างเจ็ด”
คำาว่า “บนสาม ล่างเจ็ด” หมายถึง อัตราส่วนเปรียบ
เทียบการออกแรงมากและน้อย
“บน” คือส่วนบนของร่างกาย หมายถึง มือ
“ล่าง” คือ ส่วนบ่างของร่างกาย หมายถึง เท้า
“สาม” หมายถึง ใช้แรงสามส่วน
“เจ็ด” หมายถึง ใช้แรงเจ็ดส่วน
เคล็ดวิชาคำาว่า “บนสาม ล่างเจ็ด” มีความหมาย 2
13

ประการ คือ

ประการที่ 1 ในการออกแรงแกว่งแขน หมายถึง เวลา


แกว่งแขนขึ้นข้างบน ใช้แรงเพียงสามส่วน เวลาแกว่งแขน
ลงตำ่ามาล่าง ใช้แรงเจ็ดส่วน

ประการที่ 2 ในการออกแรงทั้งตัว หมายถึง ถ้านั บกัน


ทั้งตัวการออกแรงก็มีอัตราส่วนเปรียบเทียบ คือ บน : ล่าง
เท่ากับ 3 : 7 (บนต่อล่าง เท่ากับสามต่อเจ็ด) คือแกว่งแขน
ไปข้างหน้านั้ น จะเบาหรือแรงก็ตาม แต่มือจะต้องให้ได้
ส่วนกับเท้า ในอัตราความแรง 3 ต่อ 7 อย่้ตลอดเวลา ดัง
นั้ นหากแกว่งมือแรง เท้าก็ต้องอกแรงยิ่งกว่านั้ น นี่ คือ
ความหมายที่กล่าวไว้ว่า “ส่วนบนว่าง ส่วนล่างเบา” หรือ
“บนสามบ่างเจ็ด” ถ้าแขนออกแรงแต่เท้าไม่ออกแรง
เป็ นการบริหารที่ไม่สมบ้รณ์แบบ คือร้้จักใช้แต่แขนลืมใช้
เท้า กรณี น้ ี จะทำาให้ยืนได้ไม่มัน
่ คง ทำาให้ร้สึกคล้าย จะหงาย
หลังล้ม การที่ไม่ต้องการให้ออกแรง มิใช่ว่าจะปล่อยเลยที
เดียว การที่ให้ออกแรงก็มิใช่ว่าให้ออกแรงจนสุดแรงเกิด
14

การปล่อยให้ผ่อนคลายทั้งร่างกายโดยไม่ออกแรงเลยจน
นิ ดเดียวก็จะไม่ได้ผล เพราะผิดหลัก ผิดอย่้ท่ีอัตราส่วน
เนื่ องจากแรงที่เท้าน้อยไป คือ ออกแรงเท้าเท่ากับส่วนบน
นั ่นเอง หรือหากแขนจะออกแรงมากไปสักหน่อยก็จะกลับ
ตาละปั ตร กลายเป็ นว่าส่วนล่างว่างส่วนบนแน่น
การแกว่างแขน ข้อสำาคัญต้องระวังที่แขนให้มาก เมื่อ
ต้องการให้ออกแรงก็มักจะคิดแต่การออกแรงที่แขน ลืมไป
ว่ายังมีเท้า ยังมีเอวที่จะต้องมีส่วนช่วยการเคลื่อนไหว
เหมือนกัน

การเคลื่อนไหวออกแรงของเท้าและเอวนี้ สำาคัญมากกว่า
แขนเสียอีก การที่กล่าวเช่นนี้ บางท่านอาจไม่เข้าใจ หาก
เคยฝึ กมวยจีน ไทเก็กหรือศึกษาหลักการแพทย์จีนสมัย
โบราณเกี่ยวกับเส้นเอ็นและชีพจนแล้วก็จะเข้าใจได้ไม่ยาก
นั ก แขนที่แกว่งนั้ นจะแกว่งไปจากเอวของเรา แต่รากฐาน
ของเอวอย่้ท่ีเท้าเมื่อเป็ นเช่นนี้ หากส่วนบน (แขน) ออกแรง
แกว่งสะบัด แต่ส่วนล่าง (เท้า) ไม่ออกแรงยึดเกาะพื้ นไว้
ให้มัน
่ คงเราก็จะเสียการทรงตัว ขาดความสมดุลกัน ผ้้ท่ี
ป่ วยเป็ นโรคเรื้ อรัง จำานวนไม่น้อย ก็เพราะเลือดลมขาด
ความสมดุล เป็ นอัมพาตก็เพราะเลือดลมขาดความสมดุล
เช่นกัน ความดีเด่นของการแกว่งแขนที่ปรากฏออกมาให้
เห็นชัดก็คือ สามารถช่วยแก้ไขและปรับความไม่สมดุลต่าง
ๆ ของร่างกายนั ่นเอง
เมื่อเราจะแก้ไขและปรับความสมดุลของร่างกายแล้ว
15

ทำาไมจะต้องออกกำาลังเท้าด้วย ทั้งนี้ ก็เพราะว่าที่ฝ่าเท้า


ของคนเรามีจุด ซึ่งทางแพทย์จีนเรียกว่า “จุดนำ้าพุ” จุดนี้
ติดต่อไปถึงไต หากหัวใจเต้นแรงหรือนอนไม่หลับ ถ้า
ทำาการบีบนวด ตรงจุดนำ้าพุน้ ี ก็สามารถ ทำาให้ประสาทสงบ
ช่วยรักษาโรคนอนไม่หลับได้ ตามตำารายังกล่าวไว้ว่า “ที่
ฝ่ าเท้ามีจุดอีกหลายจุด เกี่ยวโยงไปถึง อวัยวะภายในของ
คนเรา” เมื่อเราทราบตำาแหน่งของจุดนั้ น ๆ แล้วก็จะ
สามารถรักษาโรคซึ่งเกิดกับอวัยวะเหล่านั้ นได้เช่นกัน
ดังนั้ นการออกกำาลังโดยวิธีแกว่งแขนก็คือการปรับ
ร่างกายให้สมดุล ซึ่งเป็ น “การบำาบัดรักษาโรคนั ่นเอง”
การที่มีคำากล่าวว่า “โรคร้อยแปดอาจรักษาให้หายได้ด้วย
เข็มเพียงเล่มเดียว” หลายคนคิดว่าออกจะเป็ นการอวดอ้าง
เกินความจริง แต่สำาหรับผ้้ท่ีมีความร้้แตกฉานในวิธีฝังเข็ม
รักษาโรคย่อมได้ประจักษ์แจ้งความจริงด้วยตนเองแล้ว
ฉะนั้ นการที่จะกล่าวว่า การแกว่งแขน สามารถรักษาโรคได้
ร้อยแปดนั้ น จึงพ้ดได้วา่ ไม่ใช่เป็ นการอวดอ้างเกินความ
จริงแน่ เพราะวิชากายบริหารแกว่งแขนนี้ ถือได้วา่ เป็ นสิ่ง
มหัศจรรย์ ในตัวเองอย่้แล้ว

เคล็ดวิชาทั้ง 16 ประการ และเคล็ดลับพิเศษในการ


บริหารแกว่งแขน ดังได้อธิบายมาทั้งหมดนี้ ขอให้ทุกท่าน
อ่านทบทวน จนเข้าใจแจ่มแจ้งดีแล้ว จึงลงมือปฏิบัติ จะ
ทำาให้ได้รบ
ั ผลยอดเยี่ยมครบสมบ้รณ์
16

หลักสำาคัญพื้นฐานของกายบริหาร
แกว่งแขน

1. ยืนตรง เท้าทั้งสองข้างแยกออกจากกันให้มีระยะห่าง
เท่ากับช่วงไหล (ภาพประกอบที่ 1)

ภาพประกอบที่ 1
17

2. ปล่อยมือทั้ง 2 ข้างลงตามธรรมชาติ อย่างเกร็งให้


นิ้ วมือชิดกัน หันอุ้งมือไปข้างหน้า (ภาพประกอบที่ 2)
3. ท้องน้อยหดเข้า เอวตั้งตรง เหยียดหลัง ผ่อนคลาย
กระด้กลำาคอ ศีรษะและปากควรปล่อยไปตามสภาพ
ธรรมชาติ (ภาพประกอบ 2)

เอวเป็ นแกนเพลา

ภาพประกอบที่ 2
4. จิกปลายนิ้ วเท้ายึดเกาะพื้ น ส่วนส้นเท้าก็ให้ออกแรก
เหยียบลงพื้ นให้แน่น ให้แรงจนร้้สึกว่ากล้ามเนื้ อที่โคนเท้า
และท้องตึง ๆ เป็ นใช้ได้ (ภาพประกอบที่ 3)

ภาพประกอบที่ 3
5. สายตาทั้ง 2 ข้าง ควรมองตรงไปยังจุดใดจุดหนึ่ งแล้ว
มองอย่้ท่ีเป้ าหมายนั้ นจุดเดียว สลัดความกังวลหรือความ
นึ กคิดฟ้ ุงซ่านต่าง ๆ ออกให้หมด ให้จด
ุ สนใจความร้้สึกมา
18

รวมอย่้ท่ีเท้าเท่านั้ น
6. การแกว่งแขน ยกมือแกว่งแขนไปข้างหน้าอย่างเบา
ๆ ซึ่งตรงกับคำาว่า “ว่างและเบา” แกว่งแขนไปข้างหน้าไม่
ต้องออกแรง ความส้งของแขนที่แกว่งไปพยายามให้อย่้
ระดับที่เป็ นไปตามธรรมชาติ ไม่ต้องฝื นให้ส้งเกินไป คือ
ให้ทำามุมกับลำาตัวประมาณ 30 องศา แล้วตั้งสมาธินับ
หนึ่ ง… สอง… สาม… ไปเรื่อย ๆ ในขณะเดียวกันก็ต้อง
ระวังอย่าลืมออกแรงส้นเท้าและลำาแขนด้วย เมื่อมือห้อย
ตรงแล้ว แกว่งขึ้นไปข้างหลังต้องออกแรงหน่อย ตรงกับคำา
ว่า “แน่นหรือหนั ก” แกว่งจนร้้สึกว่ากล้ามเนื้ อไม่ยอมให้
มือส้งไปกว่านั้ นอีก เวลาแกว่งแขนกลับให้มีความส้งของ
แขนถึงลำาตัวประมาณ 60 องศา (ภาพประกอบที่ 4)

บนสาม คือว่าง และเปล่า ล่างเจ็ด คือ แน่น


และหนั ก
ภาพประกอบที่ 4
สรุป แล้วก็คือ ขณะที่แกว่งแขนไปข้างหลังให้ออกแรง
มากหน่อย ส่วนแกว่งไปข้างหน้าไม่ต้องออกแรง คือใช้แรง
19

เหวี่ยงให้กลับไปเอง
ก่อนการทำากายบริหารแกว่งแขน ควรแต่งกายด้วยเสื้ อผ้าที่
ไม่คับหรือรัดแน่นเกินไป สะบัดแขน มือ เท้าสักคร่้ให้
กล้ามเนื้ อและร่างกายผ่อนคลาย หมุนศีรษะไปมาแล้วจัด
ลักษณะท่าทางให้ถ้กต้อง

การทำากายบริหารแกว่งแขนมีวิธีนับอย่างไร
การแกว่งแขนนั บโดยเริม
่ ออกแรงแกว่งไปข้างหลังแล้ว
ให้แขนเหวี่ยงกลับมาข้างหน้าเองนั บเป็ น 1 ครั้ง แล้วนั บ
สอง… สาม…ไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะครบตามจำานวนที่เรา
กำาหนดไว้

การแกว่งแขนแต่ละครั้งควรใช้เวลานานเท่าไร
เริม
่ แรกที่ทำากายบริหารควรทำาตั้งแต่ 200 – 300 ครั้ง
ก่อน แล้วค่อย ๆ เพิ่มจำานวนขึ้นครั้งละ 100 ตามลำาดับจน
กระทัง่ ถึง 1000 – 2000 ครั้ง ซึ่งจะใช้เวลาในการบริหาร
ประมาณครั้ง 30 นาที (แกว่ง 500 ครั้งใช้เวลาประมาณ 10
นาที)

การแกว่งแขนควรทำาเวลาไหน
การทำากายบริหารแกว่งแขน สามารถทำาได้ทุกเวลา คือ
เวลาเช้า กลางวัน และเวลาคำ่า หรือแม้แต่ยามว่างสัก 10
นาที ก็สามารถทำาได้ หากรับประทานอาหารอิ่มใหม่ ๆ ควร
นั ่งพักเสียก่อนสัก 30 นาที แล้วจึงค่อยทำากายบริหาร
20

การแกว่งแขนควรทำาที่ไหน
การทำากายบริหารแกว่งแขนนี้ ไม่จำากัดสถานที่ สามารถ
ทำาได้ในที่ทำางาน ในบ้าน ฯลฯ
แต่ถ้าเป็ นไปได้ควรทำาในที่โล่งซึ่งมีอากาศถ่ายเทสะดวก
เช่น ในสวน ใต้ต้นไม้ จะเป็ นการดีมากหากผ้้ปฏิบต
ั ิ
สามารถยืนอย่้บนพื้ นดิน หรือสนามหญ้า และที่สำาคัญขนะ
ทำากายบริหาแกว่งแขตต้องถอดรองเท้าเสมอ ในหนั งสือ
ตำาราแพทย์โบราณกล่าวว่า การที่เราได้มีโอกาส เดินด้วย
เท้าเปล่า ไปบนพื้ นหญ้าที่มีน้ ำาค้างในยามเช้าเกาะอย่้ นั บ
เป็ นผลดีอันวิเศษยิ่งเพราะฝ่ าเท้าทั้งสองจะด้ดซึมเอาธาตุ
ต่าง ๆ จากนำ้าค้างบนใบหญ้า เข้าไปบำารุงหล่อเลี้ยงร่างกาย
ทำาให้เรามีสุขภาพพลานามัยที่สมบ้รณ์ยอดเยี่ยม

ข้อแนะนำา
การแกว่งแขนต้องอาศัยความอดทน การแกว่งแขน
แต่ละครั้งจะมากหรือน้อย ย่อมขึ้นอย่้กับร่างกายของแต่ละ
คน ว่าอ่อนแอ หรือแข็งแรงเพียงใด อย่าใจร้อน อย่าฝื น
แต่ก็ไม่ใช่ทำาตามสบาย เพราะหากปล่อยตามใจชอบแล้ว ก็
จะขาดความเชื่อมัน
่ ต่อการออกกำาลังกาย และจะไม่บังเกิด
ผลเมื่อเริม
่ ปฏิบัติอย่าออกแรงหักโหมมากเกินไปให้แกว่ง
ไปตามปกติทำาอย่างนิ่ มนวล ไม่ใช่แกว่งอย่างเอาเป็ น
21

เอาตาย ควรทำาจิตใจให้เป็ นสมาธิ อย่าฟ้ ุงซ่าน ถ้าหาก


ไม่มีสมาธิแล้วเลือดก็จะหมุนเวียนสับสนไม่เป็ นระเบียบ
์ ลเท่าที่ควร
ทำาให้การปฏิบัตไิ ม่สัมฤทธิผ
การบริหารแกว่งแขนนี้ เมื่อปฏิบัติอย่างสมำ่าเสมอเป็ น
ประจำาสามารบำาบัดโรคร้ายแรงและเรื้ อรังต่าง ๆ ให้หายได้
ส่วนผ้้ท่ีมีร่างกายปกติ หากปฏิบต
ั ิเป็ นประจำาจะช่วยเสริม
สร้างสุขภาพพลานามัยให้ดีย่ิงขึ้น ช่วยให้อารมณ์แจ่มใส
จิตใจเบิกบานและเป็ นสุข
หลังจากการทำากายบริหารแกว่งแขนแล้ว ควรเดินพักตาม
สบายเพื่อผ่อนคลายร่างกายและจิตใจ
ท่านอาจารย์นายแพทย์ภาสกิจ(วิทวัส) วัณนาวิบ้ลแนะนำา
เคล็ดลับการรักษาสุขภาพตามศาสตร์แพทย์แผนจีน ตี
พิมพ์ในวารสารหมอชาวบ้าน

อาจารย์ทา่ นแนะนำาเคล็ดลับไว้ 12 ข้อดังต่อไปนี้ ...


หวีผมบ่อยๆ:
หวีผมเบาๆ บ่อยหน่อยช่วยให้ตาสว่าง และรากผมแข็งแรง
(ใช้หวีซ่ีหา่ งหน่อย แปรงเบาหน่อย เพื่อกันผมหลุด)

ถ้ใบหน้าบ่อยๆ:
ล้างมือด้วยสบ่้ หรือเจลแอลกอฮอล์ให้สะอาดก่อน หลัง
จากนั้ นใช้ฝ่ามือ 2 ข้างถ้หน้าเบาๆ บ่อยหน่อย เพื่อกระตุ้น
ให้เลือดไหลเวียนดีข้ ึน ใบหน้าเปล่งปลัง่
22

เคลื่อนไหวดวงตาบ่อยๆ:
ให้มองไกล-มองใกล้ มองข้างนอก-ข้างใน มองบน-มอง
ล่าง หลีกเลี่ยงการมอง หรือจ้องอะไรนานๆ โดยเฉพาะคน
ที่ทำางานคอมพิวเตอร์ควรพักสายตาด้วยการมองไกลอย่าง
น้อยทุกชัว่ โมง

กระตุ้นใบห้บ่อยๆ:
การดึงห้ ดีดห้ บีบห้ ถ้ใบห้เบาๆ บ่อยหน่อย ช่วยบำารุงตาน
เถียน(จุดฝั งเข็ม) ซึ่งเป็ นตำาแหน่งที่เก็บพลังงานของ
ร่างกาย(ใต้สะดือ) สัมพันธ์กับไต ซึ่งเปิ ดทวารที่ห้ ทำาให้แรง
ดี ป้ องกันเสียงดังในห้ ห้ตึง และอาการเวียนหัว

ขบฟั นบ่อยๆ:
ขบฟั นเบาๆ บ่อยหน่อย(ไม่ใช่ขบแรงดังกรอดๆ) ช่วยให้
ฟั นแข็งแรง และกระตุ้นการหลัง่ นำ้าย่อย

ใช้ล้ ินดุนเพดานปากบ่อยๆ:
การใช้ปลายลิ้นกระตุ้นเพดานบนด้านหน้าเป็ นการกระตุ้น
จุดฝั งเข็ม เพื่อเชื่อมพลังลมปราณตู้และเยิ่น ซึ่งเป็ นเส้น
ควบคุมแนวกลางลำาตัวส่วนหลัง และส่วนหน้าร่างกาย
ทำาให้เกิดการกระตุ้นการหลัง่ สารนำ้า และนำ้าลาย

กลืนนำ้าลายบ่อยๆ:
การกลืนนำ้าลายบ่อยๆ ช่วยกระตุ้นพลังบริเวณคอหอย และ
กระตุ้นการย่อยอาหาร
23

หมัน
่ ขับของเสีย:
หมัน
่ ขับของเสีย โดยเฉพาะดื่มนำ้าให้พอ กินอาหารที่มี
เส้นใย ออกกำาลัง เพื่อป้ องกันท้องผ้ก เมื่อปวดปั สสาวะ
หรืออุจจาระ... ให้ถ่ายทันที อย่ารอโดยไม่จำาเป็ น
การทิ้งของเสียไว้ในร่างกายนานเกินทำาให้เกิดสารพิษ และ
การด้ดซึมสารพิษ(กลับเข้าส่้ร่างกาย)มากขึ้น ทำาให้ป่วยง่าย

ถ้หรือนวดท้องบ่อยๆ:
ให้นวดท้องตามเข็มนาฬิกาเบาๆ เพื่อช่วยให้การขับถ่าย
ของเสียดีข้ ึน

ขมิบก้นบ่อยๆ:
การขมิบก้นบ่อยๆ ช่วยป้ องกันริดสีดวงทวาร และท้องผ้ก

เคลื่อนไหวทุกข้อ:
การอย่้น่ิ งๆ หรืออย่้ในท่าใดท่าหนึ่ งนานเกินไป ทำาให้เกิด
โรคได้ง่าย ควรเคลื่อนไหวข้อต่างๆ ให้ครบทุกข้อทุกวัน
ฝึ กฝนการใช้กล้ามเนื้ อและข้อให้สมดุล เช่น การฝึ กชี่กง
ไท้เก้ก โยคะ ฯลฯ

ถ้ผิวหนั งบ่อยๆ:
ใช้ฝ่ามือถ้ตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย คล้ายกับการถ้ตัว
เวลาอาบนำ้า มีส่วนช่วยให้เลือดและพลังไหลเวียนดี

เรียนเชิญท่านผ้้อ่านลองนำาไปปฏิบต
ั ิด้ เพื่อสุขภาพ พลัง
และลมปราณที่ดไี ปนานๆ ครับ ...
24

ท่านอาจารย์นายแพทย์ภาสกิจ(วิทวัส) วัณนาวิบ้ล
อาจารย์แพทย์ผ้เชี่ยวชาญแพทย์แผนจีน แนะนำาเคล็ดลับ
การด้แลสุขภาพตามศาสตร์แพทย์แผนจีนว่า อาหาร 10
อย่างที่ไม่ควรกินมากเกิน นำาแนวคิดศาสตร์แพทย์แผน
จีนมาวิเคราะห์โดยใช้หลักแพทย์แผนปั จจุบันประกอบ...
อาหารที่ไม่ควรกินมากเกิน หรือบ่อยเกินได้แก่ ...
ไข่เยี่ยวม้า:
ไข่เยี่ยวม้ามีตะกัว่ ค่อนข้างส้ง ตะกัว่ ทำาให้การด้ดซึม
แคลเซียมน้อยลง กินบ่อยๆ จะเสี่ยงโรคกระด้กโปร่งบาง
และอาจได้รบ
ั พิษตะกัว่ เช่น สมองเสื่อม เป็ นหมัน ฯลฯ
ปาท่องโกู:
กระบวนการทำาปาท่องโกูมีการใช้สารส้ม ซึ่งมีตะกัว่ ปน
เปื้ อน ตะกัว่ ทำาให้ไตทำางานหนั กในการขับสารนี้ ออกไป
นอกจากนั้ นยังทำาให้คอแห้ง เจ็บคอง่าย โดยเฉพาะคนที่
เป็ นโรคร้อนในได้ง่าย
เนื้ อย่าง:
กระบวนการรมไฟ ย่างไฟทำาให้เกิดสารเบนโซไพรีน ซึ่ง
เป็ นสารก่อมะเร็ง
ผักดอง:
ผักดอง และของหมักเกลือทำาให้ร่างกายได้รบ
ั เกลือโซเดียม
ส้ง ถ้ากินบ่อยเกิน หรือมากเกินจะทำาให้หัวใจทำางานหนั ก
เกิดความดันเลือดส้ง และโรคหัวใจได้ง่าย นอกจากนั้ น
25

กระบวนการหมักดองยังทำาให้เกิดสารแอมโมเนี ยมไนไต
รด์ ซึ่งเป็ นสารก่อมะเร็ง
ตับหม้:
ตับหม้มีโคเลสเตอรอลส้ง การกินตับหม้บ่อยเกิน หรือมาก
เกินทำาให้เสี่ยงต่อโรคหัวใจ เส้นเลือดสมอง(อัมพฤกษ์-
อัมพาต) และโรคมะเร็งเพิ่มขึ้น
ผักขม ปวยเล้ง:
ผักขมและปวยเล้งมีสารอาหารส้ง ทว่า... มีกรดออกซาเลต
มาก ทำาให้เกิดการขับสังกะสี และแคลเซียมออกจาก
ร่างกายมาก การกินบ่อยเกิน หรือมากเกินอาจทำาให้เกิด
ภาวะขาดแคลเซียม หรือสังกะสีได้
บะหมี่สำาเร็จร้ป:
บะหมี่สำาเร็จร้ปมีสารกัดบ้ด สารแต่งรสค่อนข้างส้ง และมี
คุณค่าทางอาหารตำ่า การกินบะหมี่สำาเร็จร้ปมากเกิน หรือ
บ่อยเกินอาจทำาให้เสี่ยงต่อโรคขาดอาหาร และการสะสมสาร
พิษได้
เมล็ดทานตะวัน:
เมล็ดทานตะวันมีกรดไขมันไม่อ่ิมตัวส้ง ทว่า... การกินมาก
เกิน หรือบ่อยเกินอาจทำาให้กระบวนการเคมี (metabolism)
ในร่างกายผิดปกติ ทำาให้เกิดการสะสมไขมันในตับ ภาวะไข
มันในตับส้งอาจทำาให้เสี่ยงต่อโรคตับ เช่น ตับแข็ง ฯลฯ
เพิ่มขึ้น
26

เต้าห้้หมัก เต้าห้้ย้ ี:
กระบวนการหมักเต้าห้้อาจมีการปนเปื้ อนเชื้ อโรคได้ง่าย...
ซึ่งอาจเป็ นอันตรายต่อคนส้งอายุ หรือเด็กเล็กได้ นอกจาก
นี้ กระบวนการผลิตยังทำาให้เกิดไฮโดรเจนซัลไฟด์ ซึ่งเป็ น
อันตรายต่อร่างกาย
ผงช้รส:
คนเราไม่ควรกินผงช้รสเกินวันละ 6 กรัม หรือประมาณ 1
ช้อนชา... การกินผงช้รสมากเกิน หรือบ่อยเกินทำาให้เกิด
ภาวะกรดกล้ตามิกในเลือดส้ง อาจทำาให้ปวดหัว ใจสัน

คลื่นไส้ และมีผลเสียต่ออวัยวะสืบพันธ์ุ
ถึงตรงนี้ ... ขอให้พวกเรามีอาหารปลอดภัย และมีสุขภาพดี
ไปนานๆ ครับ

You might also like