You are on page 1of 19

1.

ลำดับราชวงศ์และฟาโรห์แห่งอียปิ ต์
ปลายยุคก่ อนราชวงศ์ ราว 3100 ปี ก่ อน ค.ศ.
          ในช่วงปลายยุคก่อนราชวงศ์ มีการแยกการปกครองออกเป็ น 2 อาณาจักร คือ อียปิ ต์เหนือ และ
อียปิ ต์ใต้
          อียปิ ต์ เหนือ หรือเป็ นทีร่ ู้ จักกันในนาม “Red Land”
ประกอบด้วยอาณาเขตทางตอนล่างของแม่น้ำไนล์ รวมไปถึงทะเลทรายรอบข้าง โดยมีผปู ้ กครอง
ดังนี้ สกอร์เปี ยนที่ 1 , โร , กา , คิง สกอร์เปี ยน
     คิง สกอร์เปี ยน (King Scorpion) หรื อ สกอร์เปี ยน ที่ 2 (Scorpion II) ฟาโรห์ผรู ้ วบรวมอาณาจักร
อียปิ ต์ท้ งั บนและใต้เข้าไว้ดว้ ยกัน ในราว 3,200 ปี ก่อนคริ สตกาล ในปลายยุคก่อนราชวงศ์ เป็ นผูค้ รอง
นครธีส (This) ซึ่งตั้งอยูบ่ ริ เวณตอนกลางลุ่มน้ำไนล์ได้กรี ฑาทัพ เข้ายึดครองนครรัฐต่าง ๆ ในอียปิ ต์
บนและตั้งตนเป็ นฟาโรห์แห่งอาณาจักรบน พระองค์ปรารถนาจะรวมอียปิ ต์เข้าด้วยกัน แต่กลับ
สิ้ นพระชนม์เสี ยก่อน โอรสของพระองค์ (ข้อนี้นกั ประวัติศาสตร์ยงั ไม่แน่ใจนักแต่จากหลักฐานที่มี
แสดงว่าทั้งสองพระองค์ น่าจะเกี่ยวดองกัน) ที่มีนามว่า นาเมอร์ (Namer) ได้สานต่อนโยบายและ
กรี ฑาทัพเข้าโจมตีอียปิ ต์ล่าง จนกระทัง่ มาถึงสมัยของ ฟาโรห์เมเนส (Menese) พระองค์สามารถผนวก
ทั้งสองอาณาจักรเข้าด้วยกันได้สำเร็ จและ สถาปนาพระองค์ข้ ึนเป็ นฟาโรห์พระองค์แรกของอียปิ ต์โดย
ตั้งเมืองหลวงที่ เมมฟิ ส (Memphis) ซึ่งอยูต่ อนกลางของลุ่มน้ำไนล์ ซึ่งนักประวัติศาสตร์ได้นบั ฟาโรห์
เมเนสเป็ นฟาโรห์องค์แรกแห่งราชวงศ์ที่ 1 ของอาณาจักรอียปิ ต์โบราณ
   อียป
ิ ต์ ใต้
          อิยปิ ต์ใต้ หรื อเป็ นที่รู้จกั กันในนาม “Black Land” ประกอบด้วยอาณาเขตทางตอนเหนือของแม่น้ำไนล์
รวมไปถึงพื้นที่สามเหลี่ยมปากแม่น ้ำไนล์ มีผปู ้ กครองดังนี้   ตีอู , เทช , เซคีอู , วาสเนอร์
2. เทพเจ้ าแห่ งอียปิ ต์
เทพรา
รา คือ เทพแห่งดวงอาทิตย์ใน ตำนานเทพเจ้าแห่งไอยคุปต์
          ในช่วงที่มีการสร้างโลก เทพรา(Ra) เร(Re) อาเมน-รา(Amen-Ra) หรื อ อามอน-รา (Amon-Ra) ถือ
กำเนิดมาจากแม่น้ำแห่งเทพนุน กายล้อมรอบด้วยกลีบดอกบัว ทุกวันเมื่อเข้าสู่ ราตรี กาล เทพราจะกลับมา
บรรทมในดอกบัวนี้
          สัญลักษณ์ของพระองค์เป็ นนกศักดิ์สิทธิ์ เรี ยกว่า นกเบนนู(Bennu bird) เกาะที่ยอดพีระมิด ถือเป็ น
สัญลักษณ์แห่งแสงอาทิตย์
          เทพราเป็ นดัง่ บิดาแห่งมวลมนุษย์และสรรพสิ่ งทั้งหลาย ทรงสร้างเทพชู เทพแห่งลม เทวีเตฟนุต
เทวีแห่งสายฝน เทพเกบ เทพแห่งปฐพี เทวีนุต เทวีแห่งท้องฟ้ าและเทพแห่งแม่น ้ำนิลนาม เทพฮาปี
          เทพรามีหลายพระนามด้วยกันคือ ในตอนเช้ามักถูกเรี ยกว่า เฆปรี (Khepri) หรื อ เฆเปรา(Khepera)
เรี ยกว่าราในตอนกลางวัน และตุม(Tum) หรื ออาตุม(Atum) ในตอนเย็น  เทพราจะเสด็จออกจากเมืองเฮลี
โอโปลิสพร้อมกับเหล่าเทพเจ้า โดยใช้เรื อสุ ริยนั เป็ นยานพาหนะ เพื่อตรวจเยืย่ มราษฎรในแคว้นทั้ง 12
แคว้น ทำให้เกิดแสงอาทิตย์ตลอด 12 ชัว่ โมงใน 1 วัน
          มีตำนานเกี่ยวกับเทพราอีกมากมาย แต่ก่อนเทพราจะมีเฉพาะฟาโรห์เท่านั้นที่สกั การะได้ บางครั้ง
สัญลักษณ์ของเทพราคือวงกลมหนุนอยูบ่ นเรื อ แต่ส่วนมากมักเป็ นมนุษย์ พระเศียรเป็ นนกเหยีย่ ว
เทพโอซีริส (Osiris)
คือหนึ่งในเทพของ ตำนานเทพเจ้าแห่งไอยคุปต์ เทพแห่งเกษตรกรรม โบราณ ซึ่งผูน้ บั ถือมาจากซีเรี ย
(Syria) ทรงเป็ นพระโอรสองค์แรกของเทพเกบและเทวีนุต ทรงเกิดที่เมืองธีบส์ (Thebes) เมื่อทรงประสูติ มีเสี ยง
ร้องดังเข้าไปถึงในวิหารร้องว่า กษัตริ ยผ์ ยู ้ งิ่ ใหญ่และเพียบพร้อมได้ประสูติแล้ว หรื อเจ้าผูย้ งิ่ ใหญ่ที่สุดได้เข้ามาสู่
แสงสว่างแล้ว กล่าวกันว่าเทพโอซีริส และเทวีไอซิสตกหลุมรักกันตั้งแต่ยงั อยูใ่ นครรภ์ บางกรณี กก็ ล่าวว่าทั้ง
สองพระองค์ทรงอภิเษกกัน และเทพโอซีริสได้บลั ลังค์จากเทพเกบผูเ้ ป็ นบิดา   ตามตำนานของเทพโอซีริส
พระองค์ได้สอนศิลปวิทยาการทั้งหลายแก่มวลมนุษย์ โดยมีเทพธอธเป็ นผูช้ ่วย ในช่วงที่เทพโอซีริสไม่อยูน่ ้ นั
เทพเซ็ตซึ่งเป็ นพระอนุชาคิดกบฎ อยากได้บลั ลังค์และตัวเทวีไอซิส ทั้งยังต้องการเปลี่ยนกฎระเบียบใหม่ แต่เทวี
ไอซิสรู ้ทนั ทุกครั้ง ครั้งเมื่อเทพโอซีริสเสด็จกลับมาไม่นาน เทพเซ็ตและอาโส (Aso) ราชินีแห่งเอธิโอเปี ยและ
กบฏอีก 72 คน ได้ร่วมกันล้มล้างเทพโอซีริสจนสำเร็ จ ร่ างของเทพโอสซีริสถูกจับโยนลงแม่น ้ำนิล เทวีไอซิส
พยายามค้นหาจนพบแล้วใช้พลังมายิกของพระนางร่ วมกับความช่วยเหลือของเทพธอธเทวีเนฟธีสเทพอานูบิส
และเทพฮอรัส ทำให้เทพโอซีริสซึ่งได้เดินทางไปยังโลกแห่งความตายหรื อมตภพดูอตั แล้วกลับมามีชีวติ อีกครั้ง
แต่พระองค์อยากปกครองโลกแห่งความตายมากกว่า ดังนั้นจึงยกราชสมบัติให้เทพฮอรัสผูเ้ ป็ นโอรสแทน
          สัญลักษณ์ของพระองค์มกั เป็ นชาย ประทับยืนอยูห่ รื อประทับนัง่ บนบังลังค์ หรื อวาดเป็ นมนุษย์กำลังลุก
จากแท่นตั้งศพ หรื อเป็ นกษัตริ ยพ์ ระหัตถ์โผล่ข้ ึนมาจากผ้าพันมัมมี่ ถือแส้เป็ นสัญลักษณ์ของอำนาจสูงสุ ด พระ
วรกายเป็ นสี แดงแสดงถึงพื้นดิน หรื อสี เขียวที่แสดงถึงพืชพันธุ์ ทรงสวมมงกุฏสี ขาวแสดงถึงไอยคุปต์ตอนบน
และมีขนนกสี แดงสองเส้นแห่งเมืองบูสีริส(Busiris) ประดับอยู่ บางครั้งจะสวมวงสุ ริยะและเขาสัตว์
เทพฮอรัส
คือหนึ่งในเทพของ ตำนานเทพเจ้าแห่งไอยคุปต์
          เทพฮอรัส(Horus) ทรงเป็ นพระโอรสของเทพโอซีรสิ และเทวีไอซิสและเป็ นพระ
สวามีของเทวีฮาธอร์ทรงเป็ นเทพทีเ่ กิดจากการรวมกันของเทพนกเหยีย่ วและเทพแห่งแสงสว่างทรง
มีพระเนตรขวาเป็ นดวงอาทิตย์และพระเนตรซ้ายเป็ นดวงจันทร์สญั ลักษณ์ของเทพฮอรัสคือเป็ น
มนุษย์ทม่ี ศี ีรษะเป็ นนกเหยีย่ วทรงสวมมงกุฎสองชัน้ หรือแกะสลักเป็ นรูปวงสุรยิ ะมีปีกอยู่ทร่ี วั้ วิห าร
ประจำพระองค์หรือคือนกเหยีย่ วกำลังบินอยู่เหนือการสูร้ บของฟาโรห์ทอ่ี งุ ้ เล็บมีแส้แห่งความจงรัก
ภักดีและแหวนแห่งความเป็ นนิรนั ดร์อยู่
          เทพฮอรัสทรงมีพระนามมากมายตามท้องทีท่ ส่ี กั การะและความเชื่อ เช่นเทพฮาโรเอ
ริส(Haroeris) ฮอรัส เบฮ์เดตี (Horus Behdety) ฮาราเคตฮาร์มาฆิ
ส(Harmakhis) และ ฮาร์สเี อสิส(Harsiesis)
เทพอานูบิส
คือหนึ่งในเทพของ ตำนานเทพเจ้าแห่งไอยคุปต์
          เทพอานูบิส(Anubis)เป็ นพระโอรสของเทวีเนฟธีส และเทพโอสิ ริสทรงมีสญ ั ลักษณ์เป็ นสุ นขั หรื อ
สุ นขั จิ้งจอกซึ่งเป็ นสัตว์ในทะเลทรายใกล้สุสานทรงได้รับความเคารพมากในไอยคุปต์โดยเฉพาะใน
ทะเลทรายแห่งตะวันตกที่เรี ยกว่าบ้านแห่งความตาย
          ทรงเคยเป็ นเทพแห่งความตายมาก่อนเทพโอสี ริสและเป็ นเทพแห่งความตายสำหรับฟาโรห์องค์
แรกเทวีอีสิสทรงเลี้ยงพระองค์มาดัง่ ลูกในไส้เมื่อโตขึ้นเทพอานูบิสจึงเป็ นผูป้ กป้ องพระนาง
          พระองค์เป็ นผูเ้ สาะหาน้ำมันหอมหรื อยาที่หายากในการทำมัมมี่ศพเทพโอสี ริสร่ วมกับเทวีอีสิส
และเทวีเนฟธีสพระมารดาจากนั้นพระองค์จะทำพิธีศพให้เทพโอสี ริสพิธีที่พระองค์ทรงคิดขึ้นนั้นเป็ น
รู ปแบบพิธีการฝังศพในเวลาต่อมา
เทวีไอซิส(Isis)
ทรงประสูติในวันที่ 4 ที่เพิ่มเข้ามา ทรงเป็ นเทวีที่มกั ได้รับความเคารพคู่กบั เทพโอซีริสกล่าวกันว่าทั้ง
สองพระองค์ให้กำเนิดเทพฮอรัสโดยการรวมตัวกัน ในขณะที่เทพฮอรัสยังอยูใ่ นพระครรภ์หรื อหลังจากเทพ
โอซีริสสิ้ นพระชนม์แล้ว
          ในช่วงที่เทพโอซีริสยังอยู่ พระนางมีบทบาทเพียงช่วยพระสวามีในการสร้างอารยธรรมแก่มวลมนุษย์
เพราะพระนางคือเทวีแห่งมารดร หลังจากเทพโอซีริสวรรคตแล้วพระนางจึงมีบทบาทมากขึ้น ยังมีเรื่ องราว
เกี่ยวกับพระนาง เทพโอซีริสและพระโอรสอีกมากมาย
          สัญลักษณ์ของเทวีไอซิสมีหลายแบบ พระนางอาจเป็ นมนุษย์ที่มีศีรษะเป็ นวัว หรื อมีดวงจันทร์สวมบน
ศีรษะ หรื อสวมมงกุฎรู ปดอกบัวและมีหูเป็ นข้าวโพด หรื อถือขาแพะ สัญลักษณ์แห่งความอุดมสมบูรณ์ แต่
ถ้าเป็ นรู ปปั้ นมักเป็ นรู ปพระมารดากำลังให้นมเทพเจ้าฮฮรัสอยู่ แสดงถึงการปกป้ องเด็กๆจากโรคภัย บน
ศีรษะมีเขาสองเขาและมีวงสุ ริยะอยูต่ รงกลาง
          คำว่าไอซิส(Isis) เป็ นนามในภาษากรี กเป็ นพระนามของเทวีที่มีชื่อเสี ยงโด่งดังที่สุดองค์หนึ่งของชาว
ไอยคุปต์ที่เรี ยกกันว่า เทวีเอเซ็ท
เทวีเสลเคต (Selket) หรือเสร์ คูเอต (Serquet)
เทวีแมงป่ อง มีชื่อเสี ยงขึ้นมาโดยราชาแมงป่ อง กษัตริ ยก่อนราชวงศ์ พระนางเกี่ยวข้องกับความอุดม
สมบูรณ์ เพราะพระนางเป็ นหนึ่งในเทวีผพู ้ ิทกั ษ์ตน้ น้ำทั้งสี่ แห่งแม่น้ำนิล หน้าที่ของเทวีเสลเคตคือ เป็ นคนเฝ้ างูอา
โปฟิ ส ศัตรู ของเทพราที่ถูกมัดและขังไว้ใต้พิภพ พระนางเป็ นชายาของเทพเนเฆบคาอู (Nekhebkau) เทพแห่งงู
ใหญ่ มีแขนเป็ นมนุษย์ ซึ่งบางครั้งก็ถือว่าเป็ นหนึ่งในเหล่าปี ศาจซึ่งอาศัยอยูใ่ ต้โลก กล่าวกันว่าเทวีเสลเคตถูกมัด
ด้วยโซ่จนสวรรคต แต่พระสวามีของเธอบางครั้งก็เป็ นเทพที่ดี คอยให้อาหารแก่วญ ิ ญาณของผูต้ าย ถ้าในกรณี น้ ี
เทวีเสลเคตก็เป็ นเทวีที่ดีดว้ ย
          โดยปกติแล้วเทวีเสลเคตจะช่วยเทวีไอสิ สทำพิธีศพเทพโอสิ ริสและเป็ นผูช้ ่วยคอยดูแลเทพโฮรุ ส พระนาง
จะประทับยืนอยูก่ บั เทวีอีสิสตรงปลายโลงศพ และเป็ นเทพ 1 ใน 4 ที่ประจำที่ไหเก็บเครื่ องในมัมมี่ที่เก็บลำไส้
          เทวีเสลเคตมีสญั ลักษณ์เป็ นมนุษย์ ศีรษะเป็ นแมงป่ อง หรื อกายเป็ นแมงป่ อง ศีรษะเป็ นมนุษย์ บางครั้งก็
เป็ นเช่นเดียวกับอิมโฮเตป (Imhotep) เป็ นหนึ่งในมนุษย์เทพของ ตำนานเทพเจ้าแห่งไอยคุปต์
3. ศิลปะอียปิ ต์ โบราณ (2650 ปี ก่ อน พ.ศ.-พ.ศ.501)
ชาวอียปิ ต์มีศาสนาและพิธีกรรมอันซับซ้อน แทรกซึมอยูเ่ ป็ นวัฒนธรรมอยูใ่ นสังคมเป็ นเวลานาน มีการ
นับถือเทพเจ้าที่มีลกั ษณะอันหลากหลาย ดังนั้น งานจิตรกรรม ประติมากรรม   และสถาปัตยกรรมส่ วนมาจึงเป็ น
เรื่ องเกี่ยวกับศาสนา พิธีกรรม โดยเฉพาะพิธีฝังศพ  ซึ่งมีความเชื่อ ว่าเมื่อตายแล้วจะยังมีชีวติ อยูใ่ นโลกใหม่ได้อีก
จึงมีการรักษาศพไว้อย่างดี  และนำสิ่ งของเครื่ อง ใช้ที่มีค่าของผูต้ ายบรรจุตามลงไปด้วย 
          ลักษณะงานจิตรกรรมของอียปิ ต์ เป็ นภาพที่เขียนไว้บนฝาผนังสุ สานและวิหารต่าง ๆ สี ที่ใช้เขียนภาพทำ
จากวัสดุทางธรรมชาติ ได้แก่เขม่าไฟ สารประกอบทองแดง หรื อสี จากดินแล้วนำมา ผสมกับน้ำและยางไม้
ลักษณะของงานจิตรกรรมเป็ นงานที่เน้นให้เห็นรู ปร่ างแบน ๆ มีเส้นรอบนอกที่คมชัด จัดท่าทางของคนแสดง
อิริยาบถต่าง ๆ ในรู ปสัญลักษณ์มากว่าแสดงความเหมือนจริ งตามธรรมชาติ  มักเขียนอักษรภาพลงในช่องว่าง
ระหว่างรู ปด้วย และเน้นสัดส่ วนของสิ่ งสำคัญ ในภาพให้ใหญ่โตกว่าส่ วนประกอบอื่น ๆ เช่นภาพของกษัตริ ย ์
หรื อฟาโรห์ จะมีขนาดใหญ่กว่า มเหสี และคนทั้งหลาย นิยมระบายสี สดใส บนพื้นหลังสี ขาว
          ลักษณะงานประติมากรรมของอียปิ ต์ จะมีลกั ษณะเด่นกว่างานจิตรกรรม มีต้ งั แต่รูปแกะสลักขนาด
มหึ มาไปจนถึงผลงานอันประณี ตบอบบางของพวกช่างทอง ชาวอิยปิ ต์นิยมสร้างรู ปสลักประติมากรรมจากหิ น
ชนิดต่าง ๆ  เช่น หิ นแกรนิต หิ นดิโอไรด์ และหิ นบะซอลท์  หรื อบางทีกเ็ ป็ นหิ นอะลาบาสเตอร์ ซึ่งเป็ นหิ นเนื้อ
อ่อนสี ขาว ถ้าเป็ นประติมากรรมขนาดใหญ่กม็ กั เป็ นหิ น ทราย  นอกจากนี้ยงั มีทำจากหิ นปูน และไม้ซ่ ึงมักจะพอก
ด้วยปูนและระบายสี ดว้ ย งานประติมากรรมขนาดเล็ก มักจะทำจากวัสดุมีค่า เช่น ทองคำ เงิน อิเลคตรัม  หิ นลาปิ
สลาซูลี  เซรามิค
ฯลฯ ประติมากรรมของอียปิ ต์มีท้ งั แบบนูนต่ำ แบบลอยตัว     แบบนูนต่ำมักจะแกะสลักลวดลายภาพบนผนัง 
บนเสาวิหาร และประกอบรู ปลอยตัว  ประติมากรรมแบบลอยตัวมักทำเป็ น รู ปเทพเจ้าหรื อรู ปฟาโรห์ ที่มีลกั ษณะ
คล้ายกับเทพเจ้า นอกจากนี้ยงั ทำเป็ นรู ปข้าทาสบริ วาร สัตว์เลี้ยง และสิ่ งของเครื่ องใช้ต่าง ๆ เพื่อใช้ประกอบใน
พิธีศพอีกด้วย
          ลักษณะสถาปัตยกรรมอียปิ ต์ ใช้ระบบโครงสร้างเป็ นเสาและคาน แสดงรู ปทรงที่เรี ยบง่ายและแข็งทื่อ
ขนาดช่องว่างภายในมีเล็กน้อยและต่อเนื่องกันโดยตลอด สถาปัตยกรรมสำคัญของชาวอียปิ ต์ได้แก่ สุ สานที่ฝัง
ศพ ซึ่งมีต้ งั แต่ของประชาชนธรรมดาไปจนถึงกษัตริ ย ์ ซึ่งจะมีความวิจิตรพิสดาร ใหญ่โตไปตามฐานะ และ
อำนาจ ลักษณะของการสร้างสุ สานที่เป็ นสถาปัตยกรรมสำคัญแห่งยุคก็คือ พีระมิด

พีระมิดในยุคแรกเป็ นแบบขั้นบันได หรื อเรี ยกว่า มาสตาบา ต่อมามีการพัฒนารู ปแบบวิธีการก่อสร้างจน


เป็ นรู ปพีระมิดที่เห็นในปัจจุบนั    นอกจากนี้ยงั มีการสร้างวิหารเทพเจ้าเพื่อใช้ประกอบพิธีกรรมของนักบวช และ
วิหารพิธีศพ เพื่อใช้ประกอบพิธีศพ ในสมัยอาณาจักร ใหม่ (1020 ปี ก่อน พ.ศ. – พ.ศ.510) วิหารเหล่านี้มีขนาด
ใหญ่โต และสวยงาม   ทำจากอิฐและหิ นซึ่งนำรู ปแบบวิหารมากจากสมัยอาณาจักรกลางที่เจาะเข้าไปในหน้าผา
บริ เวณหุบผากษัตริ ย ์ และ หุบผาราชินี ซึ่งเป็ นบริ เวณที่มีสุสานกษัตริ ยแ์ ละราชินีฝังอยูเ่ ป็ นจำนวนมาก
4. อักษรอียปิ ต์ โบราณ
ชาวอียปิ ต์โบราณมีอกั ษรของตนเอง ซึ่งเรี ยกว่าอักษร ฮีโรกลีฟิค (Hieroglyphic) ซึ่งคำว่า ฮีโรกลีฟิคนี้ เป็ น
ชื่อที่ชาวกรี กเรี ยกเครื่ องหมายราณที่ปรากฏอยูต่ ามโบราณสถาน สุ สาน หี บศพ และตามรู ปแกะสลักต่างๆ
          ความหมายของคำนี้คือ “อักษรศักดิ์สิทธิ์ ” ทั้งนี้กเ็ พราะในสมัยที่ชาวกรี กติดต่อสัมพันธ์กบั ชาวอียปิ ต์น้ นั
ชาวอียปิ ต์น้ ี ใช้อกั ษรชนิดนี้สำหรับบันทึกเรื่ องราวทางศาสนาและพิธีกรรมต่างๆ
          ในตอนแรกเวลาชาวอียปิ ต์จะเขียนหรื อแกะสลักภาษาฮีโรกลีฟิคบน กระดาษปาปิ รุ ส หรื อบนผนังหิ นใน
สุ สาน พวกเขาก็จะพยายามแกะสลักรู ปภาพต่างๆ อย่างประณี ตบรรจง เพราะนอกจากจะได้เนื้ อความทางภาษา
แล้ว ภาษาของพวกเขายังดูสวยงามใช้เป็ นเครื่ องประดับตกแต่งไปด้วยในตัว แต่ในระยะหลังเมื่อพวกเขามีความ
เป็ นอยูแ่ ละวิถีชีวติ ที่วนุ่ วายซับซ้อนมากขึ้น พวกเขาก็ไม่มีเวลาที่จะมานัง่ ประดิดประดอยภาษารู ปภาพของตนให้
สวยงามดังแต่ก่อน
          โดยเฉพาะเวลารี บๆ เขียนหนังสื อลงบน กระดาษปาปิ รุ สด้วยปากกาทำด้วยต้นกกนั้น พวกเสมียนที่ทำ
หน้าที่เขียนจะต้องดัดแปลงอักษรบางตัวให้เขียนได้สะดวกยิง่ ขึ้น เหตุน้ ีทำให้รูปของอักษรเปลี่ยนแปลงไปเป็ น
อักษรตวัด ซึ่งเรี ยกว่า อักษรแบบ ฮีราติค (Hieratic) ในระยะแรกอักษรชนิดนี้ กไ็ ม่แตกต่างจากอักษร ฮีโรกลิฟิ
คมากเท่าใดนัก เพียงแค่มีการใช้เครื่ องหมายย่อๆ มากขึ้น และเขียนตัวอักษรหวัดขึ้น แต่ในระยะหลัง อักษรแบบ
ฮีราติคนี้กม็ ีแบบและหน้าตาแปลกออกไปเป็ นของตัวเองโดยเฉพาะ คงเหลือแต่เค้าให้เห็นว่ามีบางสิ่ งบางอย่าง
คล้ายคลึงกันกับอักษร ฮีโรกลิฟิคเท่านั้น
5. เลขอียปิ ต์ โบราณ
  เมื่อกล่าวถึงคณิ ตศาสตร์ ทุกคนคงคิดว่าเป็ น “ศาสตร์ที่วา่ ด้วยเรื่ องตัวเลข” ซึ่งอันที่จริ งแล้วคำจำกัดความ
นี้เป็ นเพียงคำจำกัดความดัง่ เดิมของคณิ ตศาสตร์เท่านั้น ปัจจุบนั คณิ ตศาสตร์ได้ถูกพัฒนาจนไม่สามารถใช้คำ
จำกัดความดังกล่าวได้อีกต่อไป ซึ่งหากน้องๆ อยากรู ้วา่ คณิ ตศาสตร์มีประวัติความเป็ นมาอย่างไร มีอะไรมาก
ไปกว่าตัวเลข พี่กค็ งบอกได้แต่เพียงว่า น้องๆต้องติดตามกันต่อไป อย่างไรก็ตาม คำจำกัดความนี้สามารถชี้ให้
เห็นถึงรากฐาน และที่มาของคณิ ตศาสตร์ได้อย่างชัดเจน นัน่ ก็คือ ตัวเลข นัน่ เอง แน่นอนทีเดียวที่แต่ละ
ประเทศย่อมมีสญ ั ลักษณ์แทนตัวเลขที่แตกต่างกันไป พี่จึงขอเริ่ มต้นประวัติศาสตร์ของคณิ ตศาสตร์ดว้ ยตัวเลข
ที่แต่ละอารยธรรมคิดค้นขึ้น โดยอารยธรรมแรกที่จะขอกล่าวถึงคือ อียปิ ต์โบราณ
          อียปิ ต์โบราณได้รับการก่อตั้งขึ้นเมื่อ 5,464 - 30 ปี ก่อนคริ สตกาล มีอาณาเขตครอบคลุมที่ราบลุ่มแม่น้ำ
ไนล์จากเมืองแอสวาน (Aswan) จนจรดชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรนียนของประเทศอียปิ ต์ปัจจุบนั (ดังแสดงในรู ป
ที่ 1) อียปิ ต์โบราณเป็ นอารยธรรมหนึ่งที่เก่าแก่ที่สุดในโลก และเป็ นอารยธรรมแรกที่ส่งเสริ มวิทยาศาสตร์ ชาว
อียปิ ต์โบราณให้ความสำคัญอย่างมากกับการจดบันทึก และการสื่ อสารจึงได้ประดิษฐ์กระดาษปาปิ รุ ส
(papyrus) ขึ้น ซึ่งทำมาจากต้นกกที่เติบโตอย่างแพร่ หลายในแถบลุ่มแม่น ้ำไนล์นนั่ เอง ชาวอียปิ ต์โบราณสื่ อ
ความหมายด้วยอักษรภาพที่เรี ยกว่า ไฮโรกลิฟ (Hieroglyph) ซึ่งรวมไปถึงตัวเลขด้วย
6. พีระมิดแห่ งอียปิ ต์
พีระมิดเกิดขึน้ มาได้ อย่ างไร
คำว่า “พีระมิด”มาจากคำว่า “Pyramid” ในภาษา กรี ก ซึ่งแปลว่า “ขนมเค้กข้าวสาลี” อาจเป็ นเพราะพีระมิดมี
ลักษณะคล้ายกับขนมเค้กก็ได้ ชาวกรี กเป็ นผูเ้ ริ่ มใช้คำว่า พีระมิด ส่ วนคำว่าพีระมิดในภาษาอียปิ ต์โบราณ เรี ยกว่า
“เมอร์ ” ( mer ) ในสมัยก่อน (ราชวงศ์ที่ 1 เรื่ อยมาจนถึงปฐมกษัตริ ยแ์ ห่งราชวงศ์ที่ 3 ของอียปิ ต์) สุ สานของ
ฟาโรห์เป็ นลักษณะที่เรี ยกว่า “มาสตาบา” เป็ นการสร้างสุ สานอย่างง่ายๆ เป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมสร้างด้วยอิฐมีประตู
หลอกหลายประตู แต่มีประตูจริ งเพียงบานเดียว ห้องเก็บพระศพเจาะป็ นอุโมงค์ลึกไปตามผืนดินโดให้มีความลึก
และเป็ นความลับตามพระขององค์ฟาโรห์
จนกระทัง่ สมัยของฟาโรห์ซอเซอร์ การสร้างสุ สานของฟาโรห์เริ่ มเปลี่ยนแปลงไป โดยมีเสนาบดีอิมโฮเทป
เป็ นผูอ้ อกแบบก่อสร้างพีระมิด โดยพีระมิดสมัยนั้น เรี ยกว่า “พีระมิดขั้นบันได” ซึ่งต่อมาพัฒนาเป็ นพีระมิดแท้
ในที่สุด
สถานที่ตั้ง เมืองกิซา ประเทศอียิปต์
ปัจจุบนั สามารถเข้าเยีย่ มชมได้
มหาพีระมิดแห่งอียปิ ต์เป็ นสิ่ งมหัศจรรย์ยคุ โบราณ เพียงสิ่ งเดียวที่ยงั คงสภาพเกือบสมบูรณ์เหมือนในอดีต ตั้ง
อยูท่ างฝั่งตะวันตกของแม่น้ำไนล์ ณ เมืองกิซ่า ตอนเหนือของกรุ งไคโร เมืองหลวงของประเทศอียปิ ต์ ประกอบ
ไปด้วยพีระมิดใหญ่ 3 องค์ คือ พีระมิดที่บรรจุพระศพของฟาโรห์ คีออปส์ (Cheops) คีเฟรน ( Chephren) และไม
เซอริ นสั (Mycerinus)
พีระมิดเป็ นสิง่ ก่อสร้างรูปกรวยเหลีย่ มใช้เพือ่ เป็ นทีเ่ ก็บมัมมีห่ รือพระศพของฟาโรห์นนั ่ เอง แต่
ก่อนจะมาเป็ นพีระมิดนัน้ ทีฝ่ งั ศพในยุคแรกๆของกษัตริยแ์ ละราชวงศ์รวมถึงขุนนางชัน้ สูง นิยมใช้
หินก่อเป็ นห้องลักษณะสีเ่ หลีย่ มผืนผ้าหลังคาแบนราบทับอยู่บนทีฝ่ งั ศพ เรียกกันว่ามาสตาบา
(Mastaba) มีช่องทางลงไปยังทีเ่ ก็บศพหรือหลุมศพจากด้านหลังคา ภายในวาดภาพหรือ
สลักภาพต่างๆบอกเล่าเรื่องราวของเจ้าของสุสาน ต่อมาฟาโรห์โซเซอร์ (Djoser) ในราชวงศ์ท่ี
3 ประมาณ 2,600 ปี ก่อนคริสต์กาล พระองค์ได้มคำ ี สัง่ ให้อมิ โฮเทปผูเ้ ป็ นสถาปนิกและคน
สนิทของพระองค์ ทำการออกแบบและก่อสร้างสุสานสำหรับบรรจุพระศพของพระองค์ให้ยง่ิ ใหญ่
ขึ้น อิมโฮเทปจึงออกแบบให้เป็ นมาสตาบาก่อซ้อนกันขึ้นไป 6 ชัน้ ลดหลันกั ่ นทุกระดับ จึงถูกเรียก
ว่าพีระมิดขัน้ บันไดหรือ Step pyramid
สาเหตุในการสร้ างพีระมิด
           ชาวอียปิ ต์โบราณเชื่อเรื่ อง “ชีวติ หลังความตาย” เมื่อตายไปแล้วจะมีโลกหน้าเพื่อใช้ชีวติ ยืนยงและจำเป็ น
ต้องรักษาร่ างกายหรื อศพไว้ไม่ให้หายสาบสูญ จึงสร้างพีระมิดไว้เพื่อเก็บรักษาศพ และยังเชื่อเรื่ องการติดตาม
ฟาโรห์ไปยังโลกหน้า โดยเชื่อว่าฟาโรห์คือพระเจ้า และเพื่อให้ดวงวิญญาณกษัตริ ยข์ องพวกเขามีทุกสิ่ งทุกอย่าง
ที่จำเป็ นสำหรับโลกหน้าจึงได้ฝังทรัพย์สินและสิ่ งของส่ วนพระองค์ไปพร้อมกัน ดังจะเห็นจากหลักฐานที่นกั
โบราณคดีคน้ พบเป็ นจำนวนมากในห้องเก็บสมบัติในพีระมิด ได้แก่ เพชรพลอย อาหาร เครื่ องเรื อน เครื่ องดนตรี
และอุปกรณ์ล่าสัตว์ รวมถึงหนังสื อที่เขียนประวัติผตู ้ ายจารึ กด้วยภาษาอียปิ ต์ลงบนกระดานปาปิ รุ ส ที่เรี ยกว่า “ห
นังสื อของคนตาย” (Book of the Dead)   การก่อสร้างพีระมิดในอารยธรรมอียปิ ต์โบราณชาวนาชาวไร่ จึง
ต้องการที่จะมีส่วนร่ วมในการสร้างพีระมิด โดยหวังว่าเมื่อเสี ยชีวติ แล้วจะได้ตามฟาโรห์ไปใช้ชีวติ ในโลกหน้า
การสร้างพีระมิดในสมัยนั้นจึงเป็ นการกระทำด้วยความเต็นใจไม่ได้มีใครบังคับขู่เข็ญ แต่เมื่อสมัยฟาโรห์คูฟู
ความเชื่อนั้นก็ค่อยๆเลือนหายไป ฟาโรห์ลดระดับจากพระเจ้าเป็ นเพียงแค่มนุษย์ธรรมดา ทำให้การก่อสร้าง
พีระมิดในสมัยนั้นเป็ นการบังคับ ทั้งยังมีกาใช้แรงงานทาสอีกด้วย จากความยากลำบากในการสร้างและความยิง่
ใหญ่งดงามอลังการจนยากที่จะเชื่อได้วา่ พีระมิดแห่งนี้
7. มัมมี่ 1000ปี
  มัมมี่ (Mummy) เชื่อกันว่ามาจากคำว่า มัมมียะ (Mummiya) คำในภาษาเปอร์เชียซึ่งหมายถึงร่ าง
ของศพที่ถูกทำให้มีสีดำ
          มัมมี่ คือ ศพที่ดองหรื อแช่ในน้ำยาพิเศษในประเทศอียปิ ต์ พันทัว่ ทั้งร่ างกายด้วยผ้าลินินสี ขาว
เพื่อเป็ นการรักษาสภาพของศพเพื่อรอการกลับคืนร่ างของวิญญาณผูต้ าย ตามความเชื่อของชาวอียปิ ต์
โบราณ คำว่า "มัมมี่" มาจากคำว่า "มัมมียะ" (Mummiya) ซึ่งเป็ นคำในภาษาเปอร์เซียร์ มีความหมายถึง
ร่ างของซากศพที่ถูกดองจนกลายเป็ นสี ดำ โดยชาวอียปิ ต์โบราณจะทำมัมมี่ของฟาโรห์และเชื้อพระวงศ์
ทุกพระองค์ และนำไปฝังในลักษณะแนวนอนภายใต้พ้ืนแผ่นทรายของอียปิ ต์ อาศัยแรงลมที่พดั ผ่านใน
แถบทะเลทรายอาระเบียและทะเลทรายในพื้นที่รอบบริ เวณของอียปิ ต์ เพื่อป้ องกันการเน่าเปื่ อยของ
ซากศพที่อาบด้วยน้ำยา

พิธีพระศพของฟาโรห์ หรือขั้นตอนการทำมัมมี่
พีระมิดและพิธีศพของฟาโรห์เป็ นสิ่ งที่เกี่ยวข้องกันอย่างเลี่ยงกันไม่ได้ เพระพิธีพระศพของฟาโรห์
ถือเป็ นพิธีกรรมที่ยงิ่ ใหญ่ที่สุด ในศาสนาอียปิ ต์โบราณต่างทำพิธีในบริ เวณที่พีระมิดทั้งสิ้ น มีการเตรี ยม
พิธีการตั้งแต่ฟาโรห์มีชีวติ อยู่ กล่าวคือ มีการสร้างพีระมิดและหลุมเก็บพระศพขึ้นมาก่อน เมื่อฟาโรห์
สิ้ นพระชนแล้วจึงจัดพิธีการ
พิธีชำระล้ างพระศพ จะชำระล้างให้สะอาดในทะเลสาบอันศักดิ์สิทธิของวิหารเทพเจ้าเรแห่งนครเฮ
ลิโอโพลิส แล้จึงนำเข้าสู่ วหิ ารหุบเขา
พิธีดองพระศพ ทำในวิหารหุบเขา พระจะทำพิธีผา่ เอาอวัยวะภายในของร่ างกายไปเก็บไว้ในโถ เรี ยกว่า
“คาปิ ก”มีท้ งั หมดสี่ โถ เมื่อบรรจุแล้วก็นำไปเก็บไว้ในกล่องคาโนปิ ก ส่ วนร่ างกายจะแช่น ้ำยาตรอนเป็ น
เวลา 70 วัน ก่อนที่จะล้างออกและห่อด้วยผ้าลินินชุบน้ำยาตรอน เพื่อป้ องกันการเน่าเปื่ อยของร่ างกาย
พิธีเปิ ดปากมัมมี่ พระและพระโอรสองค์ใดองค์หนึ่งของฟาณห์ที่สิ้นพระชนจะเดนไปที่รูปปั้ นของ
ฟาโรห์ 23 รู ป ที่อยูบ่ ริ เวณห้องโถงรู ปตัวที ในมือมีธูปเทียนที่จุดแล้ว พระโอรสจะพรมน้ำบนรู ปปั้ น
เหล่านี้ แล้วให้ขวานหรื อสิ่ วแตะบนปากรู ปปั้ นเบาๆแล้วชโลมปากรู ปปั้ นทั้งหมดด้วยน้ำนม พิธีน้ ีทำขึ้น
เพื่อให้ผตู ้ ายหรื อมัมมี่มีพลังในการพูด และหวนกลับมาเพื่อรอคอยการใช้ชีวติ ในภพใหม่
  ในอียปิ ต์โบราณมีความเชื่อเกี่ยวกับเรื่ องของชีวติ หลังความตาย เกี่ยวกับการหวนกลับคืนร่ างของ
วิญญาณ โดยมีความเชื่อว่าเมื่อวิญญาณออกจากร่ างไปชัว่ ระยะเวลาหนึ่งจะหวนกลับคืนสู่ ร่างเดิมของผู ้
เป็ นเจ้าของ จึงต้องมีการถนอมและรักษาสภาพของร่ างเดิม โดยการแช่และดองด้วยน้ำยาบีทูมิน ซึ่งจะ
ช่วยรักษาและป้ องกันไม่ให้ซากศพเน่าเปื่ อยผุผงั ไปตามกาลเวลา
เอกสารอ้างอิง
ขอขอบคุณข้อมูลจาก
http://www.thaigoodview.com/node/41865
นิตยสารยูงทอง ฉบับ “ค้นหา”
การก่อสร้างพีระมิด อาณาจักรอียปิ ต์โบราณ ลี้ลบั เหนือโลก
Edwards, I.E.S., The Pyramids of Egypt Penguin Books Ltd; New Ed edition (5 Dec 1991),
ISBN 978-0-14-013634-0
Lehner, Mark, The Complete Pyramids, Thames & Hudson, 1997, ISBN 978-0-500-05084-2
Mendelssohn, Kurt, The Riddle of the Pyramids, Thames & Hudson Ltd (6 May 1974), ISBN
978-0-500-05015-6
วารสารเพื่อนเดินทาง ปี ที่ 14 ฉบับที่ 147 มีนาคม 2535

You might also like