You are on page 1of 31

บทที่ 1

(Heat Transfer)
สมยศ เชิญอักษร 1
• การถายเทความรอน เปนวิชาที่ศึกษาถึง การเคลื่อนที่ของ
พลังงานระหวางวัตถุสองชิ้น ซึ่งเกิดจากความแตกตางทาง
อุณหภูมิ
• เทอรโมไดนามิคส กลาวถึง ระบบที่อยูในสภาวะสมดุล
โดยที่สามารถคํานวณหาพลังงานในการเปลี่ยนระบบจาก
สถานะที่สมดุลสถานะหนึ่งไปสูอีกสถานะหนึ่งหรืออีก
ระบบหนึ่งซึ่งสมดุลเชนกัน

สมยศ เชิญอักษร 2
• การถายเทความรอน สามารถบอกความเร็ว ที่ใชในการ
เปลี่ยนระบบกอนเขาสูสภาวะสมดุลได
• ตัวอยางเชน ถาวางแทงโลหะรอนลงในถังน้าํ เย็น
– เทอรโมไดนามิคส จะบอกถึงอุณหภูมิผสมสุดทายระหวางแทง
โลหะรอนและน้ําเย็นได แตไมสามารถบอกไดวาใชเวลานาน
เทาใด
– การถายเทความรอน สามารถบอกไดวาทั้งแทงโลหะและน้ํามี
อุณหภูมิเทาใดตามเวลาที่ผานไป

สมยศ เชิญอักษร 3
1.1 วิธกี ารถายเทความรอน
• การนํา (conduction) และ การแผรังสี (radiation)
เปนวิธีการพื้นฐานของการถายเทความรอน อาจเกิดไดทั้งใน
ของแข็งและของไหล
• การพาความรอน (convection heat transfer) เปน
การถายเทความรอนจากผิวของแข็งไปยังของไหลที่อยู
ติดกัน

สมยศ เชิญอักษร 4
1.2 การนําความรอน
• เมื่อใดที่วัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิขึ้น จากการสังเกต
พบวา จะมีพลังงานเคลื่อนยายจากบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง
ไปสูบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ํา

สมยศ เชิญอักษร 5
• ลักษณะการเคลื่อนยายของพลังงานเกิดขึ้นที่ระดับโมเลกุล
ของสสารแบบสุม โดยไมมีการการเคลื่อนที่เปนกลุมกอน
ของสสารเกิดขึ้น
• เราเรียกการเคลื่อนยายของพลังงานลักษณะนี้วา การนํา ซึ่ง
อาจถือไดวาเปน การแพรกระจาย (diffusion) ของ
พลังงานไดชนิดหนึ่ง

สมยศ เชิญอักษร 6
• อัตราการถายเทความรอนโดย การนํา q ในทิศ x ผานพื้นที่
A จะเปนสัดสวนกับอุณหภูมิ T ดังนี้
dT
q = − kA
dx
(1.1)
ซึ่ง A มีทิศตัง้ ฉากกับแนวการเคลื่อนที่ x และ
k คือ คา คุณสมบัติการนําความรอน
(thermal conductivity) ของวัตถุ
• สมการ 1.1 เรียกวา กฎการนําความรอนของ Fourier
เพื่อเปนเกียรติแก Joseph Fourier นักวิทยาศาสตรชาว
ฝรั่งเศสผูคิดสรางสมการนี้ขึ้น
สมยศ เชิญอักษร 7
• เครื่องหมายลบในสมการ (1.1) หมายความวาความรอน
เคลื่อนที่ในทิศทางการลดลงของอุณหภูมิ ดังรูป 1.1
T
ระดับอุณหภูมิ
qx
x
รูป 1.1 การนําความรอนผานวัตถุแข็ง

สมยศ เชิญอักษร 8
• พิจารณาการเคลื่อนที่ของความรอนในลักษณะ สม่ําเสมอ
ทิศทางเดียว ผานผนังเรียบ ดังรูป 1.2

T1 T(x)
T2
L
x
รูป 1.2 การนําความรอนสม่ําเสมอทิศทางเดียวผานผนังเรียบ

สมยศ เชิญอักษร 9
• จากสมการ (1.1) จะไดวา
q
dx = − k dT
A
q 2L T2

A 0
dx = − k ∫ dT
T1

q=
kA
(T1 − T2 ) (1.2)
L

สมยศ เชิญอักษร 10
1.3 คุณสมบัติการนําความรอน
• คุณสมบัติการนําความรอน (thermal conductivity) k
เปนคุณสมบัติอยางหนึ่งของวัตถุที่ ยอมใหความรอนผานได
มากหรือนอย
• วัดเปนหนวยของ อัตราการถายเทความรอน ตอหนึ่งหนวย
ระยะทางการเคลื่อนที่ เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ 1 ํC
• ดังนัน้ หนวยของ k ในระบบ SI คือ W/(m ํC) หรือในระบบ
อังกฤษคือ (Btu/h)/(ft ํF)
สมยศ เชิญอักษร 11
ตัวอยาง 1.1 จงคํานวณหาอัตราการสูญเสียความรอนตอหนึ่ง
หนวยพื้นที่ผานผนังอิฐกอ (Masonry Materials, Brick,
common) หนา 10 cm. ซึ่งมีอุณหภูมิที่ผิว 15 ํC และ 75 ํC
วิธีทํา
• จากตาราง A.3 k มีคาประมาณ 0.72 W/m ํC
• ใชสมการ (1.2) (0.72)( A)
q= (75 − 15)
0.1
q
= 432 W/m 2
A

สมยศ เชิญอักษร 12
• หมายความวา อัตราการสูญเสียความรอนตอหนึ่งหนวย
พื้นที่ (บางครั้งเรียกวา heat flux) คือ 432 W/m2
• สังเกต
1. ความแตกตางระหวาง อัตราการสูญเสียความรอน และ
อัตราการสูญเสียความรอนตอหนึ่งหนวยพื้นที่
2. ทิศทางการไหลของความรอน

สมยศ เชิญอักษร 13
1.4 การแผรังสีความรอน
• การถายเทความรอนวิธที ี่สองเปนลักษณะ การเคลื่อนที่ทาง
แมเหล็กไฟฟาโดยสงออกจากวัตถุในรูปของคลื่นของ
โมเลกุล อะตอมมิค หรือ อนุภาค
• พลังงานที่ใชในการเคลื่อนที่โมเลกุลจะเปลี่ยนรูปเปนการแผ
รังสีความรอน
• ตัวกลางที่มีการแผรังสีความรอนผานไปสามารถเปนไดทั้ง
สุญญากาศ แกสใส ของไหล หรือ ของแข็ง
สมยศ เชิญอักษร 14
• วัตถุทุกชนิดมี พลังงานในการแผรังสีไมคงที่ โดยจะขึ้นกับ
อุณหภูมิ และ ลักษณะของผิวหนาวัตถุ เปนสําคัญ
• วัตถุซึ่งสามารถดูดกลืนพลังงานรังสีตกกระทบผิวหนาได
หมดเรียกวา วัตถุดํา (blackbody)
• วัตถุชนิดนีถ้ ือเปน วัตถุอดุ มคติ ซึ่งจะมี พลังงานในการแผ
รังสี เปนอัตราสวนกับ กําลังสี่ของอุณหภูมิสมบูรณ
(absolute temperature) ที่ผิว

สมยศ เชิญอักษร 15
• Stefan-Boltzmann Law กลาววา การแผรังสีจาก
ผิววัตถุดําจะมีความสัมพันธตามสมการดังนี้
Eb = σTs4 (1.3)
ซึ่ง Eb = พลังงานในการแผรังสีทั้งหมดของวัตถุดาํ และมีคา
เทากับอัตราการแผรังสีตอ หนึ่งหนวยพื้นที่ผิว
(Eb = q/A)
σ = คาคงที่ Stefan-Boltzmann
(σ = 5.67 x 10-8 W/m2 K4)
(σ = 0.1714 x 10-8 Btu/h ft2 R4)
Ts = อุณหภูมิสัมบูรณที่ผิว
สมยศ เชิญอักษร 16
• สําหรับวัตถุผิวไมดํา (nonblackbody) ซี่งดูดกลืน
พลังงานรังสีตกกระทบไดนอ ยกวา 100% นัน้ จะมีพลังงาน
การแผรังสีทั้งหมดดังนี้
E = εEb = εσTs4 (1.4)
ซึ่ง ε = คุณสมบัติการแผรังสี (emissivity) ของวัตถุ มี
คาอยูระหวางศูนยถึงหนึ่ง
• โลหะมีคุณสมบัตกิ ารแผรังสีใกลศนู ย ในขณะที่อโลหะมี
คุณสมบัติการแผรังสีใกลหนึ่ง

สมยศ เชิญอักษร 17
• ดังนัน้ อัตราการถายเทความรอนซึ่งมาจากการแผรังสี qR
ระหวางวัตถุสองชิ้น จึงเทากับผลรวมสุทธิของอัตราการ
แลกเปลี่ยนรังสีความรอนกันนัน่ เอง
• ถามีวัตถุดําสองชิ้นลักษณะเหมือนกันทุกประการ ดังรูป
1.3 คือ เปนแผนแบนขนาดใหญมากไมจาํ กัด วางอยูขนาน
กันในบริเวณสุญญากาศแลว รังสีความรอนที่แผออกจากผิว
หนึ่งจะตกกระทบอีกผิวหนึ่งและถูกผิวนั้นดูดกลืนไว

สมยศ เชิญอักษร 18
A1 อุณหภูมิสูง
q1= A1Eb1 q2= A2Eb2
A2 อุณหภูมิต่ํา

รูป 1.3 การแผรังสีความรอน


• อัตราการแผรังสีความรอนซึ่งแผออกจากผิว A1 และถูกผิว
A2 ดูดกลืนไวคือ A1Eb1 ในขณะเดียวกันอัตราการแผรังสี
ความรอนซึ่งแผออกจากผิว A2 และถูกผิว A1 ดูดกลืนไวคือ
A2Eb2

สมยศ เชิญอักษร 19
• ถา A1 เทากับ A2 แลว อัตราการถายเทความรอนสุทธิ qR
จาก A1 ไปยัง A2 ก็คือ
qR = A1(Eb1 - Eb2) (1.5)
• หรือ
qR = σA1(T14 - T24) (1.6)

สมยศ เชิญอักษร 20
ตัวอยาง 1.2 กลองอุปกรณไฟฟาดังรูปมีถายเทความรอนแบบ
วัตถุดาํ กับผนังซึ่งลอมรอบอยูซึ่งมีอุณหภูมิ 25 ํC จง
คํานวณหาอัตราการถายเทความรอนซึ่งมาจากการแผรังสี ถา
กลองมีอุณหภูมิ 125 ํC

กลองมีขนาด
0.418m x 0.318m x 0.160m
พื้นที่ผิวแผรังสีทั้งหมด As= 0.251 m2

สมยศ เชิญอักษร 21
วิธีทํา
T1 = 125 + 273 = 398 ํK, T2 = 25 + 273 = 298 ํK
ใชสมการ (1.6)
qR = σA1(T14 - T24)
= (5.67 x 10-8)(0.251)(3984 - 2984) = 245 W
ถาตัวกลางระหวางกลองและผนังโดยรอบเปนสุญญากาศแลว
อัตราการถายเทความรอนทั้งหมดจากกลองจะเทากับ 245 W
สังเกต ในการคํานวณการแผรังสีความรอนตองใชอุณหภูมิใน
หนวย Kelvin (K)

สมยศ เชิญอักษร 22
1.5 การพาความรอน
• การพาความรอน คือการถายเทความรอนจากผิวของแข็งไป
ยังของไหลที่สัมผัสกัน
• พลังงานจะถูกเคลื่อนไปโดยโมเลกุลของของไหลเปน
ตัวกลาง

สมยศ เชิญอักษร 23
• พิจารณาแผนแบนวางในแนวนอนใหสัมผัสกับของไหล
ดานบนดังรูป 1.4

ความเร็ว

ทิศการไหล ของไหลอุณหภูมิ TF

q
แผนแบนอุณหภูมิผิว Ts

สมยศ เชิญอักษร 24
• การถายเทความรอนโดยการพาจะสามารถเขียนเปนสมการ
ไดดังนี้
q = hA s (Ts − TF ) (1.7)
ซึ่ง q = อัตราการถายเทความรอนจากผิว
Ts = อุณหภูมิที่ผิว
TF = อุณหภูมิของของไหล
A = พื้นที่ผิวที่เกิดการถายเทความรอน
h = สัมประสิทธิ์การถายเทความรอนเฉลี่ย
(mean coefficient of heat transfer) ที่ผิวสัมผัส
มีหนวยเปน W/m2 ํC (หรือ Btu/hr ft2 ํF)
สมยศ เชิญอักษร 25
• สมการ (1.7) นีเ้ รียกวา Newton law of cooling
คาทั่วไปของสัมประสิทธิ์การถายเทความรอนแสดงอยูดัง
ตาราง 1.1
ตาราง 1.1 คาโดยทั่วไปของสัมประสิทธิ์การถายเทความรอน
กระบวนการ h (W/m2 oK)
การพาแบบธรรมชาติ
แก็ส 2 –25
ของเหลว 50 - 1,000
การพาแบบบังคับ
แก็ส 25 – 250
ของเหลว 50 - 20,000
การพาที่มีการเปลี่ยนแปลงสถานะ
การเดือดและการควบแนน 2,500 – 100,000
สมยศ เชิญอักษร 26
ตัวอยาง 1.3 จงคํานวณอัตราการถายเทความรอนโดยการพา
จากกลองอุปกรณไฟฟาในตัวอยาง 1.2 ถามีอากาศที่ 25 ํC
ลอมรอบกลองอยู ซึ่งสัมประสิทธิ์การถายเทความรอนเฉลี่ย
เทากับ 6.9 W/m2 ํC.
วิธีทํา
ใชสมการ (1.7) q = h A (T − T )
s s F

= (6.9)(0.251)(125 − 25)
= 173 W

สมยศ เชิญอักษร 27
สังเกต
เมื่อมีอากาศลอมรอบอยู อัตราการถายเทความรอนจากวัตถุ
จะมากกวาเมื่อวัตถุวางอยูในสุญญากาศ

อัตราการถายเทความรอนรวม
= อัตราการพาความรอน + อัตราการแผรังสีความรอน

สมยศ เชิญอักษร 28
ตัวอยาง 1.4 เปาอากาศที่ 20o C ผานบนแผนโลหะรอนขนาด
50 x 75 cm หนา 2 cm ที่ 250o C วางนอนอยูบนพื้น
สัมประสิทธิ์การพาความรอนที่ผิว (convection heat transfer
coefficient) คือ 25 W/m2oC ถาแผนโลหะทําจาก carbon
steel (Carbon-manganese-silicon) และมีการสูญเสียความ
รอนโดยการแผรังสี 300 W จงคํานวณหาอุณหภูมิดานใน
ของแผนโลหะ ใหพิจารณาการถายเทความรอนทิศทางเดียว
ผานผิวหนาของแผนโลหะ
วิธีทํา

สมยศ เชิญอักษร 29
TF = 20o C
qR qc Ts = 250o C
เสนผิวหนา
พิจารณาความรอนสมดุลที่ผิวหนาแผนโลหะ
ความรอนเขาซึ่งไดโดยการนํา = ความรอนออกโดยการพา
และการแผรังสี
qนํา = qพา + qแผรังสี
kA
(T1 − Ts ) = hAs (Ts − TF ) + 300
L

สมยศ เชิญอักษร 30
• จากตาราง A.1 ใชคา k = 41 W/moC ดังนั้น
(41)(0.50 × 0.75)
(T1 − 250 ) = (25)(0.50 × 0.75)(250 − 20) + 300
0.02
T1 = 253.19 oC

สมยศ เชิญอักษร 31

You might also like