You are on page 1of 27

ขมิ้นเป็ นสมุนไพรทีอ่ ยูค่ คู่ นไทยมายาวนาน มีประโยชน์หลายด้าน ทัง้ ทางด้านยารักษาโรค ด้านเครือ่ งสำอาง

ด้านอาหารขมิ้นทีสำ ่ คัญมีอยูด่ ว้ ยกัน 3 ชนิด


 1. ขมิ้นอ้อย
 2. ขมิ้นชัน
 3. ขมิ้นขาว
ขมิ้นแต่ละชนิดมีประโยชน์ทีแ่ ตกต่างกันไปแล้วแต่การนำไปใช้ เราจึงได้จดั ทำโครงงานนี้ข้ นึ มาเพื่อศึกษาประโยชน์
และโทษของขมิ้นและเพื่อให้ทุกคนได้รูถ้ ึงคุณค่าของขมิ้นไม่มองข้ามสมุนไพรทีอ่ ยูใ่ กล้ตวั เราและรูจ้ กั นำมาใช้
ประโยชน์ให้ถูกต้อง ถูกวิธี
 1.เพื่อศึกษาสรรพคุณทีม่ ีมายาวนานของขมิ้น
 2.เพื่อศึกษาการนำขมิ้นมาใช้ประโยชน์ดา้ นต่างๆทัง้ ทางด้านยา ด้านอาหาร ด้านเครือ
่ งสำอาง
 3.เพื่อศึกษาประวัตค ิ วามเป็ นมาของขมิ้น
 4.เพื่อศึกษาวิธีการทีจ่ ะนำขมิ้นแปรรูปเป็ นยาสมุนไพร

 5.เพื่อทีจ่ ะรูถ้ ึงโทษของการใช้ขมิ้นเกินปริมาณ

 6.เพื่อเป็ นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
 1.สืบค้นหาข้อมูลทีต่ อ้ งการจะศึกษา
 2.ได้หวั ข้อโครงงานทีจ่ ะศึกษา

 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล

 4. การวิเคราะห์ขอ้ มูล

 5.สรุปงาน

 6.ลงมือปฏิบต ัิ
                 
 ชือ่ พื้นเมือง : ขมิ้นม่วง
ชือ่ สามัญ : Curcuma white
ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Curcuma mangga Val.&.Zijp.
ชือ่ วงศ์ : ZINGIBERACEAE
รส : รสเผ็ด
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
เป็ นไม้ลม้ ลุก มีเหง้าหรือหัวอยูใ่ ต้ดนิ กลิ่นหอม ลำต้นสูงราว 40-80 ซม. พืชชนิดนี้หน้า
แล้งใบจะโทรม พอถึงฤดูฝน เหง้าทีอ่ ยูใ่ ต้ดนิ จะแตกใบขึ้นมาใหม่อกี ครัง้
 ใบ เป็ นใบเดีย่ วมีกา้ นยาวหุม้ ต้นแบบเวียนสลับ รูปทรงของใบเป็ นใบพายโคนสอบปลายแหลม กว้าง
12-15 ซม. ยาว 30-40 ซม. สีเขียว
 ดอก ออกเป็ นช่อ มีกา้ นข้อยาวแทงจากเหง้าใต้ดน ิ เวลาสีเหลืองอ่อนมีกลีบประดับสีเขียวอมชมพูซอ้ น
ทับแบบเวียนสลับหลายกลีบ
 สรรพคุณทางยา
ขมิ้นขาว สรรพคุณ ขับลมในลำไส้ ขมิ้นมีสารชนิดหนึ่งเรียกว่า curcumin ป้ องกันมะเร็งได้ น้ำ
ต้มขมิ้นมีฤทธิ์ชว่ ยกระตุน้ การหลัง่ ของน้ำดี ใช้รกั ษาอาการนิ่วในถุงน้ำดี และโรคกระเพาะอาหารได้
ขมิ้นสดยังช่วยขับลม แก้ทอ้ งอืดอีกด้วย ขมิ้นขาวสด เมื่อทาน 100 กรัมให้วติ ามินซีถึง 16
มิลลิกรัม ส่วนขมิ้นชันให้วติ ามินซี 12 มิลลิกรัม
 ประโยชน์ทางอาหาร
เหง้าสด นำมารับประทานเป็ นผักสดร่วมกับน้ำพริก หรือนำไปยำ แกง
ส่วนทีใ่ ช้เป็ นอาหาร เหง้าสด
 
 ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Curcuma zedoaria  (Berg) Roscoe
          ชือ่ สามัญ : Zedoary, Luya-Luyahan
          วงศ์ : Zingiberaceae
 ลักษณะของ ขมิ้นอ้อย
          ต้น : ขมิ้นอ้อย เป็ นไม้ลม้ ลุกสูง 50-70 ซม. ลักษณะคล้ายขมิ้นชัน แต่ตน้ สูงกว่า ขนาดเหง้า
และใบใหญ่กว่า โดยเหง้าใต้ดนิ จะโผล่ข้ นึ มาเหนือดินเล็กน้อย มีเนื้อในสีเหลืองอมส้ม กลีบดอกสีนวล มี
กลิ่นหอม
          ใบ : ใบออกเป็ นรัศมีตดิ ผิวดิน รูปหอกแกมขอบขนาน กว้าง 8-10 ซม. ยาว 30-40 ซม.
ก้านใบยาว 8-15 ซม. ท้องใบจะมีขนนิ่ม ๆ ในหน้าแล้งใบจะแห้งลงหัว บางครัง้ เราก็เรียกว่าขมิ้นหัวขึ้น
          ดอก : ขมิ้นอ้อยจะออกดอกเป็ นช่อ ก้านดอกยาวพุ่งออกจากเหง้าทีอ่ ยูใ่ ต้ดนิ ช่อดอกจะมีใบ
ประดับ ดอกมีสขี าว ตรงปลายช่อดอกจะเป็ นสีชมพู ส่วนดอกสีเหลืองจะบานจากล่างขึ้นข้างบน และจะบาน
ครัง้ ละ 2-3 ดอก

         
ส่วนทีใ่ ช้ทำยา
ใบ มีรสเฝื่ อน ช่วยขับปั สสาวะ แก้ช ้ำบวม

   เหง้า มีรสเฝื่ อน แก้ครัน่ เนื้อครัน่ ตัว สมานลำไส้ แก้อกั เสบ แก้ลม แก้เลือดคัง่
เลือดลมไหลเวียนไม่สะดวก

 
สรรพคุณ ของ ขมิ้นอ้อย
รักษาอาการท้องร่วง ท้องเดิน (ที่ไม่ใช่บดิ หรืออหิวาตกโรค) โดยใช้หวั ขมิ้นอ้อยสด ๆ
ประมาณ 2 แว่น มาบดผสมกับน้ำปูนใส กินแก้ทอ้ งร่วงได้

           รักษาแผล โดยนำขมิ้นอ้อยไปหุงในน้ำมันมะพร้าว แล้วนำมาใส่แผล จะช่วยให้แผลหายเร็ว


เนื่องจากหัวขมิ้นอ้อยเป็ นยาฝาดสมานด้วย

           รักษาฝี ถ้าเป็ นฝี หัวเดือน ให้นำใบไผ่มาเผ่าไฟให้ไหม้ แล้วนำหัวขมิ้นอ้อยมาตำด้วยกัน แล้วใช้


น้ำเป็ นกระสายยา และใช้ได้ทงั้ กินและทา หรือพอก

           แก้ฝีในมดลูก โดยใช้ขมิ้นอ้อย 3 ท่อน บอระเพ็ด 3 ท่อน ลูกขี้กาแดง 1 ลูก (ผ่าเป็ น 4 ซีก
แต่ใช้แค่ 3) นำมาต้มรวมกับสุรา กินแก้ฝีในมดลูกได้

           รักษาอาการเสี้ยนหนามตำ โดยนำขมิ้นอ้อยมา 5 แว่น ข้าวเหนียวสุก ประมาณ 1 กำมือ


ดอกชบา 5 ดอก ใช้ตำพอก จะดูดเสี้ยนและหนองออกจากแผลได้

          
รักษาอาการปวดบวม ฟกช้ำ โดยนำขมิ้นสด ๆ มาตำให้ละเอียดแล้วนำมาพอกบริเวณ
ปวดบวม ฟกช้ำ

           แก้หวัด โดยนำหัวขมิ้นอ้อย พริกหาง อบเชยเทศ มาต้มและเติมน้ำผึ้งลงไปผสม นำ


มารับประทานแก้หวัดได้ 

           แก้รดิ สีดวงทวาร นำขมิ้นอ้อย พริกไทยล่อน เปลือกยางแดง มาผสมกันทำยาผง


แล้วนำไปละลายในน้ำยางใส ปั้ นทัง้ หมดเป็ นลูกกลอนขนาดเท่าปลายนิ้วชี้ รับประทานเช้า-เย็น

           แก้หดั หลบใน นำต้นต่อไส้ 1 กำมือ ขมิ้นอ้อย 5 แว่นมาต้มรวมกับน้ำปูนใสพอ


สมควร แล้วใช้ดมื่ ครัง้ ละ 1 ถ้วยชาก่อนอาหารเช้าเย็น

          
่ ให้เกิดฝี หนองทีแ่ ผล เชื้ออหิวาตกโรค เชื้อ
ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย เช่น เชื้อแบคทีเรียทีทำ
่ ให้ทางเดินปั สสาวะอักเสบ เชื้อทีทำ
ทีทำ ่ ให้เจ็บคอ เพราะน้ำมันหอมระเหยในขมิ้นอ้อย จะมีฤทธิ์
ยับยัง้ เชื้อแบคทีเรียได้ดี

           ฆ่าเชื้อรา มีผลวิจยั พบว่า ขมิ้นอ้อย มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อราได้ถึง 11 ชนิด และหยุดการ


เจริญเติบโตของเชื้อราอีก 4 ชนิด ซึง่ ส่วนใหญ่เป็ นเชื้อราทีทำ ่ ให้เกิดโรคผิวหนัง เช่น กลาก
ชันนะตุ เชื้อราทีเ่ ล็บ ผิวหนัง ซอกนิ้วเท้า นอกจากนี้ ขมิ้นชัน ยังมีฤทธิ์ฆ่าเชื้อราได้เหมือนขมิ้น
อ้อย

           ขับลม น้ำมันหอมระเหยในขมิ้นอ้อย สามารถช่วยขับลมในท้องได้

           บำรุงผิว นำขมิ้นอ้อย กระชาก พริกไทย หัวแห้วหมู มาทุบรวมกันแล้วดองด้วยน้ำผึ้ง


รับประทานก่อนนอนทุกคืน จะช่วยให้ผวิ สวย
การแพ้ยา
         คีรบี ูน จงวุฒเิ วศย์.(2546). อาการแพ้ทีเ่ กิดจากสมุนไพร สมุนไพรมีคณ ุ สมบัตเิ ช่น
เดียวกับยาทัว่ ไป คือ
มีทงั้ คุณและโทษ บางคนใช้แล้วเกิดอาการแพ้ได้ แต่เกิดขึ้นได้นอ้ ยเพราะสมุนไพรมิใช่สาร
เคมีชนิดเดียวเช่นยาแผน
ปั จจุบนั ฤทธิ์จงึ ไม่รุนแรง (ยกเว้นพวกพืชพิษบางชนิด) แต่ถา้ เกิดอาการแพ้ข้ นึ ควรหยุด
ยาเสียก่อน ถ้าหยุดแล้วอาการ
หายไป อาจทดลองใช้ยาอีกครัง้ โดยระมัดระวัง ถ้าอาการเช่นเดิมเกิดขึ้นอีกแสดงว่าเป็ นพิษของยา
สมุนไพรแน่ ควร
อาการทีเ่ กิดจากการแพ้ยาสมุนไพร มีดงั นี้
1.ผืน่ ขึ้นตามผิวหนังอาจเป็ นตุม่ เล็กๆ ตุม่ โต ๆ เป็ นปื้ นหรือเป็ นเม็ดแบนคล้ายลมพิษ อาจบวม
ทีต่ า (ตาปิ ด) หรือริม
ฝี ปาก (ปากเจ่อ) หรือมีเพียงดวงสีแดงทีผ่ วิ หนัง
2.เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน (หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง) ถ้ามีอยูก่ อ่ นกินยาอาจเป็ นเพราะโรค
3.หูอ้ อื ตามัว ชาทีล่ ้ นิ ชาทีผ่ วิ หนัง
4.ประสาทความรูส้ กึ ทำงานไวเกินปกติ เช่นเพียงแตะผิวหนังก็รูส้ กึ เจ็บ ลูบผมก็แสบหนังศีรษะ
ฯลฯ
5.ใจสัน่ ใจเต้น หรือรูส้ กึ วูบวาบคล้ายหัวใจจะหยุดเต้น และเป็ นบ่อยๆ
6.ตัวเหลือง ตาเหลือง ปั สสาวะเหลืองและเมื่อเขย่าจะเกิดฟองสีเหลือง (เป็ นอาการของดีซา่ น)
อาการนี้แสดงถึง
อันตรายร้ายแรงต้องรีบไปหาแพทย์ อาการเจ็บป่ วยและโรคทีไ่ ม่ควรใช้สมุนไพรหรือซื้อยารับ
ประทานด้วยตนเอง
 ขมิ้นชันมีประโยชน์และสรรพคุณหลายประการ ดังนี้
  ขมิ้นชันมีวติ ามิน เอ, ซี, อี ทีเ่ ข้าสูร่ า่ งกายแล้วจะทำงานพร้อมกันทัง้ 3 ตัว จึงมีผลทำให้
ช่วยลดไขมันในตับ สมานแผลภายในกระเพาะอาหาร ช่วยย่อยอาหาร ทำความสะอาดลำไส้
เปลี่ยนไขมันให้เป็ นกล้ามเนื้อ ต้านอนุมูลอิสระป้ องกันมะเร็งตับ สร้างภูมิคมุ ้ กันให้กบั ผิวหนัง
กำจัดเชื้อราทีป่ นเปื้ อนในอาหารทีร่ บั ประทานเข้าไปและสะสมในร่างกายเตรียมก่อตัวเป็ นเซลล์
มะเร็ง ช่วยขับน้ำนมสำหรับสตรีหลังการคลอดบุตรได้ดี รองมาจากการกินหัวปลี 
กินขมิ้นชันให้ตรงเวลา ทีอ่ วัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกายเปิ ดการทำงานในช่วงเวลานัน้ จะได้
ผลตรงกับประเด็นทีต่ อ้ งการจะบำรุง หรือแก้ไขฟื้ นฟูอวัยวะ รับประทานเพียง 1 แคปซูล
เท่านัน้ จะออกฤทธิ์มากกว่าเวลาอืน่ ถึง 40 เท่าตัว แต่ถา้ มีปัญหาหลายอย่างก็รบั ประทาน
ครัง้ ละ 1 แคปซูล ทุก ๆ 2 ชัว่ โมง ถ้ารับประทานขมิ้นจำนวนมาก ส่วนทีเ่ หลือจะทำหน้าทีข่ บั
ไขมันในตับ
กินขมิ้นชันตามเวลาต่อไปนี้จะได้ผลโดยตรงกับอวัยวะส่วนนัน้
เวลา 03.00 - 05.00 น. ช่วยบำรุงปอด ป้ องกันการเป็ นมะเร็งปอด ช่วยทำให้
ปอดแข็งแรง ช่วยเรือ่ งภูมิแพ้ของจมูกทีห่ ายใจไม่สะดวก และช่วยเสริมสร้างภูมิคมุ ้ กันทีผ่ วิ หนัง
  เวลา 05.00 - 07.00 น. ช่วยแก้ปัญหาลำไส้ใหญ่ ถ้าเคยกินยาถ่ายมาเป็ น
เวลานาน ให้กินขมิ้นชันเวลานี้ ขมิ้นชันจะฟื้ นฟูปลายประสาทของลำไส้ใหญ่ แต่ตอ้ งกินเป็ น
ประจำ ถึงจะทำให้ลำไส้ใหญ่บีบรัดตัวเพื่อขับถ่ายอย่างปกติ แก้ปัญหาลำไส้ใหญ่กลืนลำไส้เล็ก
หรือลำไส้ใหญ่มีปัญหาถ่ายมากเกินไปหรือถ่ายน้อยเกินไป ถ้าลำไส้ใหญ่ไม่มีปัญหา ให้กินขมิ้น
ชันพร้อมกับสูตรโยเกิต + นมสด + น้ำผึ้ง + มะนาว หรือน้ำอุน่ ก็ได้ จะไปช่วยล้างผนัง
ลำไส้ทมี่ ีหนวดเป็ นขนเล็กๆ อยูเ่ ป็ นล้านๆ เส้น ซึง่ ขนเหล่านี้มีหน้าทีด่ ูดซึมสารอาหารเพื่อไป
สร้างเม็ดเลือด ขมิ้นชันจะช่วยล้างให้สะอาดได้ ก็จะไม่คอ่ ยมีขยะตกค้าง จึงไม่เกิดแก๊สพิษที ่
ทำให้เกิดกลิ่นตัว และจะไม่คอ่ ยเป็ นริดสีดวงทวาร ไม่เป็ นมะเร็งลำไส้
 
เวลา 07.00 - 09.00 น. ช่วยแก้ปัญหาเรือ่ งกระเพาะอาหาร เกิดจากการกิน
ข้าวไม่เป็ นเวลา ท้องอืด จุกแน่น ปวดเข่า ขาตึง ช่วยบำรุงสมอง ป้ องกันความจำเสือ่ ม
 
เวลา 09.00 - 11.00 น. ช่วยแก้ปัญหาเรือ่ งน้ำเหลืองเสีย มีแผลทีป่ าก อ้วน
เกินไป ผอมเกินไปทีเ่ กี่ยวกับม้าม ลดอาการของโรคเก๊าต์ ลดอาการเบาหวาน
 
เวลา 11.00 - 13.00 น. สำหรับผูท้ ีม่ ีปัญหาเกีย่ วกับโรคหัวใจ มีหรือไม่มี ถ้ากิน
ขมิ้นชันเวลานี้ จะช่วยบำรุงหัวใจให้แข็งแรง ถ้าเลยเวลา 11.00 น.ไปแล้ว ขมิ้นชันจะไปทำงาน
ทีต่ บั แล้วตับจะส่งมาทีป่ ิ ด ปอดจะส่งไปยังผิวหนัง แต่สว่ นมากมาไม่ถึงเพราะกินขมิ้นชันน้อยเกิน
ไป อวัยวะส่วนอืน่ จะดึงไปใช้งานก่อนเลยมาไม่ถึงผิวหนัง จึงต้องลงขมิ้นชันทางผิวหนังช่วยอีกทาง
หนึ่ง

เวลา 15.00 - 17.00 น. ช่วยดูแลหูรูดกระเพาะปั สสาวะให้แข็งแรง แก้ปัญหาเรือ่ ง


ตกขาวของสตรี และควรกินน้ำกระชายเวลานี้ดว้ ย จะช่วยดูแลหูรูดกระเพาะปั สสาวะให้แข็งแรง
ช่วงเวลานี้ควรทำให้เหงือกออกจะดีมาก เพราะร่างกายต้องการขับสารพิษให้ได้มากทีส่ ุดในเวลานี้
 
ขมิ้น (Turmeric หรือชือ่ วิทยาศาสตร์ว่า Curcuma longa) พืชตระกูลขิง
ข่าทีส่ ว่ นรากและเหง้าถูกนำมาใช้ในการปรุงอาหาร ให้มีสเี หลืองและกลิ่นหอม สมุนไพรชนิดนี้
พบทัว่ ไปในแถบเอเชีย ขมิ้นถูกเรียกว่า "ฮาลดิ" (Haldi) ในภาษาฮินดี (ภาษาของชาย
อินเดียทางตอนเหนือ) ภาษาจีนเรียกว่า "เจียง ฮวง" (jiang huang) และภาษาทมิฬ
เรียก "มอง จัล" (monjal) โดยมีประวัตสิ รรพคุณทางยายาวนานกว่า 5,000 ปี เริม่
ต้นทีส่ รรพคุณในการรักษาแผล แก้พิษในเลือกและโรคกระเพาะ ในตำรายาอายุรเวชของอินเดีย
(India's Ayurvedic system of medicine) ชาวฮินดูใช้รกั ษาอาการ
เคล็ด ขัด ยอก และบวม ชาวจีนนำขมิ้นมารักษาอาการปวดท้อง ส่วนคนไทยเรานอกจากจะนำ
มาสมานแผลแล้วยังใช้ขดั ผว พอกหน้าอีกด้วย
         
ขมิ้น และสารประกอบ Curcumin ในขมิ้นรวมๆแล้ว เรียก
Curcuminoids มีคณ ุ สมบัตเิ ป็ นสารแอนติออกซิแดนท์ (antioxidant) สารต่อ
ต้อนการอักเสบ ต่อต้านไวรัสและแบคทีเรีย ซึง่ สามารถทำงานท้าทายโรคมะเร็ว โรคเบาหวาน
โรคข้ออักเสบ โรคเรื้อรังต่างๆ และทีสำ่ คัญโรคอัลไซเมอร์ ทีทำ
่ ให้ขมิ้นโดดเด่นเตะตานักวิจยั
          อัลไซเมอร์ ( Alzheimer's disease) ถูกตัง้ ชือ่ ตามผูท้ ีค่ น้ พบ คือ ดร.อโล
อิส อัลไซเมอร์ (Dr. Alois Alzheimer's) นักวิจยั เวชศาสตร์ชาวเยอรมันผูซ้ ึง่ ค้น
พบอาการผิดปกติในสมองผูป้ ่ วย โดยอัลไซเมอร์จะทำลายสมองของผูป้ ่ วยไม่ให้ทำงานได้ตาม
ปกติ ผูป้ ่ วยอาจหลงๆลืมๆ สูญเสียความทรงจำ และอาจทำให้พูดไม่ชดั
ในปี 2548 มีผลงานวิจยั เกี่ยวกับขมิ้นปรากฏในฐานข้อมูล PubMed ของห้อง
สมุดทางการแพทย์ของสหรัฐ (NLM National Library of Medicine)
จำนวนเกือบ 300 ฉบับในปี เดียว เปรียบเทียบกับก่อนหน้านี้หา้ ปี ซึง่ มีงานวิจยั เพียง 100
ฉบับเท่านัน้ เนื่องจากขมิ้นเป็ นทีน่ ิยมในวงการศึกษาวิจยั จนนักวิจยั หลายคนตัง้ ชือ่ ตัวเองขำขำ
ว่า "นักขมิ้นศาสตร์" (Curcuminologists)
ขมิ้นให้ผลทางบวกกับร่างกายของคนเราและมีระดับความเป็ นพิษต่ำ ขมิ้นนอกจากจะ
ไม่เป็ นแค่เพียงยารักษาเท่านัน้ แต่ยงั เป็ นสารสร้างภูมิคมุ ้ กันให้ตวั มังเองอย่างช้าๆ และอาจนำ
ไปสูก่ ารบิดเบื่อนทางพันธุกรรมทีซ่ บั ซ้อน (Multiple Mutations) ได้เช่นกัน งาน
วิจยั บางชิ้นจากงานวิจยั ทุกฉบับ (1700 ฉบับ) ในฐานข้อมูล Pubmed ได้เตือนให้ระวัง
เรือ่ งการนำสารขมิ้นไปใช้ในวงกว้าง เนื่องจากขมิ้นทำงานในระดับชีวโมเลกุล และบางทีขมิ้นอาจ
จะทำให้โรคแย่ยงิ่ กว่าเดิมก็เป็ นได้
งานวิจยั ชิ้นแรกทีพ่ บในฐานข้อมูล PubMed เมื่อ 37 ปี ทแี่ ล้วเมื่อกลุม่ นักวิจยั ชาวอินเดียพบ
ว่าขมิ้นสามารถลดระดับโคเลสเตอรอลในหนูทดลองได้ อีกก้าวหนึ่งของการศึกษาใน 20 ปี ตอ่ มา (ปี
2533) เมื่อนายบารัท อักการ์วาล (Bharat Aggarwal) ศิษย์เก่าจากสถาบันเจเนนเทค
(Genentech) ได้วจิ ยั เพื่อค้าหาช่องทางในการรักษามะเร็งและงานชิ้นนัน้ ก็ได้พาเขากลับมาพบกับ
สารประกอบขมิ้น
เมื่อปี 2523 บารัทและทีมงานจากเจเนนเทค เป็ นกลุม่ แรกทีไ่ ด้กลัน่ บริสุทธิ๋โมเลกุลสำคัญสอง
โมเลกุล คือ Tumor Necrosis Factor (TNF) alpha และ TNF beta ซึง่ ได้รบั
การพิสูจน์วา่ เป็ นสารประกอบท่มีศกั ยภาพต่อต้านมะเร็งโมเลกุลเหล่านี้ทีจ่ ริงสามารถฆ่าเซลล์มะเร็งได้เมื่อ
ถูกนำไปใช้เฉพาะบริเวณทีเ่ ซลล์เป็ นโรค แต่เมื่อปล่อยให้กระจายไปกับกระแสเลือดโมเลกุลเหล่านี้จะ
เปลี่ยนแปลงคุณสมบัตโิ ดยช่วยสนับสนุนก่อใหเกิดเซลล์มะเร็ง โมเลกุล TNF จะไปกระตุน้ การทำงาน
ของโปรตีนชนิดหนึ่งทีเ่ รียกว่า Nuclear Factor (NF) Kappa B ซึง่ เราสามารถเปิ ดการ
ทำงานของกลุม่ ยืนส์ทีทำ ่ งานเกี่ยวกับ การอักเสบ (inflammation) และการเพิม่ จำนวนของเซลล์
มะเร็ง (Cell Proliferation)
ความสัมพันธ์ทีพ่ บนี้ทำให้บารัทย้อนกลับไป ณ จุดเริม่ ต้น ในปี 2532 เขาได้
ย้ายไปทีศ่ ูนย์มะเร็ง เอ็ม ดี แอนเดอสัน แห่งมหาวิทยาลัยเท็กซัส (University of
Texas M.D. Anderson Cancer Center) และเริม่ ต้นศึกษาสารประกอบ
ทีร่ กั ษาการอักเสบ เขาตัดสินใจจะทดลอง เอาขมิ้นจากในครัวมาโรยลงบนเซลล์ ปรากฏว่ามัน
สามารถหยุดการทำงานของ TNF และ NF Kappa B อย่างเหลือเชือ่
บารัท ได้ตพี ิมพ์ผลการศึกษาเรือ่ งทีข่ มิ้นสามารถยับยัง้ การแตกตัวและการแพร่
กระจายของเซลล์มะเร็งหลายชนิดงานชิ้นนี้ทำให้เกิดจุดหักเหในวงการวิจยั จากการทดลอง
เล็กๆโดยใช้ขมิ้นเป็ นองค์ประกอบในการรักษามะเร็งชนิดต่างๆ การทดลองเริม่ ต้นทีค่ วาม
พยายามจะป้ องกันมะเร็งลำไส้ และโรคอัลไซเมอร์ และโรคอืน่ ๆ ในการทดลองกับสัตว์ทดลอง
พบว่าขมิ้นสามารถยับยัง้ โรคอักเสบต่างๆได้หลายชนิด เช่น ตับอ่อนอักเสบ
(Pancreatitis) โรคข้ออักเสบ (Arthritis) โรคลำไส้อกั เสบ
(Inflammatory Bowel disease) อาการลำไส้ใหญ่บวม (Colitis) โรค
กระเพาะอักเสบ (Gastrtitis) อาการแพ้และไข้หวัด
ศูนย์มะเร็ง เอ็ม ดี แอนเดอสัน ซึง่ เป็ นศูยน์มะเร็งชัน้ นำของโลก ได้เริม่ ประชาสัมพันธ์
เรือ่ งการใช้ขมิ้นมากกว่าทีค่ าดคิด ในเว็บไซต์ในหน้า "FAQ" ได้ระบุวา่ ผูป้ ่ วยจะได้รบั สาร
ขมิ้นวันละ 8 กรัม (ซึง่ ในอาหารอินเดียทีบ่ ริโรคกันตามปกติมากกว่านัน้ ถึง 40 เท่า) ในบาง
ส่วนถึงกับระบุวา่ หลังจาก 8 สัปดาห์ทีส่ ารขมิ้น ผูป้ ่ วยก็ถูกคาดว่าน่าจะมีการพัฒนาทีด่ ขี ้ นึ
อย่างมีนยั สำคัญ เมื่อถูกถามถึงผลค้างเคียง บารัทกล่าวว่า ในการทดลองเล็กๆโดยสถาบัน
อืน่ ๆ ทีพ่ วกเขาใช้สารขมิ้นกับผูป้ ่ วยมากถึง 12 กรัม และถ้ามีอาการข้างเคียง จากขนาดที่
ศูนย์แนะนำผูป้ ่ วยก็จะแจ้งให้เขาทราบ นักวิจยั (ผูซ้ งึ่ รับประทานขมิ้นอัดทุกวัน) หลีกเลี่ยงทีจ่ ะ
พูดถึงการทดลองก่อนทีจ่ ะได้รบั การศึกษาในวงกว้างกับผูป้ ่ วยและมีการควบคุมตัแปรเป็ น
อย่างดี ส่วนนายบารัทก็ยงั ยืนยังกรานว่า "คนเรารับประทานวิตามินเสริมอาหารอืน่ ๆตัง้ หลาย
อย่าง แต่ถา้ คุณทางขมิ้นแล้วก็ไม่จำเป็ นต้องทานอย่างอืน่ อีก"
สมุนไพรชนิดต่างๆ

 1.ใบโหระพา ช่วยให้ลำไส้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ และช่วยรักษาสมดุลของฮอร์โมน


 2.ใบกระเจีย ๊ บ ทำให้เลือดสะอาดและไหลเวียนดีข้ นึ
 3.ใบกระเพรา ช่วยจัดระเบียบการทำงานของอวัยวะภายใน และปรับสมดุลของร่างกาย

 4.มะกรูด ช่วยจัดการสารทีห ่ ลัง่ ออกมาจากต่อมไขมันใต้ผวิ หนังให้สมดุล และมีสว่ นช่วยทำให้


ผิวหนังเต่งตึง
 5.ขิงสด ช่วยทำให้รา่ งกายเย็นลง และทำให้น้ำเหลืองหมุนเวียนดีข้ น ึ
 6.เปปเปอร์ มินต์ ช่วยในการย่อยอาหาร และรักษาการทำงานของกระเพาะและลำไส้ให้เป็ นปกติ

 7.ตะไคร้หอม ทำให้รา่ งกายและจิตใจได้ผอ ่ นคลาย แก้อาการนอนไม่หลับ


 8.ข่า มีสาร anti-oxidation ทีช่ ว่ ยทำให้ภูมิคม ุ ้ กันแข็งแรงขึ้น
 9.ใบแครอท อุดมไปด้วยวิตามินเอ ช่วยป้ องกันความแก่ได้
 10.ดอกดาวเรือง ช่วยขับเหงื่อ และทำให้รา่ งกายกระปรี้กระเปร่า
 11.ตะไคร้ ลดความเครียดและทำให้ระบบหมุนเวียนเลือดดีข้ น ึ
 12.ขมิ้นอ้อย ช่วยเพิ่มพละกำลังให้กบ ั ร่างกาย
 13.ใบมะขาม ช่วยในการทำงานของถุงน้ำดี กระตุน้ ในการขจัดสารพิษ

 14.ใบเตย ช่วยเพิ่มภูมิคม ุ ้ กันต้านไวรัส


 15.ขมิ้น ช่วยในเรือ
่ งระบบประสาท และเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของตับ
 16.ใบมะกรูด ช่วยลดความร้อนในร่างกาย และ รักษาความดันเลือดให้เป็ นปกติ

 17.ไพล ช่วยคลายความเครียด ลดความตึงของกล้ามเนื้อ และลดปวดตามข้อต่างๆ

 18.กระชาย ช่วยในเรือ ่ งการทำงานของตับ และลดอาการบวมตามร่างกาย


 ได้รูป้ ระโยชน์ของการนำขมิ้นมาใช้เป็ นสมุนไพร
 ได้อนุรกั ษ์ขมิ้นซึง่ เป็ นสมุนไพรทีอ
่ ยูค่ คู่ นไทยมาช้านาน
 ได้รูถ้ ึงประโยชน์ของขมิ้นหลายๆด้าน

 ได้รูถ้ ึงโทษของการใช้สมุนไพรเกินขนาด

 ได้ใช้ทกั ษะกระบวนการทางความคิดริเริม ่
 ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
 1. กำหนดหัวข้อทีจ่ ะทำโครงงาน
 2. เขียนโครงสร้างของ รูปแบบการทำโครงงาน

 3.วางแผนในการทำโครงงาน

 4. ลงมือปฏิบตัิ
สืบค้นจากแหล่งข้อมูล
http://www.lef.org/magazine/mag2004/dec2004_report_c
urcumin_01.htm dated June 24,2007
.

www.YesSpaThailand.com

You might also like