You are on page 1of 44

การนำาเอาเศษซากหรือวัสดุต่างๆ ทีไ่ ด้

มาจากสิ่งมีชีวิตโดยเฉพาะอย่างยิ่งพวกที่ได้มาจากพืช เช่น เศษหญ้า ใบไม้ ฟาง


ข้าว ผักตบชวา หรือแม้แต่ขยะมูลฝอยตามบ้านเรือนมากองรวมกัน รดนำ้าให้มี
ความชื้นพอเหมาะ หมักไว้จนกระทั่งเศษพืชหรือวัสดุเหล่านั้นย่อยสลายและ
แปรสภาพไป กลายเป็นขุยสีดำาหรือสีนำ้าตาลเข้ม มีลักษณะพรุน ยุย ่ ร่วนซุย ที่
เรียกว่า " " การย่อยและการแปรสภาพของเศษพืชหรือ วัสดุดัง
กล่าวเกิดขึ้นเนื่องจากสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กๆ ที่เรียกว่า " " ซึ่ง
อาศัยอยู่ในกองปุ๋ยสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กเหล่านีม
้ ีอยู่ มากมายหลายชนิดปะปนกัน
อยู่และพวกที่มีบทบาทในการแปรสภาพวัสดุมากที่สุดได้แก่ และ

วิธีการหมักวัสดุตา่ งๆ ให้กลายเป็นปุ๋ยหมัก อาจทำาได้หลายๆ วิธี แตกต่าง


กันไป เช่น การหมักเศษพืชแต่เพียงอย่างเดียวหรือมีการเติมมูลสัตว์หรือปุ๋ยเคมี
ลงไปในกองปุ๋ยด้วย เพือ ่ เร่งให้เศษวัสดุแปรสภาพได้เร็วขึ้น การใส่ผงเชื้อ
จุลินทรีย์เพิ่มเติมลงไปกองปุ๋ยเพื่อเสริมเชือ
้ จุลินทรีย์ที่มอ
ี ยู่แล้วในธรรมชาติ
หรือการมีรูปแบบของการกองปุ๋ยแตกต่างกันไป ซึ่งแต่ละวิธีอาจใช้ระยะเวลา
ในการหมักไม่เท่ากัน และปุ๋ยหมักที่ได้ก็มีคุณภาพแตกต่างกันไป

ปุ๋ยหมักทีส
่ ลายตัวได้ที่ดีแล้ว เป็นวัสดุที่ค่อนข้างทนทานต่อการย่อยสลาย
พอสมควร ดังนั้น เมือ ่ ใส่ลงไปในดิน ปุ๋ยหมักจึงสลายตัวได้ช้า ไม่รวดเร็ว
เหมือนกับการไถกลบเศษพืชโดยตรง ซึ่งก็นับว่าเป็นลักษณะที่ดอ ี ย่างหนึ่งของ
ปุ๋ยหมัก เพราะทำาให้ปุ๋ยหมักสามารถปรับปรุงดินให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสมต่อ
การเจริญเติบโตของพืชได้เป็นระยะเวลานานๆ ปุ๋ยหมักบางส่วนจะคงทนอยู่ใน
ดินได้นานเป็นปี แต่กม ็ ีบางส่วนที่ ถูกย่อยสลายไป ในการย่อยสลายนี้จะมีแร่
ธาตุอาหารพืชถูกปลดปล่อยออกมาจากปุ๋ยหมักให้พืชได้ไช้อยู่เรือ ่ ยๆ แม้ว่าจะ
เป็นปริมาณที่ไม่มากนัก แต่ก็ถูกปลดปล่อย ออกมาตลอดเวลาและสมำ่าเสมอ
2

1.

ปุ๋ยหมักเป็นวัสดุมีคณ
ุ สมบัติในการปรับปรุงสภาพหรือลักษณะของดินให้
เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช เช่น ถ้าดินนั้นเป็นดินเนื้อละเอียดอัดตัว
กันแน่น เช่น ดินเหนียว ปุ๋ยหมักก็จะช่วยทำาให้ดินนั้นมีสภาพร่วนซุยมากขึ้น
ไม่อดั ตัวกันแน่นทึบ ทำาให้ดินมีสภาพการระบายนำ้า ระบายอากาศดีขึ้น ทั้งยัง
ช่วยให้ดินมีความสามารถในการอุม ้ นำ้า หรือดูดซับนำ้าทีจ
่ ะเป็นประโยชน์ต่อพืช
ไว้ได้มากขึ้น คุณสมบัติในข้อนี้เป็นคุณสมบัตท ิ ี่สำาคัญมากของปุ๋ยหมัก เพราะ
ที่ดินทีม
่ ีลักษณะร่วนซุย ระบายนำ้า ระบายอากาศได้ดีนั้น จะทำาให้รากพืชเจริญ
เติบโตได้รวดเร็ว แข็งแรง แตกแขนงได้มาก มีระบบรากที่สมบูรณ์ จึงดูดซับแร่
ธาตุอาหารหรือนำ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ส่วนในกรณีที่ดินเป็นดินเนื้อหยาบ เช่นดินทราย ดินร่วนปนทราย ซึ่ง
ส่วนใหญ่มีความอุดมสมบูรณ์ตำ่า มีอินทรียวัตถุอยู่น้อย ไม่อุ้มนำ้า การใส่ปุ๋ยหมัก
ก็จะช่วยเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน และทำาให้ดินเหล่านั้นสามารถอุม ้ นำ้า
หรือดูดซับความชื้นไว้ให้พืชได้มากขึ้น ในดินเนื้อหยาบจึงควรต้องใส่ปุ๋ยหมักให้
มากกว่าปกติ
นอกจากคุณสมบัติต่างๆ ดังกล่าวมาแล้ว ปุ๋ยหมักยังสามารถช่วยปรับปรุง
ลักษณะดินในแง่อื่นๆ อีก เช่น ช่วยลดการจับตัวเป็นแผ่นแข็งของหน้าดิน
ทำาให้การงอกของเมล็ดหรือการซึมของนำ้าลงไปในดินสะดวกขึ้น ช่วยลดการ
ไหลบ่าของนำ้าเวลาฝนตก เป็นการลดการพัดพาหน้าดินทีอ ่ ุดมสมบูรณ์ไป
เป็นต้น

2.
ในแง่ของการช่วยเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน ปุ๋ยหมักเป็นแหล่งแร่
ธาตุอาหารทีจ ่ ะปลดปล่อยธาตุอาหาร ออกมาให้แก่ต้นพืชอย่างช้าๆ และ
สมำ่าเสมอ โดยทั่วไปแล้ว ปุ๋ยหมักจะมีปริมาณแร่ธาตุอาหารพืชที่สำาคัญดังนี้ คือ
ธาตุไนโตรเจนทั้งหมดประมาณ 0.4-2.5 เปอร์เซ็นต์ ฟอสฟอรัสในรูปที่เป็น
ประโยชน์ต่อพืช ประมาณ 0.2-2.5 เปอร์เซ็นต์ และโพแทสเซียมในรูปที่ละลายนำ้า
ได้ประมาณ 0.5-1.8 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณแร่ธาตุอาหารดังกล่าวจะมีมากหรือน้อยก็
ขึ้นอยู่กับชนิดของเศษพืชที่นำามาหมัก และวัสดุอื่นๆ ที่ใส่ลงไปในกองปุ๋ย
ถึงแม้ปุ๋ยหมักจะมีธาตุอาหารหลักดังกล่าวอยู่น้อยกว่าปุ๋ยเคมี แต่ปุ๋ยหมัก
มีขอ้ ดีกว่าตรงที่นอกจากธาตุอาหารทั้ง 3 ธาตุที่กล่าวมาแล้ว ปุ๋ยหมักยังมีธาตุ
อาหารพืชชนิดอื่นๆ อีกเช่น แคลเซียม แมกนีเซียม กำามะถัน เหล็ก สังกะสี
แมงกานีส โบรอน ทองแดง โมลิบดีนัม ฯลฯ ซึ่งปกติแล้วปุ๋ยเคมีจะโม่มีหรือมี
เพียงบางธาตุเท่านั้น แร่ธาตุเหล่านี้มีความสำาคัญต่อการเจริญเติบโตของพืช โม่
น้อยกว่าธาตุอาหารหลัก เพียงแต่ต้นพืชต้องการในปริมาณน้อยเท่านั้นเอง
นอกจากจะช่วยเพิ่มปริมาณธาตุอาหารพืชแล้ว ปุ๋ยหมักยังมีคณ ุ ค่าใน แง่
ของการปรับปรุงความอุดมสมบูรณ์อีกหลายๆ อย่างเช่น ช่วยทำาให้แร่ธาตุ
อาหาร พืชทีม ่ ีอยู่ในดินแปรสภาพมาอยู่ในรูปที่พืชสามารถดูดซึมไปใช้ได้ง่ายขึ้น
ช่วยดูดซับแร่ธาตุอาหารพืชเอาไว้ไม่ให้ถูกนำ้าฝนหรือนำ้าชลประทานชะล้าง
สูญหายไปได้ง่าย เป็นการช่วยถนอมรักษาแร่ธาตุอาหารหรือความอุดมสมบูรณ์
ของดินไว้อีกทางหนึ่งเป็นต้น จากคุณสมบัติ ดังที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่า แม้ปุ๋ย
หมัก จะมีปริมาณแร่ธาตุอาหารในปุ๋ยไม่เข้มขันเหมือนปุ๋ยเคมี แต่กม ็ ีลักษณะ
อื่นๆ ที่ช่วยรักษาและปรับปรุงความอุดมสมบูรณ์ของดินได้เป็นอย่างดี

เมือ ่ เอาเศษพืชหรือวัสดุที่จะใช้หมักมากองรวมกัน ทำาการผสมคลุกเคล้า


กับมูลสัตว์และปุ๋ยเคมี รดนำ้าให้กองปุ๋ยมีความชื้นพอเหมาะ หมักไว้ เมือ ่ สภาพ
ภายในกองเศษพืชเหมาะสม จุลินทรียช ์ นิดต่างๆ ทีต่ ิดมากับวัสดุที่ใช้หมักก็ จะ
เริม
่ เจริญเติบโตเพิ่มจำานวนขึ้นมาโดยการเข้าย่อยสลายวัสดุที่เรานำามาหมัก
เพื่อใช้เป็นอาหารในช่วงแรกๆ นี้ ภายในกองวัสดุจะมีอาหารชนิดที่จล ุ ินทรีย์
สามารถใช้ได้ง่ายๆ อยูเ่ ป็นจำานวนมาก จุลินทรียเ์ หล่านั้นจึงเจริญเติบโตและ
เพิ่ม จำานวนขึ้นมาอย่างรวดเร็ว เป็นเหตุให้เกิดความร้อนขึ้นมาในกองปุ๋ย ดัง
นั้นนับตั้งแต่ เริ่มตั้งกองปุ๋ยขึ้นมา กองปุ๋ยจะเริม ่ มีความร้อนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ถ้า
ทำาการกองปุ๋ยได้ ถูกวิธี ภายในระยะเวลาเพียง 3-5 วัน กองปุ๋ยอาจร้อนถึง 55-70
องศาเซลเซียส
ความร้อนที่เกิดขึ้นนี้ มีความสำาคัญมาก เพราะจะทำาให้เศษพืชย่อย สลาย
ได้รวดเร็วและช่วยกำาจัดจุลินทรีย์หลายชนิดที่ไม่ตอ ้ งการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
พวกทีท ่ ำาให้เกิดโรคกับคนหรือกับพืช ช่วยทำาลายเมล็ดวัชพืชทีต ่ ิดมากับ เศษพืช
รวมทั้งไข่ของแมลงที่มอ ี ยู่ภายในกองปุ๋ยได้
กองปุ๋ยจะร้อนระอุอยู่ช่วงระยะเวลาหนึ่ง อาจกินเวลาประมาณ 15- 20 วัน
แล้วความร้อนจะค่อยๆ ลดลงไปเรื่อยๆ ขณะเดียวกันเนื้อของเศษพืชที่ ใช้หมัก
ก็เปื่อยยุย ่ ลงและมีสีคลำ้าขึ้น จนในทีส่ ุดกองปุ๋ยก็จะเย็นลง เศษพืชกลายเป็น
วัสดุที่มล ี ักษณะเป็นขุย ร่วนซุย มีสด ี ำาหรือนำ้าตาลเข้ม ยุบตัวลงเหลือประมาณ
1/3 - 1/4 ส่วน ของกองเดิม ก็จัดเป็นปุ๋ยหมักทีส ่ ลายตัวได้ที่ดีแล้ว สามารถ เอาไป
ใช้โดยไม่เกิดอันตรายใดๆ ต่อพืช ระยะเวลาตั้งแต่ตั้งกองจนมาถึงช่วงนี้ใช้ เวลา
ประมาณสองเดือนครึ่ง ถึงสามเดือนครึ่ง อาจจะเร็วหรือช้ากว่านี้ไปบ้าง ก็แล้ว
แต่ชนิดของวัสดุที่ใช้ วิธีการตั้งกองปุ๋ย การปฏิบัติดูแลรักษา การให้ความชื้น
ตลอดจนการกลับกองปุ๋ย
การแปรสภาพของเศษพืชไปเป็นปุ๋ยหมักจะเร็วหรือช้าก็ขึ้นอยู่กับการ
เจริญเติบโตของจุลินทรีย์ภายในกองปุ๋ย และการเจริญเติบโตเพิ่มปริมาณของ
จุลินทรีย์นั้น ขึน
้ อยู่กับปัจจัยที่สำาคัญๆ ดังนี้

1.
วัสดุที่สามารถนำามาใช้ทำาปุ๋ยหมักได้แก่เศษซากของสิ่งมีชีวิตทั้งพืช และ
สัตว์ แต่โดยปกติแล้ว ใน บ้านเราส่วนใหญ่จะได้มาจากพืชมากกว่า ดังนั้น วัสดุ
ที่ใช้หมักจึงเพ่งเล็งไปถึงการใช้เศษซากพืชเป็นสำาคัญ ซึ่งก็มีอยู่มากมาย หลาย
ชนิดไม่ว่าจะเป็นเศษพืชที่เหลือจากการเก็บเกี่ยวพืชผลทางการ เกษตร เช่น
ฟางข้าว ต้นข้าวโพด ต้นข้าวฟ่าง ต้นถั่ว ฝ้าย เศษผัก กากอ้อย แกลบ ขี้เลื่อย ขุย
มะพร้าว ผักตบชวา เศษหญ้า หรือวัชพืชต่างๆ แม้แต่พวกเศษขยะตามอาคาร
บ้านเรือน เช่น เศษกระดาษ ใบตอง กิ่งไม้ไบไม้ เป็นต้น สิ่งเหล่านี้สามารถ
รวบรวมมาทำาปุ๋ยหมักได้ทั้งสิ้น วัสดุเหล่านี้เมือ ่ นำามา ทำาปุ๋ยหมัก บางชนิดก็ย่อย
สลายได้งา่ ย รวดเร็ว บางชนิดก็ยอ ่ ยสลายได้ช้า ขึ้นอยู่กับเนื้อของวัสดุเหล่านั้น
ว่ามีส่วนที่จล ุ ินทรีย์สามารถใช้เป็นอาหารได้ยาก หรือง่าย และมีแร่ธาตุอาหาร
อยู่พอเพียงกับความต้องการของจุลินทรีย์หรือไม่ ดังนั้นเราจึงอาจแบ่งวัสดุ
เหล่านี้ออกเป็น 2 พวก คือ
1.1 เช่น ผักตบชวา ต้นกล้วย ใบตอง
เศษหญ้าสด เศษพืชที่อวบนำ้า เศษผัก กากเมล็ดข้าวฟ่าง พืชตระกูลถั่ว ต่างๆ
เช่น ใบกระถิน ใบจามจุรี ต้น ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วฝักยาว โสน ปอเทือง ฯลฯ
1.2 เช่น ฟางข้าว แกลบ กากอ้อย ขีเ้ ลื่อย
ขุยมะพร้าว ต้นข้าวโพด ซังข้าวโพด ต้นข้าวฟ่าง ฯลฯ ปกติเศษพืชเหล่านี้จะมี
แร่ธาตุอาหารบางชนิดอยู่น้อย ไม่เพียงพอกับความต้องการของจุลินทรีย์ โดย
เฉพาะอย่างยิ่งธาตุไนโตรเจน (ตารางที่ 1) ดังนั้นถ้าต้องการให้เศษพืชประเภท
นี้สลายตัวได้รวดเร็วขึ้นต้องเพิ่มธาตุไนโตรเจนลงไป โดยอาจใส่ลงไปในรูป
ของ ปุ๋ยเคมีไนโตรเจนหรือมูลสัตว์ต่างๆ ในกรณีที่ไม่มีทั้งปุ๋ยเคมีหรือมูลสัตว์ ก็
ต้องหาวัสดุอื่นๆ ทีม ่ ีแร่ธาตุอาหารอยู่มากมาใช้ทดแทน ที่น่าจะหาได้งา่ ย ก็ได้
แก่ เศษพืชพวกที่สลายตัวได้ง่ายในข้อที่ 1.1 โดยเฉพาะอย่างยิ่งพวกผักตบชวา
หรือเศษหญ้าสด วิธีการใช้ก็โดยการกองสลับชั้นระหา i างวัสดุที่สลายตัวยาก
กับวัสดุที่สลายตัวง่าย โดยกองเศษวัสดุที่สลายตัวยากให้หนาประมาณ 8 นิ้ว
แล้วกองทับด้วยเศษพืชสลายตัวง่าย หนาประมาณ 4-5 นิ้ว เช่นนี้สลับกัน ไป
เรือ่ ยๆ จนได้ความสูงของกองปุ๋ยตามต้องการ
นอกจากชนิดของเศษพืชแล้ว ขนาดของเศษพืชก็เป็นเรื่องที่ควร ให้ความ
สำาคัญ ถ้าเศษพืชทีน ่ ำามาหมักมีขนาดใหญ่เกินไป เช่น ต้นหรือใบของ ข้าวโพด
ข้าวฟ่างที่ไม่ได้สับหรือหั่น เวลาตั้งกองปุ๋ย ภายในกองจะมีช่องว่างอยู่ มาก กอง
ปุ๋ยจะแห้งได้ง่าย ความร้อนทีเ่ กิดขึ้นในกองปุ๋ยกระจายหายไปได้รวดเร็ว ทำาให้
กองปุ๋ยไม่รอ ้ นเท่าที่ควร การย่อยสลายของเศษพืชจะช้า บรรดาศัตรู พืชต่างๆ ที่
ติดมาก็ไม่ถูกทำาลายไป ดังนั้นถ้าเศษพืชที่นำามาหมักมีขนาดใหญ่เกินไป
1 ค่าเฉลีย
่ ปริมาณธาตุไนโตรเจนที่มีอยู่ในวัสดุชนิดต่างๆ
( 100
)
ตะกอนนำ้าเสีย 2.0-6.0
มูลเป็ด - ไก่ 3.5-5.0
มูลสุกร 3.0
ต้นถั่วต่างๆ 2.0-3.0
ผักตบชวา 2.2-2.5
มูลม้า 2.0
มูลวัว - ควาย 1.2-2.0
เปลือกถั่วลิสง 1.6-1.8
ต้นฝ้าย 1.0-1.5
ต้นข้าวฟ่าง 1.0
ต้นข้าวโพด 0.7-1.0
ใบไม้แห้ง 0.4-1.5
ฟางข้าว 0.4-0.6
หญ้าแห้ง 0.3-2.0
กาบมะพร้าว 0.5
แกลบ 0.3-0.5
กากอ้อย 0.3-0.4
ขี้เลื้อยเก่า 0.2
ขี้เลื้อยใหม่ 0.1
เศษกระดาษ แทบไม่มี

ควรสับหรือหั่นให้มข ี นาดเล็กลง แต่ก็ไม่ควรให้สั้นกว่า 2-3 นิ้ว การทำาให้


เศษพืชมีขนาดเล็กลงจะทำาให้ จุลินทรีย์เจริญเติบโตในชิ้นส่วนของพืชได้
ทั่วถึง เมือ
่ เศษพืชอยู่ใกล้ชิดกันมากขึ้นการแพร่ขยายของเชื้อก็เป็นไปได้รวดเร็ว
และกองปุ๋ยร้อนระอุดีขึ้น อย่างไรก็ตาม ในการทำาปุ๋ยหมักปริมาณมากๆ การหั่น
หรือการสับเศษพืชก็เป็นการสิ้นเปลืองแรงงานมาก อาจเลี่ยงไปใช้วิธีอื่น ได้
ตามความเหมาะสม เช่น ถ้ามีรถแทรคแตอร์ก็โรยชิ้นส่วนพืชลงบนพื้นถนน
แล้วใช้รถบดทับไปมา หรือใช้วิธีหาเศษพืชที่มีขนาดเล็ก เช่น เศษหญ้าผสมคลุก
เคล้า เข้าไปในกองเพื่อลดช่องว่างที่มอ ี ยู่ แต่ถา้ มีเศษหญ้าไม่พอก็อาจใช้ดินหรือ
เศษหญ้าคลุมกองหรือเลี่ยงไปใช้วิธีกองปุ๋ยหมักในหลุมหรือบ่อหมักแทน

2.
ในการตั้งกองปุ๋ยหมักนั้น ถ้าใส่พวกมูลสัตว์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น มูลวัว มูล
หมู มูลเป็ด มูลไก่ ฯลฯ ผสมคลุกเคล้าลงไปด้วยแล้ว กองปุ๋ยจะร้อน ขึ้นได้
รวดเร็วและย่อยสลายได้ดีกว่าการใช้เศษพืชแต่เพียงอย่างเดียว ทัง้ นี้เพราะ มูล
สัตว์มสี ารประกอบและแร่ธาตุต่างๆ ทีเ่ ป็นอาหารของจุลินทรีย์อยูม ่ ากมาย
หลายชนิด การใส่มล ู สัตว์จึงเป็นการเร่งเร้าให้จล
ุ ินทรียท์ ำาการย่อยเศษพืช
อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ในมูลสัตว์ที่ใส่ลงไปยังมีจล ุ ินทรีย์ชนิดต่างๆ ทีม
่ ีความ
สามารถย่อยเศษพืชได้ดีอยูม ่ ากมาย การใส่มูลสัตว์จึงเป็นการใส่เชื้อจุลินทรีย์
จำานวนมากลงไปในกองปุ๋ยนั่นเอง จุลินทรีย์เหล่านี้จะไปสมทบกับจุลินทรีย์ที่
ติดมา กับเศษพืชช่วยย่อยและแปรสภาพเศษพืชให้กลายเป็นปุ๋ยหมักได้เร็วขึ้น
ปริมาณของมูลสัตว์ที่ต้องใช้ในการทำาปุ๋ยหมักนั้น ถ้ามีมากก็ใส่มากได้
ตามทีต่ ้องการ เพราะยิ่งใส่มากก็จะยิ่งทำาให้เศษพืชแปรสภาพได้เร็วขึ้น แต่ไม่
ควรน้อยกว่ามูลสัตว์ 1 ส่วนต่อเศษพืช 10 ส่วน (คิดเทียบตามนำาหนัก) ถ้ามีมูล
สัตว์น้อยกว่านี้และเศษพืชที่ใช้ก็เป็นพวกที่สลายตัวยาก ก็ควรหาวัสดุ อืน ่ ๆ ทีม
่ ี
ธาตุไนโตรเจนมากๆ เช่น ปุ๋ยเคมีไนโตรเจนมาเสริมทดแทน

3.
เศษพืชที่นำามาใช้ทำาปุ๋ยหมักหากเป็นประเภทที่สลายตัวได้ยาก เช่น ขี้
เลือ่ ย ขุยมะพร้าว ฟางข้าว แกลบ ต้นข้าวโพด ซังข้าวโพด เศษกระดาษ เศษ
ปอกระเจา เปลือกมันสำาปะหลัง ไส้ปอเทือง เศษหญ้าแห้ง ฯลฯ เศษพืชพวก นี้
จะมีแร่ธาตุอาหารอยู่น้อย ไม่เพียงพอกับความต้องการของจุลินทรีย์ จึงควรใส่
ปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่มปริมาณแร่ธาตุอาหารลงไปในกองเศษพืช แร่ธาตุตัวสำาคัญที่
ปกติ จะมีไม่เพียงพอหรือขาดแคลนมากทีส ่ ุดในเศษพืชพวกนี้ได้แก่ ธาตุ
ไนโตรเจน ดังนั้นปุ๋ยเคมีที่ใช้โดยทั่วไปจึงเน้นเฉพาะการใช้ปุ๋ยเคมีไนโตรเจน
เป็นหลัก เช่น ใช้ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต หรือปุ๋ยยูเรีย สำาหรับแร่ธาตุอาหารชนิด
อื่นๆ นอกเหนือไปจากไนโตรเจน ปกติในเศษพืชจะมีอยูม ่ ากพอสมควร แม้ว่า
จะไม่ค่อยเพียงพอแต่การใส่แร่ธาตุเหล่านั้นเพิ่มเติมลงไปก็มักไม่ทำาให้เศษ พืช
สลายตัวได้รวดเร็วขึ้นเท่าใดนัก
ปริมาณของปุ๋ยไนโตรเจนที่จะต้องใช้ขึ้นอยู่กับชนิดของเศษพืชที่นำามา
หมัก ถ้าเป็นพวกที่ย่อยสลายได้ง่ายในเศษพืชพวกนี้จะมีแร่ธาตุอาหารค่อนข้าง
มากอยู่แล้ว ก็ไม่จำาเป็นต้องใส่ปุ๋ยเคมีลงไปอีก หรือถ้าจะใส่ก็ใส่ในปริมาณเล็ก
น้อย เพียงเสริมหรือกระตุ้นการเจริญของเชื้อจุลินทรียเ์ ท่านั้น แต่ถา้ เป็นเศษ
พืชพวกย่อยสลายได้ยาก ก็ควรใส่ปุ๋ยไนโตรเจนด้วย หากดูจากตารางที่ 1
เศษพืชพวกที่มีไนโตรเจนน้อยกว่า 1.5 กิโลกรัมต่อเศษพืชแห้ง 100 กิโลกรัม คือ
พวกที่ควรจะใส่ปุ๋ยไนโตรเจนเพิ่มเติม ส่วนปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมีไนโตรเจน ใน
กรณีที่เป็นเศษพืชพวกสลายตัวได้ยากนั้น อาจกะประมาณคร่าวๆ ว่า ถ้าเป็น
ปุ๋ยยูเรียก็ใส่ในอัตราประมาณ 1.5-2.0 กิโลกรัม ต่อขนาดกองปุ๋ยที่กองเสร็จ แล้ว 2
ลูกบาศก์เมตร หรือถ้าเป็นปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟตก็ใช้ประมาณ 3- 4 กิโลกรัมต่อ
กองปุ๋ยขนาด 2 ลูกบาศก์เมตร

4.
ในการตั้งกองปุ๋ยหมักนั้น จำาเป็นอย่างยิ่งทีต
่ ้องคำานึงถึงสภาพการ ระบาย
อากาศภายในกองปุ๋ย เพราะถึงแม้ว่าในกองปุ๋ยจะมีแร่ธาตุอาหารอยู่อย่าง ครบ
ถ้วน มีความชื้นมากพอ แต่ถ้าไม่มอ ี ากาศให้จุลินทรีย์ไช้หายใจแล้ว การ ย่อย
สลายของกองปุ๋ยหมักจะเปลี่ยนสภาพไปเป็น "
" การสลายตัวของเศษพืชจะเกิดขึ้นแบบช้าๆ
และมักเกิดกลิ่นเหม็น ความร้อนที่จะช่วยกำาจัดสิ่งไม่พึงประสงค์ในกองปุ๋ยก็ไม่
เกิดขึ้น ลักษณะเช่นนี้ มักพบได้เสมอๆ กับกองปุ๋ยที่แน่นทึบ หรือถูกรดนำ้าจน
เปียกแฉะ ถ้าหากหมัก เศษพืชในสภาพนี้ กว่าเศษพืชจะแปรสภาพไปเป็นปุ๋ย
หมักได้ จะใช้ระยะเวลา นาน ดังนั้นถ้าต้องการให้เศษพืชสลายตัวได้รวดเร็ว
ไม่มีกลิ่นเหม็นและเกิด ความร้อนในกองปุ๋ยมากพอที่จะกำาจัดเชื้อโรค เมล็ด
วัชพืช ตัวอ่อนหรือไข่ของแมลง ทีม ่ ีอยู่แล้ว จำาเป็นต้องปฏิบัตด ิ ูแลให้กองปุ๋ยมี
สภาพการระบายอากาศภายในกอง ที่ดีอยู่เสมอ ซึ่งก็มีรายละเอียดทีต ่ ้องคำานึง
ถึง ดังนี้
4.1 ไม่ควรตั้งกองปุ๋ยให้สูงมากนัก ถ้ากองปุ๋ย
สูงมาก ส่วนล่างของกองจะถูกนำ้าหนักจากส่วนบนกดทับทำาให้อัดตัวแน่น โดย
เฉพาะอย่างยิ่งเมือ ่ กองปุ๋ยสลายตัวไประยะหนึ่งแล้ว เศษพืชถูกย่อยมีเนื้อ
ละเอียดขึ้น กองปุ๋ยจะยุบตัวลง เนื้อปุ๋ยด้านล่างของกองก็ถูกกดจนแน่นทึบ ไม่
สามารถระบายอากาศได้ ความสูงของกองปุ๋ยที่พอเหมาะไม่ ควรเกิน 1.5- 1.8
เมตร สำาหรับความกว้างของกองปุ๋ยก็อย่าให้กว้างเกินไป จะทำาให้การ ระบาย
อากาศจากทางด้านข้างของกองไม่ดี การกลับกองก็ทำาได้ไม่สะดวก ถ้าจะให้ ดี
ควรกว้างไม่เกิน 2.4-3.0 เมตร ในทางตรงกันข้าม กองปุ๋ยก็ไม่ควรจะเตี้ยหรือ
แคบเกินไป เพราะจะทำาให้ความร้อนที่เกิดขึ้นกระจายออกไปได้ง่าย กองปุ๋ยจะ
ไม่รอ ้ นเท่าที่ควร อีกทั้งกองปุ๋ยก็แห้งไต้งา่ ย ถ้ากองปุ๋ยแห้ง การสลายตัวจะหยุด
ชะงักลง ขนาดของกองปุ๋ยไม่ควรเล็กไปกว่าขนาดประมาณ l ลูกบาศก์เมตร คือ
กว้างยาวและสูงด้านละไม่ตำ่ากว่า 1 เมตร
4.2 การรดนำ้าขณะทำาการตั้งกองปุ๋ยหมัก
มีสิ่งที่ ต้องการเอาใจใส่เป็นพิเศษอยู่ 2 ประการคือ ต้องรดนำ้าจนเศษพืชมี
ความชื้นพอที่ จุลินทรียจ ์ ะเจริญเติบโตได้ และต้องไม่รดนำ้ามากเกินไปจน
กระทั่งการระบาย อากาศของกองปุ๋ยไม่ดี ถ้าเศษพืชนั้นแห้งและมีขนาดใหญ่
เช่น ซังข้าวโพด ต้นข้าวโพด เศษวัชพืชแห้ง จะไม่ค่อยมีปัญหาเรื่องการระบาย
อากาศภายใน กองปุ๋ย แต่อาจมีปัญหาเรื่องเศษพืชไม่ค่อยเปียกนำ้า ต้องรดนำ้า
จำานวน มาก เศษพืชจึงจะชื้นพอ หรือบางครั้งก็มีปัญหาเรื่องกองปุ๋ยโปร่งเกิน
ไป แต่ถ้า เศษพืชมีขนาดเล็ก ดูดซับนำ้าได้ เช่น ชานอ้อย ขี้เลือ ่ ย ขุยมะพร้าว กาก
ตะกอนนำ้าเสีย กากส่าเหล้า ฯลฯ การรดนำ้าต้องทำาด้วยความระมัดระวัง โดย
เฉพาะ อย่างยิ่งถ้าเศษพืชเหล่านั้นมีความชื้นอยู่แล้ว ต้องรดนำ้าพอแค่ให้วัสดุ
เหล่านั้น เปียกชื้นสมำ่าเสมอ แต่อย่าให้เปียกจนแฉะ จะทำาให้การระบายอากาศ
ในกองไม่ดี นอกจากนี้แล้ว ขณะรดนำาควรหลีกเลีย ่ งการขึ้นไปเหยียบยำ่าบน
กองวัสดุ จะทำาให้กองปุ๋ยแน่นทึบเกินไป เชือ ้ จุลินทรีย์จะเจริญได้ไม่ดีเท่าที่ควร
ในกรณี ของเศษพืชที่อวบและฉำ่านำ้า เช่น ผักตบชวา หลังจากนำาขึ้นจากนำ้า จะ
อมนำ้าไว้ มาก เปียกแฉะ มีนำ้าหนักมาก ถ้านำามากองปุ๋ยทันทีจะอัดตัวกันแน่น
ควรปล่อย ทิ้งไว้ ให้เหี่ยวเฉาพอสมควร แล้วค่อยนำาไปกอง จะช่วยให้กองปุ๋ยมี
การระบาย อากาศดีขึ้น
4.3 ถ้าวัสดุทน
ี่ ำามาใช้กองมีขนาด
ค่อนข้าง เล็ก ซึ่งเราเห็นว่าเมื่อกองไปแล้วกองปุ๋ยจะมีลักษณะค่อนข้างทึบ หรือ
เมือ่ เรา หมักเศษพืชไประยะหนึ่งแล้วเห็นว่าเศษพืชย่อยและอัดตัวกันแน่นมาก
ขึ้น เกรงว่าการระบายอากาศภายในกองปุ๋ยไม่เพียงพอก็อาจช่วยเพิ่มระบบ
ระบาย อากาศของกองปุ๋ยได้โดยวิธีงา่ ยๆ กล่าวคือ เมื่อเราจะเริ่มตั้งกองปุ๋ยหรือ
จะตั้งกอง ปุ๋ยใหม่ หลังจากการกลับกอง ก็หาไม้มาหลายๆ ลำา ขนาดเส้นผ่า
ศูนย์กลาง ของลำาไม้ไผ่ประมาณ 3-4 นิ้ว มาปักตั้งไว้บนพื้นดินที่จะตั้งกองปุ๋ย
โดยกะว่า เมือ ่ ตั้งกองไปแล้ว ลำาไม้ไผ่จะกระจายอยู่ทั่วๆ กอง แล้วจึงทำาการตั้ง
กองปุ๋ย (ดังภาพ)

เมือ
่ ตั้งกองเสร็จเรียบร้อยดีแล้ว ก็ถอนลำาไม้ไผ่ออก กองปุ๋ยของเราก็จะ มี
ช่องระบายอากาศตามทีต ่ ้องการ (ดังภาพ) ก่อนถอนลำาไม้ไผ่ควรโยกไม้ ไปรอบๆ
จะทำาให้ช่องระบายอากาศคงรูปได้ดีขึ้น ไม่ยุบตัว ควรทำาช่องระบาย อากาศเช่น
นี้ทุกครั้งทีม
่ ีการกลับกองปุ๋ย

4.4 หลังจากตั้งกองไประยะหนึ่งแล้ว ควรกลับกอง


ปุ๋ย วิธีกลับก็โดยการคุ้ยกองปุ๋ยลงมาทั้งหมด เกลี่ยผสมคลุกเคล้ากัน แล้วนำา
วัสดุทั้งหมดกลับตั้งเป็นกองใหม่ในรูปทรงเดิม โดยพยายามกลับเอาเศษพืชที่
เคย อยู่ด้านนอกของกองให้กลับเข้าไปอยู่ดา้ นในของกอง
การกลับกองปุ๋ยจะทำาให้สภาพของกองปุ๋ยโปร่งขึ้น การระบายอากาศดี
ขึ้น รวมทั้งเป็นการหมุนเวียนเอาวัสดุด้านนอกของกองทีย ่ ังไม่สลายตัวให้เข้า
ไปรับความร้อนภายในกองและช่วยกำาจัดหนอนตัวอ่อนของแมลงวันที่อาจเกิด
ขึ้น บริเวณขอบนอกของกอง ขณะเดียวกันก็เป็นการผสมคลุกเคล้าวัสดุให้เข้า
กัน มีความชื้นสมำ่าเสมอทั้งกอง
การกลับกองมีความสำาคัญมากต่อการแปรสภาพของกองปุ๋ย ยิ่ง สามารถ
กลับกองได้บ่อยครั้ง จะยิ่งช่วยให้เศษพืชแปรสภาพไปเป็นปุ๋ยหมักได้เร็ว ขึ้น
เช่นการกลับกองทุกๆ 3-5 วัน หรือทุกอาทิตย์ จะทำาให้เศษพืชย่อย สลายและแปร
สภาพได้อย่างรวดเร็ว แต่การกลับกองเป็นขั้นตอนที่สิ้นเปลืองแรงงาน อย่าง
มาก ดังนั้นถ้าไม่มีความจำาเป็นต้องรีบใช้ปุ๋ยหมักในระยะเวลาอันสั้น เราก็
สามารถลดจำานวนครั้งหรือความถี่ในการกลับกองปุ๋ยลงได้ตามเวลาหรือ
แรงงาน ทีม ่ ีอยู่ แต่อย่างน้อยที่สุดก็ควรจะได้มีการกลับกองสักประมาณ 3-4 ครั้ง
คือกลับกองครั้งแรกเมื่อประมาณ 10 วันหลังจากเริม ่ ตั้งกองปุ๋ย ครั้งที่สอง เมื่อ
ประมาณ 1 5 วัน หลังจากกลับกองครั้งแรก หลังจากนั้นก็อาจกลับกอง ทุกๆ 20
วัน จนปุ๋ยสามารถนำาไปใช้ได้

5.
จุลินทรีย์ที่จะช่วยในการสลายวัสดุให้กลายเป็นปุ๋ยนั้น ต้องอาศัยนำ้า หรือ
ความชื้นในการดำารงชีพ วัสดุที่นำามากองจึงต้องเปียกชื้น หรือต้องรดนำ้า ให้
การรดนำ้าก็ตอ ้ งระมัดระวังพอสมควร โดยต้องรดนำ้าให้อยู่ในระดับที่
จุลินทรีย์ ในกองปุ๋ยสามารถเจริญเติบโตได้ดท ี ี่สุด นั่นคือรดนำ้าพอแค่ให้เศษพืช
ในกอง " " ไม่เปียกจนแฉะ ส่วนใหญ่แล้วเศษพืชที่นำามาใช้มัก
จะแห้ง เกินไปเช่น เศษหญ้าแห้ง แกลบ ซังข้าวโพดแห้ง เมื่อนำามาตั้งกอง เศษ
พืชมัก ไม่ค่อยดูดซับนำ้า จึงอาจต้องรดนำ้าให้มากเป็นพิเศษในวันแรก อีกสอง
สามวันต่อมา ก็ต้องตรวจตราเลิกกองเศษพืชขึ้นดูว่าเศษพืชด้านในของกอง
เปียกนำ้าหรือ มีความชื้นพอเพียงหรือไม่ ถ้ายังชื้นไม่พอต้องรดนำ้าเพิ่มเติมจน
เปียกชื้นโดย ทัว ่ ถึงกัน จากนั้นก็เพียงคอยตรวจตราเป็นระยะๆ ดูแลให้กองปุ๋ย
ชื้นอยูเ่ สมอ ความชื้นที่พอดีของกองปุ๋ยอยู่ในช่วงประมาณ 40-60 เปอร์เซ็นต์ โดย
นำ้าหนัก ซึ่งเราอาจกะประมาณคร่าวๆ ได้โดยวิธีใช้มอ ื ล้วงไปหยิบเอาเศษพืช
ในกองปุ๋ยออกมาแล้วกำาบีบให้แน่น ถ้ามีนำ้าไหลซึมออกมาตามซอกนิ้วไหลเป็น
ทาง แสดงว่ากองปุ๋ยแฉะเกินไป ไม่ควรรดนำ้า แต่ควรทำาการกลับกองปุ๋ยให้
บ่อย ขึ้น หรือหาวัสดุที่แห้งดูดซับนำ้าได้ดี เช่น ขี้เลื่อย เศษพืชแห้งผสมคลุกเคล้า
ลง ไป ถ้าบีบดูแล้วมีนำ้าซึมออกมาตามซอกนิ้ว แต่ไม่ถึงกับไหลเป็นทางแสดง
ว่าความชื้นพอดีแล้ว แต่เมื่อบีบแล้วไม่มีนำ้าซึมออกมาเลย แสดงว่าเศษพืชนั้น
แห้งเกินไป ต้องรดนำ้าเพิ่มเติม
การตั้งกองปุ๋ยในที่โล่งแจ้งในฤดูฝน สิ่งที่ต้องระวังอีกอย่างหนึ่ง คือ
สภาพของฝนที่ตกหนัก ติดต่อกันนานๆ อาจทำาให้ภายในกองปุ๋ยเปียกแฉะ ได้
ดังนั้นถ้าเป็นช่วงที่มีฝนตกมากๆ เราอาจป้องกันไม่ให้กองปุ๋ยเปียกแฉะโดย
การปรับแต่งด้านบนของกองให้มีลักษณะโค้งมนเป็น รูปครึ่งวงกลม การกอง
ใน ลักษณะนี้ ฝนที่ตกลงบนกองปุ๋ยส่วนใหญ่จะไหลออกไปทางด้านข้างๆ ของ
กอง ทำาให้ด้านในของกองไม่เปียกแฉะ แต่ถ้าเราหมักกองปุ๋ยไประยะหนึ่ง จน
เศษพืชเปื่อยยุ่ยมากแล้ว กองปุ๋ยจะดูดซับนำ้าฝนได้ง่าย จึงควรหาวัสดุมาคลุม
ด้านบนของกองไว้ ไม่ให้เปียกฝนจนแฉะ
การทำาปุ๋ยหมัก พอจะแบ่งได้เป็น 2 วิธีใหญ่ๆ คือ
และ
ซึ่งมีข้อดีขอ
้ เสียแตกต่างกันไป เมื่อคำานึงถึง
สภาพโดยทั่วไปของชนบทในบ้านเราแล้ว เห็นว่า วิธีการตั้งกองปุ๋ยที่เหมาะสม
ที่สุด ก็คอ
ื วิธีการตั้งกองบนพื้นดิน โดยไม่จำาเป็นต้องทำากรอบหรือคอกไม้ล้อม
รอบ กอง วิธีนี้จะประหยัดค่าใช้จ่ายในการทำาปุ๋ยหมักได้มาก การปฏิบัติดูแล
กองปุ๋ย ไม่ยุ่งยาก ไม่สิ้นเปลืองแรงงานมากนักในการเตรียมสถานที่ตั้งกอง
การ กลับกองหรือการขนย้ายปุ๋ยหมัก สภาพการระบายอากาศของกองปุ๋ยดีกว่า
และ เศษพืชสลายตัวได้รวดเร็วกว่า ถ้าเป็นกองปุ๋ยขนาดใหญ่ก็สามารถใช้
เครือ่ งยนต์ ทุ่นแรงได้สะดวก วิธีการตั้งกองปุ๋ยหมักมีรายละเอียดดังนี้คือ
1. บริเวณที่จะตั้งกองปุ๋ยควรเป็นที่ๆ นำ้าไม่
ท่วม แต่กอ ็ ยู่ใกล้กับแหล่งนำ้า ทีจ
่ ะนำามาใช้รดกองปุ๋ยพอสมควร และควรเป็น
บริเวณ ที่สามารถขนย้ายเศษพืชมาใช้หมักได้ง่าย รวมทั้งเอาปุ๋ยที่หมักเสร็จ
แล้วไป ใช้ได้สะดวก บริเวณที่จะกองปุ๋ยหมักให้ปรับให้เรียบไม่เป็นแอ่งให้นำ้า
ขังได้

2.
- เศษพืช
- มูลสัตว์
- ปุ๋ยยูเรีย หรือปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต

3. นำาเศษวัสดุมากองบนพื้นดิน ขนาดของกอง กว้าง 2.5


เมตร สูง 1.2 เมตร ยาว 4 เมตร ถ้าต้องการหมักเศษพืชจำานวนมากกว่านี้ ก็อาจ
ตั้งกองปุ๋ยให้ยาวขึ้น หรือตั้งเป็นกองใหม่อีกกองหนึ่ง การตั้งกองจะทำา เป็น
ชั้นๆ ระหว่างเศษพืช ปุ๋ยคอก และปุ๋ยเคมี ดังนี้
(1) กองเศษพืชลงไปในขอบเขตกว้างยาวที่
กำาหนดไว้ กองให้สูงพอประมาณ กะว่าหลังจากรดนำ้าแล้ว กองเศษพืชจะ หนา
ประมาณ 6-8 นิ้ว.

(2) ใช้มล
ู สัตว์ประมาณ
1 บุ้งกี๋ ต่อ พื้นที่ 1-2 ตารางเมตร (ใช้มล ู สัตว์ประมาณ 5-10 บุ้งกี๋ต่อชั้น) คลุกเคล้าให้
มูลสัตว์ผสมเข้าไปในเศษพืช
(3) ถ้าเศษพืชที่นำามากองเป็นเศษพืชแห้ง ไม่ค่อย
เปียกนำ้า ต้องรดนำ้าให้โชก เพื่อให้เศษพืชเปียกโดยทั่วถึงกัน แต่ถ้าเป็น เศษพืช
สด ก็รดนำ้าแค่พอให้เศษพืชเปียกชื้น
(4)
- ถ้าใช้ปุ๋ยยูเรียให้ใช้ปุ๋ยประมาณ 1.5-2 กิโลกรัมต่อชั้น
- ถ้าใช้ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต ให้ไช้ปุ๋ยประมาณ 3-4 กก. ต่อชั้น
(5) 2 โดยวิธีเดียวกันกับใน
ชั้นที่ 1 คือ
- กองเศษพืช
- โรยมูลสัตว์
- รดนำ้า จนเศษพืชเปียกชื้นโดยทั่วถึงกัน
- หว่านปุ๋ยเคมี

กองเศษพืชเป็นชั้นๆ เช่นนี้เรื่อยไป จนกระทั่งได้กอง ปุ๋ยสูงตามขนาดที่


ต้องการคือ 1.20 เมตร ซึ่งจะมีจำานวนชั้นของ กองเศษพืชประมาณ 6-8 ชั้น ในชั้น
สุดท้ายหลังจากโรยปุ๋ยเคมี แล้ว ต้องรดนำ้าตาม เพือ
่ ให้ปุ๋ยเคมีละลายเข้าไปใน
กองปุ๋ย
4.
- หมั่นตรวจตราคอยรดนำ้ากองปุ๋ยอยูเ่ สมอ อย่าให้กองปุ๋ย
แห้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง 2-3 วัน หลังจากเริม ่ ตั้งกอง เศษพืชบางส่วน
อาจจะยังค่อนข้างแห้ง อาจต้องรดนำ้าให้เศษพืชเปียกชื้นอย่างทั่วถึงกัน เสีย
ก่อน จากนั้น จึงค่อยตรวจตราเป็นระยะๆ แต่กต ็ ้องระวังอย่ารดนำ้าจนแฉะ เกิน
ไป
- หลังจากตั้งกองปุ๋ยหมักแล้ว ต้องทำาการ
กลับ กองปุ๋ยหมักอยู่เสมอ ยิ่งกลับกองบ่อยครั้งจะยิ่งเร่งให้เศษพืชแปรสภาพไป
เป็น ปุ๋ยหมักได้เร็วขึ้น อย่างน้อยที่สุดควรได้กลับกองปุ๋ยสัก 3-4 ครั้ง คือ ครั้งแรก
เมือ่ ประมาณ 10 วัน หลังจากเริ่มตั้งกองปุ๋ย ครั้งที่สองก็ประมาณ 15 วัน หลัง
จาก กลับกองครั้งแรก ต่อไปก็กลับกองทุกๆ 20 วัน จนเศษพืชแปรสภาพไปเป็น
ปุ๋ยหมักทั้งกอง
- ต้องระวังอย่าให้กองปุ๋ยเปียกแฉะ โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่ง เมือ
่ เศษพืชย่อยสลายไปมากแล้ว ควรพูนด้านบนของกองให้ไค้งนูน และหา
วัสดุคลุมไว้บ้าง ไม่ให้นำ้าฝนไหลเข้าในกองปุ๋ยมากเกินไป

5.
หลังจากหมักเศษพืชไปช่วงระยะเวลาหนึ่ง แล้ว ความร้อนภายในกองปุ๋ย
จะค่อยๆ ลดลง เศษพืชก็เปื่อยยุ่ย สีคลำ้าขึ้น เรื่อยๆ จนในทีส ่ ุดกองปุ๋ยก็เย็นตัวลง
เศษพืชก็แปรสภาพไป กลายเป็นปุ๋ยหมัก ที่มเี นื้อปุ๋ยร่วนๆ เป็นขุย ยุย ่ นุ่มมือ สี
นำ้าตาลเข้ม ไม่มีกลิ่นเหม็น ระยะเวลาตั้งแต่ เริม ่ ตั้งกองจนถึงระยะที่กองปุ๋ยไม่
ร้อนสามารถนำาไปใช้ได้อย่างปลอดภัย นี้ ใช้เวลาประมาณสองเดือนครึ่ง ถึง
สามเดือนครึ่ง อาจเร็วหรือช้าไปกว่านี้ บ้าง ถ้ายังไม่นำาปุ๋ยหมักนี้ไปใช้ทันที ควร
เก็บรักษาไว้ไนที่ร่ม มีหลังคากันแดด กันฝนหรือหาวัสดุคลุมไว้ไม่ให้ถูกฝนชะ
ควรรักษาให้กองปุ๋ยชื้นและอัดกองปุ๋ย ให้แน่น
มีวัตถุประสงค์หลักก็เพื่อปรับปรุงสภาพของ
ดินให้ เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช ถ้าจะให้ผลดีควรต้องใส่ในปริมาณ
ที่มาก เพียงพอและใส่อย่างสมำ่าเสมอทุกปี ในเนื้อของปุ๋ยหมักแม้ว่าจะมีธาตุ
อาหารพืช อยู่แต่ก็มีไม่มากเหมือนกับปุ๋ยเคมี ดังนั้นถ้าต้องการปรับปรุงความ
อุดม สมบูรณ์ของดิน โดยการเพิม ่ เติมธาตุอาหารพืชลงไป จึงควรใส่ปุ๋ยเคมีร่วม
ไปกับ การใส่ปุ๋ยหมักด้วยจะให้ผลดีที่สด ุ ทั้งนี้ปุ๋ยหมักไม่เพียงแต่จะปลดปล่อย
ธาตุอาหาร ออกมาจำานวนหนึ่งเท่านั้น ยังมีบทบาทสำาคัญช่วยให้การใช้ปุ๋ยเคมี
เป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ
อัตราการใส่ปุ๋ยหมักในดินแต่ละแห่งก็แตกต่างกันไป แล้วแต่สภาพ ของ
ดินและชนิดของพืชที่ปลูก ถ้าดินเป็นดินที่เสือ ่ มโทรม มีความอุดมสมบูรณ์ตำ่า
หรือดินทีม่ ีเนื้อดินเป็นดินทรายจัด ก็ควรต้องใส่ปุ๋ยหมักให้มากกว่าปกติ ปุ๋ย
หมักทีส่ ลายตัวดีแล้วจัดเป็นปุ๋ยที่สามารถใส่ให้กับพืชในปริมาณมากๆ ได้โดยไม่
เกิดอันตราย ดังนั้นถ้าผลิตปุ๋ยหมักได้มากพอแล้ว เราสามารถใส่ลงไป ในดินให้
มากเท่าที่ต้องการได้ แต่ก็ไม่ควรใส่มากเกินอัตราปีละ 20 ตันต่อไร่ เพราะอาจก่อ
ให้เกิดผลเสียต่อดินได้ ่่

พืชผักส่วนใหญ่เป็นพืชทีม่ ีระบบราก แบบรากฝอย รากสั้นอยูต ่ ื้นๆ ใกล้ผิว


ดิน การใส่ปุ๋ยหมักจะมีประโยชน์มาก เพราะช่วยให้ดินร่วนซุยขึ้น ทำาให้รากของ
พืชผักเจริญเติบโตได้รวดเร็ว แตกแขนงแพร่กระจายไปได้มาก มีระบบรากที่
สมบูรณ์ ทำาให้สามารถดูดซับ แร่ธาตุอาหารได้รวดเร็ว ทนต่อการแห้งแล้งได้ดี
ขึ้น วิธีการใส่ปุ๋ยหมักใน แปลงผักอาจใช้วิธีโรยปุ๋ยหมักทีส
่ ลายตัวดีแล้ว คลุม
แปลงให้หนาประมาณ 1-3 นิ้ว ใช้จอบสับผสมคลุกเคล้าลงไปในดินให้ลึก
ประมาณ 4 นิ้ว หรือลึกกว่า นี้ ถ้าเป็นพืชทีล
่ งหัว
พืชผักเป็นพืชที่มีการเจริญเติบโตรวดเร็ว ต้องการแร่ธาตุอาหารจาก ดินเป็น
ปริมาณมาก ในช่วงระยะเวลาสั้นๆ ถ้าจะให้ผลผลิตที่ดีควรใส่ปุ๋ยเคมี ร่วมไปกับ
การใส่ปุ๋ยหมักด้วย

ไม้ผลหรือไม้ยืนต้นเป็น พวกที่มีระบบรากลึก การเตรียมดินในหลุมปลูก


ให้ดีจะมีผลต่อระบบรากและการ เจริญตั้งตัวของต้นไม้ในช่วงแรกเป็นอย่าง
มาก ในการเตรียมหลุมปลูกควร ขุดหลุมให้ลึก แล้วใช้ปุ๋ยหมักผสมคลุกเคล้ากับ
ดินที่ขุดจากหลุมในอัดราส่วน ดิน 2-3 ส่วน กับปุ๋ยหมัก 1 ส่วน ใส่กลับลงไปใน
หลุมเพื่อใช้ปลูกต้นไม้ ต่อไป
การใส่ปุ๋ยหมักสำาหรับไม้ผลที่เจริญเติบโตแล้วอาจทำาโดยการพรวน ดิน
รอบๆ ต้น ห่างจากโคนต้นประมาณ 2-3 ฟุต ออกไปจนถึงนอกทรงพุ่มของ ต้น
ประมาณ 1 ฟุต พรวนดินให้ลึกประมาณ 2 นิ้ว โรยปุ๋ยหมักให้หนาประมาณ 1 นิ้ว
หรือมากกว่า ใช้จอบผสมคลุกเคล้าให้เข้ากับดิน แล้วรดนำ้าหรือจะใช้ วิธีขุดร่อง
รอบๆ ทรงพุ่มของต้นให้ลึกประมาณ 30-50 เซนติเมตร แล้วใส่ปุ๋ย หมักลงไปใน
ร่องประมาณ 40-50 กิโลกรัมต่อต้น ใช้ดินกลบแล้วรดนำ้า ถ้าจะ ใส่ปุ๋ยเคมีด้วยก็
ผสมปุ๋ยเคมีคลุกเคล้ากับปุ๋ยหมักให้ดีแล้วใส่ลงไปพร้อมกัน การใส่ปุ๋ยหมักตาม
วิธีดังกล่าวมานี้ เป็นการใส่ปีละครั้ง และเมื่อต้นไม้ มีขนาดโตขึ้นก็ควรเพิ่ม
ปริมาณปุ๋ยหมักตามขนาดของต้นไม้ด้วย

ในดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ ปานกลาง แนะนำาให้ใส่ปุ๋ยหมักในอัดรา


อย่างน้อยปีละ 1.5-2.5 ตันต่อไร่ หว่านให้ทั่วแปลงแล้วไถหรือคราดกลบก่อน การ
ปลูกพืชในดินที่มีความอุดม- สมบูรณ์ตำ่าหรือผืนดินเสือ ่ มโทรม อาจต้องใส่ปุ๋ย
หมักในอัดราทีม ่ ากกว่านี้ เช่นปีละ 2-3 ตันต่อไร่ ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับสภาพของดินและ
ปริมาณการผลิตปุ๋ยหมัก พื้นที่ที่ใช้ปลูกพืชไร่หรือทำานาเป็นพื้นที่กว้าง ปริมาณ
ปุ๋ยหมักที่ใส i ลงไป ในแต่ละปีอาจไม่เพียงพอ ถ้าดินนั้นไมอุดมสมบูรณ์การ
ปรับปรุงความอุดม- สมบูรณ์ของดินควรต้องใช้ร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมี หรือการ
จัดการดินวิธี อืน ่ ๆ เช่น การใช้ปุ๋ยพืชสดเป็นต้น

นอกจากจะใช้กับพวกพืชไร่ พืชสวน ดังกล่าวมาแล้ว ปุ๋ยหมักยังสามารถ


ใช้กับพวกไม้ดอกไม้ประดับได้เป็นอย่างดี ถ้าปลูกเป็นแปลงใช้อัตราเดียวกันกับ
ที่ใช้ในแปลงผัก คือโรยปุ๋ยหมักคลุม แปลงให้หนาประมาณ 1-3 นิ้ว แล้วใช้จอบ
สับผสมลงไปในดินให้ลึก ประมาณ 4 นิ้ว

ใช้ปุ๋ยหมัก 1 ส่วน ผสม กับดินร่วนที่อุดมสมบูรณ์ 2 ส่วน ถ้าผสมปุ๋ยหมักใน


อัตราส่วนมากๆ วัสดุปลูก มักจะแห้งเร็วเกินไป และมีปัญหาเรื่องวัสดุปลูกยุบ
ตัวมาก

ั ราส่วน ปุ๋ยหมัก 1 ส่วน ทราย 1 ส่วน และดินร่วนที่อุดมสมบูรณ์ 2


ใช้อต
ส่วน ถ้าใช้เพาะ เมล็ดพืชที่มข
ี นาดเล็กๆ ก็ใช้เมล็ดโรยหรือวางบนวัสดุเพาะดัง
กล่าว จากนั้นใช้ ปุ๋ยหมักโรยบางๆ ทับลงไปแล้วรดนำ้า
ปริมาณอินทรีย์วัตถุในดินของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนใหญ่อยู่ตำากว่าจุดวิกฤต คือน้อยกว่า 1 เปอร์เซ็นต์
เนืำองจากปัจจัยหลายประการ ได้แก่ ทีำตั้งของประเทศไทยอยู่ในสภาพภูมิอากาศ ในเขตร้อนชื้นจึงมีอัตราการย่อย
สลายอินทรีย์วัตถุในดินเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว การทำาการเกษตรติดต่อกันเป็นเวลานานโดยไม่มีการเพิำมอินทรีย์วัตถุให้
แก่ดินอย่างเพียงพอหรือปริมาณอินทรีย์วัตถุทีำใส่ลงไปในดินน้อยกว่าอัตราการย่อยสลายของอินทรีย์วัตถุในดิน
ความลาดเทของพื้นทีำ และประกอบกับดินส่วนใหญ่เป็นดินร่วนปนทราย ทำาให้เกิดการชะล้างหน้าดินสูง และการใช้
ทีำดินอย่างไม่ถูกหลักการอนุรักษ์ดิน สิำงเหล่านี้คือปัจจัยหลักทีำทำาให้ปริมาณอินทรีย์วัตถุในดินลดลงอย่างรวดเร็ว
การใส่ปุ๋ยอินทรีย์ให้แก่ดิน จึงเป็นแนวทางเดียวทีำจะช่วยยกระดับของอินทรีย์วัตถุในดินให้สูงขึ้น ซึำงจะ
เป็นการเพิำมความอุดมสมบูรณ์ของดิน และเพิำมธาตุอาหารพืชสะสมไว้ในดิน ซึำงเป็นวิธีการทำาเกษตรอินทรีย์ในขั้น
ต้น ดังนี้
1.ไม่เผาตอซัง การเผาตอซัง เป็นการทำาลายสภาพแวดล้อม ทำาให้มลภาวะเป็นพิษ ,ทำาลายปุ๋ยอินทรีย์ ทำาให้
โครงสร้างของดินจับตัวกันแน่น แข็งกระด้าง จุลินทรีย์ในดินทีำมีประโยชน์ในพืชถูกทำาลาย สูญเสียธาตุอาหารพืช
และสูญเสียนำ้าในดิน ทำาให้ดินแห้ง ฉะนั้นเกษตรกรจะต้องไม่เผาตอซังโดยเด็ดขาด
2. การใช้ปุ๋ยคอก ,ปุ๋ยหมัก บำารุงดิน
2.1 ปุ๋ยคอก คือมูลสัตว์ทีำขับถ่ายออกมาเป็นส่วนทีำร่างกายได้ย่อยสลายอินทรีย์สารไปแล้ว มูลสัตว์เหล่านี้จึงมี
คุณค่าทางสารอาหารแก่พืช
2.2 ปุ๋ยหมัก คือ ปุ๋ยทีำได้จากการหมักเศษอินทรีย์วัตถุต่าง ๆ เช่น ฟางข้าว เศษหญ้า เศษอาหาร ขยะสด เป็นต้น
3 การใช้ปุ๋ยพืชสด
ปุ๋ยพืชสด หมายถึง ปุ๋ยอินทรีย์ชนิดหนึำงทีำได้จากต้นพืชและใบสดทีำปลูกเอาไว้หรือขึ้นเองตามธรรมชาติ เมืำอสับ-
ตัด-กลบ หรือทิ้งไว้ให้เน่าเปื่อยผุพังหมดแล้วจะให้ธาตุอาหารพืช และเพิำมปริมาณอินทรีย์วัตถุลงไปในดินซึำงจะเป็น
ประโยชน์ต่อพืชทีำปลูกตามมา ปุ๋ยพืชสดทีำนิยมใช้ทำาเป็นปุ๋ยพืชสดได้ดีทีำสุด คือ พืชตระกูลถัำว เช่น ถัำวพุ่มดำา ,ถัำวพร้า,
ถัำวเขียว, ปอเทือง และโสนแอฟริกัน ซึำงเป็นพืชทีำปลูกง่าย โตเร็ว ดูแลรักษาง่าย และเมืำออายุพืชทีำเพาะปลูกเป็นปุ๋ยพืช
สดครบกำาหนด คือช่วงระยะเวลาออกดอก ให้ทำาการไถกลบ ก็จะได้ปุ๋ยพืชสดประมาณ 1-2 ตัน ต่อไร่ ซึำงเป็นวิธีการ
เพิำมปุ๋ยให้แก่ดินได้เร็ว จำานวนมาก ราคาถูก
4. การใช้ปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยชีวภาพ คือ ปุ๋ยทีำประกอบด้วยสิำงมีชีวิตเล็ก ๆ ซึำงมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น(จุลนิ ทรีย์)ทีำทำา
ประโยชน์ให้แก่ดินและพืช ซึำงสิำงมีชีวิตเล็ก ๆ เหล่านี้จะเป็นตัวการทำาให้พืชได้รับธาตุอาหารหรือสิำงทีำเป็นประโยชน์
ทำาให้พืชสามารถเจริญเติบโตได้ดี ปุ๋ยชีวภาพทีำแนะนำาให้เกษตรกรทำานี้ เป็นปุ๋ยชีวภาพทีำสามารถทำาได้เองโดยไม่ต้อง
ซื้อ ใช้วัสดุทีำมีอยู่ในพื้นทีำซึำงเป็นเทคนิคการใช้จุลินทรีย์ของสมาคมเกษตรธรรมชาติแห่งประเทศเกาหลี ซึำงนายคิว
ฮานโซ นายกสมาคมเกษตรธรรมชาติแห่งประเทศเกาหลีพัฒนาขึ้นมาจากประสบการณ์ส่วนตัว เมืำอประมาณ 40 ปีทีำ
แล้ว และได้นำามาเผยแพร่ในประเทศไทยเมืำอปี พ.ศ.2540 เป็นการนำาจุลินทรีย์ในพื้นทีำ (ไอเอ็มโอ : I.M.O.) มาเพาะ
เลี้ยงให้แข็งแรง และเพิำมจำานวนมากขึ้น โดยใช้เทคโนโลยีแบบง่ายๆ ปุ๋ยชีวภาพมี 2 ประเภท คือ ปุ๋ยนำ้า(นำ้าหมัก
ชีวภาพ) และปุ๋ยแห้ง(ปุ๋ยหมักชีวภาพ)
4.1 ปุ๋ยนำำา (นำำาหมักชีวภาพ) คือ การนำาเอาพืช ผัก ผลไม้ สัตว์ชนิดต่าง ๆ มาหมักกับนำ้าตาลทำาให้เกิดจุลินทรีย์ทีำ
เป็นประโยชน์จำานวนมากซึำงจุลินทรีย์เหล่านี้จะไปช่วยสลายธาตุอาหารต่าง ๆ ทีำอยู่ในพืช มีคุณค่าในแง่ของธาตุ
อาหารพืชเมืำอถูกย่อยสลายโดยกระบวนการย่อยสลายของแบคทีเรียหรือจุลินทรีย์สารต่างๆจะถูกปลดปล่อยออกมา
เช่นโปรตีน กรดอะมิโน กรดอินทรีย์ ธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง จุลธาตุ ฮอร์โมนเร่งการเจริญเติบโต เอนไซม์
วิตามิน ซึำงพืชสามารถนำาไปใช้ในการเจริญเติบโตได้อย่างมีประสิทธิภาพ นำ้าหมักชีวภาพ มี 3 ประเภท คือ
4.1.1 นำ้าหมักชีวภาพจากพืชสดสีเขียว (นำ้าแม่)
4.1.2 นำ้าหมักชีวภาพจากผลไม้สุก (นำ้าพ่อ)
4.1.3 สารขับไล่แมลง (นำ้าหมักจากพืชสมุนไพร)
4.2 ปุ๋ยแห้ง (ปุ๋ยหมักชีวภาพ) คือ ปุ๋ยอินทรีย์ทีำผา่ นกระบวนการหมักกับนำ้าหมัก-
ชีวภาพ ช่วยในการปรับปรุงดิน ย่อยสลายอินทรีย์วัตถุในดินให้เป็นอาหารแก่พืช

ประโยชน์ของปุ๋ยชีวภาพ (นำำาหมักชีวภาพ)
ด้านการเกษตร
1. ช่วยปรับสภาพความเป็นกรด - ด่าง ในดินและนำ้า
2. ช่วยปรับสภาพโครงสร้างของดินให้ร่วนซุย อุ้มนำ้าและอากาศได้ดียิำงขึ้น
3. ช่วยย่อยสลายอินทรีย์วัตถุในดินให้เป็นธาตุอาหารแก่พืช พืชสามารถดูดซึมไปใช้ได้เลย โดยไม่ต้องใช้พลังงาน
มากเหมือนการใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์
4. ช่วยเร่งการเจริญเติบโตของพืชให้สมบูรณ์ แข็งแรงตามธรรมชาติ ต้านทานโรคและแมลง
5. ช่วยสร้างฮอร์โมนพืช ทำาให้ผลผลิตสูง และคุณภาพของผลผลิตดีขึ้น
6. ช่วยให้ผลผลิตคงทน เก็บรักษาไว้ได้นาน

ด้านปศุสัตว์
1. ช่วยกำาจัดกลิำนเหม็นจากฟาร์มสัตว์ ไก่ สุกร ได้ภายใน 24 ชม.
2. ช่วยกำาจัดนำ้าเสียจากฟาร์มได้ภายใน 1 - 2 สัปดาห์
3. ช่วยป้องกันโรคอหิวาห์และโรคระบาดต่างๆ ในสัตว์แทนยาปฏิชีวนะ และอืำนๆได้
4. ช่วยกำาจัดแมลงวัน ด้วยการตัดวงจรชีวิตของหนอนแมลงวัน ไม่ให้เข้าดักแด้เกิดเป็นตัวแมลงวัน
5. ช่วยเสริมสุขภาพสัตว์เลี้ยง ทำาให้สัตว์แข็งแรง มีความต้านทานโรค ให้ผลผลิตสูง และอัตราการรอดสูง

ด้านการประมง
1. ช่วยควบคุมคุณภาพนำ้าในบ่อเลี้ยงสัตว์นำ้าได้
2. ช่วยแก้ปัญหาโรคพยาธิในนำ้า ซึำงเป็นอันตรายต่อสัตว์นำ้า
3. ช่วยรักษาโรคแผลต่างๆในปลา กบ จระเข้ ฯลฯ ได้
4. ช่วยลดปริมาณขี้เลนในบ่อ ช่วยให้เลนไม่เน่าเหม็น สามารถนำาไปผสมเป็นปุ๋ยหมัก ใช้กับพืชต่างๆได้ดี
ด้านสิ่งแวดล้อม
1. ช่วยบำาบัดนำ้าเสียจากการเกษตร ปศุสัตว์ การประมง โรงงานอุตสาหกรรม ชุมชน และสถาน-ประกอบการทัำวไป
2. ช่วยกำาจัดกลิำนเหม็นจากกองขยะ การเลี้ยงสัตว์ โรงงานอุตสาหกรรม และชุมชนต่างๆ
3. ปรับสภาพของเสีย เช่น เศษอาหารจากครัวเรือนให้เป็นประโยชน์ต่อการเลี้ยงสัตว์ และการเพาะ-ปลูกพืช
4. กำาจัดขยะด้วยการย่อยสลายให้มีจำานวนลดน้อยลง สามารถนำาไปใช้ประโยชน์ได้
5. ช่วยปรับสภาพอากาศทีำเสียให้สดชืำน และมีสภาพดีขนึ้
การผลิตปุ๋ยชีวภาพให้ได้ผล สะดวกในการนำาไปใช้จะต้องผลิตให้ได้ทัำง 4 ชนิด คือ
ปุ๋ยนำำา (นำำาหมักชีวภาพ)
- นำ้าแม่ ( นำ้าหมักจากพืชสดสีเขียว )
- นำ้าพ่อ ( นำ้าหมักจากผลไม้ )
- สารขับไล่แมลง ( จากพืชทีำมีฤทธิ์ขับไล่แมลง )
ปุ๋ยแห้ง (ปุ๋ยหมักชีวภาพ)
- ปุ๋ยหมักชีวภาพ

การทำาหัวเชืำอนำำาแม่ (นำำาหมักจากพืชสดสีเขียว)
วัสดุ
1. พืชตระกูลผัก เช่น ผักบุ้ง, ผักต่างๆ 3 ก.ก.
2. พืชตระกูลหญ้า เช่น หน่อไม้ หรือหญ้าขน 2 ก.ก.
3. หน่อกล้วย 2 ก.ก.
4. พืชตระกูลถัำว 2 ก.ก.
5. กากนำ้าตาลหรือนำ้าอ้อยหรือนำ้าตาลทรายแดง 3 ก.ก.
กล่าวคือใช้ พืช 9 ก.ก. ต่อนำ้าตาล 3 ก.ก. หรือคิดเป็นอัตราส่วน พืชต่อนำ้าตาล เท่ากับ 3 ต่อ 1
อุปกรณ์
1. ถังพลาสติกมีฝาปิดหรือโอ่งเคลือบ 1 ใบ
2. มีดสำาหรับหัำนพืช 1 เล่ม
3. เขียงไว้รองหัำนพืช 1 อัน
4. กาละมังใบใหญ่ไว้คลุกเคล้าวัสดุ 1 ใบ
วิธีทำา
1. หันำ พืชทุกชนิดยาวประมาณ 1 – 2 นิว้ จำานวน 9 ก.ก. ใส่กาละมัง
2. ใส่กากนำ้าตาล จำานวน 3 ก.ก. แล้วคลุกเคล้าให้ทัำว (ถ้ากากนำ้าตาลเหนียวมากให้ใส่นำ้าเล็กน้อย)
3. เอาพืชทีำคลุกเคล้านำ้าตาลแล้วไปไว้ในร่ม 2 ช.ม.
4. เมืำอครบ 2 ชัำวโมง ให้เอาพืชในกาละมังใส่ถังพลาสติกหรือโอ่งเคลือบ ปิดฝาให้แน่นหนา เก็บถังหมักไว้ในทีำร่ม
อย่าให้ถูกแดด ทิ้งไว้ 7 - 15 วัน เปิดฝาตรวจสอบโดยการดม ถ้ามีกลิำนหอมอมเปรี้ยว มีกลิำนแอลกอฮอล์ แสดงว่า นำ้า
หมักเริำมเป็นแล้ว ให้ทำาการขยายโดยการเติมกากนำ้าตาลและนำ้า ตามข้อ 5
5. การขยายหัวเชื้อนำ้าแม่ 10 เท่า ดังนี้
5.1 กรณีขยายนอกถัง รินนำ้าแม่มา 1 ส่วน ผสมกากนำ้าตาล 1 ส่วน(เท่านำ้าแม่) ต่อนำ้าสะอาด 10 ส่วน มาคนคลุกเคล้า
ให้เข้ากัน กรอกใส่ขวดพลาสติกหรือถังพลาสติก ปิดฝาให้แน่นหนา หมักทิ้งไว้ 7 - 15 วัน ระหว่างการหมัก หมันำ เปิด
ฝาเพืำอระบายแก๊สออกบ้าง เมืำอครบ 7 - 15 วัน เปิดฝาทดสอบ หากมีกลิำนหอมอมเปรี้ยว มีกลิำนแอลกอฮอล์ แสดง
ว่าการหมักได้ผล นำาไปใช้ได้ หากมีกลิำนเหม็นเน่าให้เติมกากนำ้าตาล คนจนหายเหม็น
5.2 กรณีขยายในถัง ทำาได้โดย เมืำอหมักครบ 15 วันแล้ว ให้ใส่นำ้าสะอาด 20 ลิตร พร้อมกากนำ้าตาลอีก 2 ก.ก. ทิ้งไว้ 7
- 15 วัน ตรวจสอบดูตามแบบข้อ 5.1 ถ้าเป็นนำาไปใช้ได้ หากไม่เป็นให้เติมกากนำ้า
ตาลอีก จนกว่าจะเป็น
หมายเหตุ การหมักเพืำอให้ได้ประสิทธิภาพสูง มีคุณภาพ ให้หมักไว้อย่างน้อย 1 เดือนขึ้นไป ยิงำ นานยิำงดี

การทำาหัวเชืำอนำำาพ่อ ( นำำาหมักจากผลไม้ทุกชนิด )
วัสดุ
1. ฟักทองแก่ 2 ก.ก.
2. มะละกอสุก 2 ก.ก.
3. กล้วยนำ้าว้าสุก 2 ก.ก.
4. ผลไม้อนืำ ๆ 3 ก.ก.
5. กากนำ้าตาลหรือนำ้าอ้อยหรือนำ้าตาลทรายแดง 3 ก.ก.
คิดเป็นอัตราส่วนผลไม้ต่อนำ้าตาล เท่ากับ 3 ต่อ 1
อุปกรณ์ วิธที ำา และการขยายหัวเชื้อ ทำาเช่นเดียวกับการทำาหัวเชื้อนำ้าแม่

การผสมนำำาแม่และนำำาพ่อเพื่อใช้ประโยชน์ตามช่วงการเจริญเติบโตของพืช
นำ้าหมักจากผลไม้ จะเปรียบเหมือนพ่อของพืช เมืำอใช้รวมกับนำ้าหมักจากพืชสีเขียวทีำเปรียบเหมือนแม่ของพืช
จะเกิดลูกเป็นครอบครัวใหญ่ เมืำอนำานำ้าหมักจากผลไม้มาผสมกับนำ้าหมักจากพืชแล้ว เราต้องผสมนำ้าให้เจือจาง โดย
ใช้นำ้าหมักทีำผสมแล้ว 1 ส่วน ผสมนำ้า 500 ส่วน สัดส่วนการผสมนำ้าพ่อกับนำ้าแม่ เพืำอใช้กับพืชให้เหมาะสมกับช่วง
อายุการเจริญเติบโตของพืชและเพืำอให้มีความสะดวกในการใช้ จึงให้ผสมเป็น 3 สูตร ดังนี้
สูตร 1 เร่งการเจริญเติบโต โดยใช้ (N)
นำ้าแม่ 10 ส่วน ต่อนำ้าพ่อ 1 ส่วน
สูตร 2 เร่งการออกดอก โดยใช้ (P)
นำ้าแม่ 1 ส่วน ต่อนำ้าพ่อ 1 ส่วน
สูตร 3 เร่งคุณภาพผลผลิต โดยใช้ (K)
นำ้าแม่ 1 ส่วน ต่อนำ้าพ่อ 10 ส่วน

สารขับไล่แมลง
วัสดุ
1. สะเดา ทั้ง 5 จำานวน 3 ก.ก.
2. ลายเสือทั้ง 5 จำานวน 2 ก.ก.
3. ข่า ทั้ง 5 จำานวน 2 ก.ก.
4. ตะไคร้หอม ทั้ง 5 จำานวน 2 ก.ก.
5. ใบน้อยหน่าหรือใบยูคาฯ จำานวน 1 ก.ก.
6. บอระเพ็ดหรือสบู่ดำาหรือขี้เหล็ก จำานวน 1 ก.ก.
7. ยาเส้นหรือหางไหล จำานวน 1 ก.ก.
8. ผลไม้สุก 3 ชนิด ๆ ละ 2 ก.ก. จำานวน 6 ก.ก.
9. กากนำ้าตาลหรือนำ้าอ้อยหรือนำ้าตาลทรายแดง จำานวน 3 ก.ก.
10. นำ้าสะอาด จำานวน 40 ลิตร

อุปกรณ์ในการหมัก วิธีทำา ทำาเช่นเดียวกับการทำาหัวเชื้อนำ้าแม่ แต่ให้ใส่นำ้าไปพร้อมกับวัสดุทันทีได้เลย การหมักให้


หมักไว้อย่างน้อย 15 วัน ยิำงหมักนานเท่าไรยิำงดี
วิธีใช้
ใช้สำาหรับขับไล่แมลง ศัตรูพืชได้หลายชนิด โดยใช้อัตรา 3 – 4 ช้อนแกงต่อนำ้า 20 ลิตร รด ราด ฉีด พ่น ใบพืช
ต้นพืช และดิน

การทำาปุ๋ยหมักชีวภาพ 48 ช.ม. (แบบแห้ง)


วัสดุ
1. มูลสัตว์แห้ง 1 กระสอบ (โดยปริมาตร)
2. แกลบดิบ 1 กระสอบ
3. รำาอ่อน 1 กระสอบ
4. นำ้าหมักชีวภาพ (นำ้าแม่หรือนำ้าพ่อ) 3 ช้อนแกง
5. กากนำ้าตาลหรือนำ้าอ้อยหรือนำ้าตาลทรายแดง 3 ช้อนแกง
6. นำ้าสะอาด 10 ลิตร
วิธีทำา
1. คลุกมูลสัตว์กับแกลบดิบให้เข้ากัน
2. ผสมนำ้าหมัก กากนำ้าตาลหรือนำ้าตาลทรายแดง กวนให้เข้ากันแล้วรดบนกองปุ๋ย คลุกเคล้าให้เข้ากัน มีความชื้น
ประมาณ 40 % (ทดลองบีบดู ไม่มีนำ้าซึมออกตามง่ามมือ กรณีความชื้นไม่พอให้ผสมนำ้าหมักชีวภาพ / กากนำ้าตาล นำ้า
ตามอัตราส่วนเดิมรดไปทีำกองปุ๋ย ถ้านำ้าเหลือให้นำาไปรดต้นไม้)
3. ผสมรำาอ่อนในกองปุ๋ย คลุกเคล้าให้เข้ากัน
4. นำาส่วนผสมทั้งหมดกองลงบนพื้นซีเมนต์หรือพื้นดินให้หนาประมาณ 30 ซม. แล้วคลุมด้วยกระสอบป่านไว้
ประมาณ 12 ชัวำ โมง ให้กลับกองปุ๋ยแล้วคลุมด้วยกระสอบป่านทิ้งไว้ประมาณ 12 ชัำวโมง ให้กลับกองปุ๋ยอีก ทำาเช่นนี้
ประมาณ 4 วัน กองปุ๋ยหมักจะเริำมเย็นปกติ ประมาณ 30 องศาเซลเซียส
5. เปิดกระสอบป่านทีำคลุมกองปุ๋ยหมัก ปล่อยให้แห้งแล้วนำาไปบรรจุกระสอบเก็บไว้ในทีำร่ม ไม่ให้โดนความชื้น

การขยายปุ๋ยแห้ง 24 ช.ม.
สามารถนำาปุ๋ยแห้ง 48 ช.ม. ซึำงถือเป็นหัวเชื้อของปุ๋ยแห้งทีำมีความเข้มข้นมาขยายเป็น 10 เท่า ภายใน 1 วัน เพืำอลด
ต้นทุนการผลิตและประหยัดได้ ดังนี้
วัสดุ
1. ปุ๋ยแห้ง (48 ช.ม.) 1 ส่วนหรือ 1 กระสอบ
2. แกลบดิบ หรือหญ้าแห้ง หรือใบไม้แห้ง ฯลฯ 10 ส่วน
3. ปุ๋ยมูลสัตว์แห้ง 1/2 ส่วน หรือ 1/2 กระสอบ
4. รำาละเอียด หรือมันสำาปะหลังป่น 1/2 ส่วน หรือ 1/2 กระสอบ
5. นำ้าหมักชีวภาพ + กากนำ้าตาล อย่างละ 3 ช้อนโต๊ะ ผสมในนำ้า 10 ลิตร
หมายเหตุ ถ้าทำามากให้เพิำมตามสัดส่วน

วิธีทำา
ทำาเช่นเดียวกับการทำาปุ๋ยแห้ง 48 ช.ม. เว้นแต่การหมัก ควรกลับกองปุ๋ยเมืำอหมักครบ 18 ช.ม. ให้กลับปุ๋ยข้างล่าง
ขึ้นข้างบนให้อากาศผ่านได้ทัำวถึง แห้งง่าย คลุมกองปุ๋ยไว้อีก 6 ช.ม. ก็จะได้ปุ๋ยแห้ง 24 ช.ม. นำาไปใช้ได้
วิธีใช้
- ใช้เหมือนปุ๋ยแห้ง 48 ช.ม. แต่จะประหยัดและลดต้นทุนได้มาก
- เก็บรักษาในร่ม ไม่ถูกแดด ถูกฝน ได้ 1 ปี
- ใช้ทำาปุ๋ยแห้ง 24 ช.ม. ขยายได้อีกเรืำอย ๆ
วัสดุที่ใช้แทนรำาละเอียด
1. มันสำาปะหลัง
2. ตอข้าว
3. ซังข้าวโพด
4. กากมะพร้าวขูดคั้นนำ้าแล้ว ผึำงให้แห้ง

การนำานำำาหมักชีวภาพและปุ๋ยหมักชีวภาพไปใช้ประโยชน์
การใช้ในนาข้าว
ในพื้นทีำนา 1 ไร่ ใส่ปุ๋ยหมักชีวภาพประมาณ 200 ก.ก. โดยแบ่งได้เป็นระยะดังนี้
ไถพรวน
1. หว่านปุ๋ยหมักชีวภาพ(ปุ๋ยแห้ง) 100 ก.ก. ให้ทัำว
2. ผสมนำ้าหมัก(นำ้าแม่หรือนำ้าพ่อ) 20 ช้อนแกง ผสมนำ้า 80 ลิตร ฉีดพ่นให้ทัำวแปลง แล้วไถพรวนทิ้งไว้ 15 วัน เพืำอให้
นำ้าหมักฯย่อยสลายวัชพืช และฟางข้าวให้เป็นปุ๋ยธรรมชาติ และเร่งการงอกของเมล็ดพืช
ไถคราด
1. พ่นนำ้าหมักฯ อัตราส่วนเดิมอีกครั้ง
2. ไถคราดให้ทัำว เพืำอเตรียมปักดำา
หลังปักดำา 7 - 15 วัน
1. หลังปักดำา 7 - 15 วัน หว่านปุ๋ยหมักชีวภาพให้ทัำวแปลง 30 ก.ก./ไร่
2. พ่นตามด้วย นำ้าหมักฯ (สูตร 1) 20 ช้อนแกง ผสมนำ้า 80 ลิตร
ข้าวอายุ 1 เดือน
1. หว่านปุ๋ยหมักฯ 30 ก.ก./ไร่
2. พ่นด้วยนำ้าหมัก (สูตร 1) 20 ช้อนแกง ผสมนำ้า 80 ลิตร
ก่อนข้าวตั้งท้องเล็กน้อย
1. หว่านปุ๋ยหมักฯ 40 ก.ก./ไร่
2. พ่นด้วยนำ้าหมักฯ (สูตร 2) 20 ช้อนแกง ต่อนำ้า 80 ลิตร
ข้าวติดเมล็ดแล้ว
- พ่นนำ้าหมักฯ(สูตร 3) 20 ช้อนแกง ต่อนำ้า 80 ลิตร

การใช้กับพืชไร่ พืชผัก
1. เตรียมแปลงเสร็จ หว่านปุ๋ยหมักชีวภาพ ประมาณ 2 กำามือ ต่อพื้นทีำ 1 ตารางเมตร
2. เอาฟางคลุมแล้วรดด้วยนำ้าหมักชีวภาพ (นำ้าแม่หรือนำ้าพ่อ) ในอัตราส่วน 3 ช้อนแกงต่อนำ้า 10 ลิตร รดแปลงให้ชุ่ม
ทิ้งไว้ 7 วัน แล้วจึงปลูกพืช
3. หลังปลูกพืชแล้วประมาณ 10 – 12 วัน ถ้าพืชไม่เจริญเติบโตเท่าทีำควรให้เติมปุ๋ยหมักชีวภาพอีก
4. ควร รดราดนำ้าหมักชีวภาพ (สูตร 1 , 2 , 3 ) ตามช่วงอายุการเจริญเติบโตของพืช สัปดาห์ละ 1 – 2 ครั้ง ใน
อัตราส่วนนำ้าหมักชีวภาพ 3 ช้อนแกงต่อนำ้า 20 ลิตร

การใช้กับไม้ผล ไม้ยนื ต้น


การเตรียมหลุมปลูก
1. ใช้ปยุ๋ หมักชีวภาพ 1 - 2 ก.ก. ผสมกับดินเดิม คลุมด้วยฟาง รด ราด ด้วยนำ้าหมักชีวภาพ 3 ช้อนแกงต่อนำ้า 10 ลิตร
ทิ้งไว้ 7 วัน จึงปลูกต้นไม้ได้

ไม้ผล ไม้ยนื ต้นที่ปลูกแล้ว


1. หลังเก็บเกีำยวผลผลิตและตัดแต่งกิำง ใส่ปุ๋ยหมักชีวภาพ 1 ก.ก. ต่อพื้นทีำ 1 ตารางเมตร บริเวณรอบทรงพุ่มแล้วคลุม
ด้วยฟางแห้งหรือหญ้าแห้ง ปีละ 2 ครั้ง
2. ราด รด ด้วยนำ้าหมักชีวภาพ เพืำอกระตุ้นการแตกยอดและใบใหม่ในอัตรานำ้าหมักชีวภาพ 3 ช้อนแกงต่อนำ้า 20 ลิตร
เดือนละ 2 ครั้ง ตามช่วงอายุการเจริญเติบโตของพืช
3. เมืำอพืชติดดอก ติดผล ควรเพิำมการให้นำ้าหมักชีวภาพ สูตร 2 , 3 เป็นเดือนละ 1 ครั้ง
หมายเหตุ นำ้าหมักชีวภาพควรใช้ในเวลาเช้าหรือเย็น ไม่ควรให้ถูกแสงแดดจัด เก็บไว้ในร่มและไม่ควรใช้ร่วมกับสาร
เคมีทุกชนิด

การใช้ในการเลีำยงสัตว์
นำำาหมักชีวภาพช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยสลายอาหาร
เมืำอสัตว์ได้รับนำ้าหมักชีวภาพ โดยใส่ให้สัตว์กินในอัตรานำ้าหมักชีวภาพ 1 ส่วน ต่อนำ้า 1,000 ส่วน (1 : 1,000) จะช่วย
เพิำมประสิทธิภาพในการย่อยอาหารทีำสัตว์กิน ทำาให้สัตว์ได้รับธาตุอาหารทีำเป็นประโยชน์มากขึ้น
สัตว์ปีก, สุกร สัตว์ปีกและสุกรเป็นสัตว์กระเพาะเดีำยว ไม่สามารถย่อยหญ้าได้ดีเท่าสัตว์เคี้ยวเอื้อง เช่น วัว ควาย แต่นำ้า
หมักชีวภาพจะช่วยให้สัตว์ปีกและสุกร สามารถย่อยหญ้าสดหรือพืชได้ดีขึ้น เป็นการประหยัดอาหารได้ถึง 30 %
สัตว์เคีำยวเอืำอง สัตว์เคี้ยวเอื้องจำาพวก วัว ควาย ปกติสามารถย่อยอาหารหลักจำาพวกหญ้าสด หญ้าแห้งได้ดีอยู่แล้ว เมืำอ
ได้รับนำ้าหมักชีวภาพ โดยใส่ในนำ้าให้กินในอัตรา 1 : 1,000 หรือพรมลงบนหญ้าก่อนให้สัตว์
กิน จะช่วยเพิำมประสิทธิภาพในการย่อยอาหารได้สูงขึ้น

นำำาหมักชีวภาพช่วยเพิ่มความต้านทานโรคให้แก่สัตว์
สัตว์ทีำได้รับนำ้าหมักชีวภาพอย่างสมำำาเสมอไม่ว่าทางนำ้าหรือทางอาหาร จะมีความต้านทานโรคต่างๆ ได้ดี โดย
เฉพาะโรคระบบทางเดินอาหาร จะช่วยลดความเครียดจากการเปลีำยนอาหารระยะต่างๆ การขนย้าย
สัตว์และการเปลีำยนแปลงของสภาพอากาศ

นำำาหมักชีวภาพช่วยลดกลิ่นเหม็นในคอกสัตว์
ในการเลี้ยงสัตว์ มูลสัตว์นับเป็นปัญหาสำาคัญต่อสภาพแวดล้อมในฟาร์มและบริเวณใกล้เคียงมาก โดยเฉพาะฟาร์ม
เลี้ยงสุกร ถ้าไม่จัดการให้ดี เพืำอเป็นการจำากัดกลิำนเหม็นให้ใช้นำ้าหมักชีวภาพผสมนำ้าในอัตรา 1 : 1,000 ให้สัตว์กินทุก
วันจะช่วยลดกลิำนเหม็นได้
คอกสัตว์โดยเฉพาะสุกรและโคนมทีำได้รับการฉีดล้างด้วยนำ้าหมักชีวภาพ ในอัตราเข้มข้น 1 : 100 - 300 เป็นประจำา
กลิำนจะไม่เหม็น และนำ้าทีำได้จากการล้างคอกก็สามารถนำาไปรดนำ้าต้นไม้ รดผัก และสามารถปล่อย
ลงแม่นำ้าลำาคลองได้ โดยไม่เป็นปัญหาต่อสิำงแวดล้อม

นำำาหมักชีวภาพช่วยลดปัญหาเรื่องแมลงวันและยุง
บริเวณคอกสัตว์ทีำได้รับการฉีดพ่นด้วยนำ้าหมักชีวภาพอย่างสมำำาเสมอ จะช่วยลดปัญหาเรืำองแมลงวัน
จนเกือบไม่มีเลย แม้แต่ยุงก็จะลดน้อยลงด้วย ถ้าใช้นำ้าหมักชีวภาพฉีดพ่นตามแหล่งนำ้าในฟาร์มอย่างสมำำาเสมอ

นำำาหมักชีวภาพในการเลีำยงสัตว์นำา
ใส่นำ้าหมักชีวภาพในบ่อปลา บ่อกุ้ง และบ่อเลี้ยงสัตว์นำ้าอืำนๆ ในอัตรา 1 : 1,000 - 1 : 10,000 หรือ 1 ลิตร ต่อนำ้าในบ่อ
1 - 10 ลูกบาศก์เมตรอย่างสมำำาเสมอ จะช่วยย่อยสลายเศษอาหารทีำตกค้างและมูลสัตว์นำ้าทีำก้นบ่อให้หมดไป ทำาให้นำ้า
ไม่เสีย ไม่ต้องถ่ายนำ้าบ่อยๆ สัตว์นำ้ามีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง ผิวสะอาดไม่มีกลิำนโคลนตม

การเลีำยงปลาด้วยปุ๋ยอินทรีย์
การใส่ปุ๋ยในบ่อปลา มีวัตถุประสงค์เพืำอเป็นการเพิำมธาตุอาหาร หรือเพิำมอาหารธรรมชาติในบ่อปลา เช่น ทำาให้เกิดนำ้า
เขียว ตัวอ่อนของแมลง ไรนำ้า ไรแดง หนอนแดง เกิดพืชเล็กๆในบ่อ ซึำงปลาทุกชนิดชอบกิน

และข้อสำาคัญเป็นการลดต้นทุนด้านอาหารปลา
อัตราการใส่ปุ๋ย
ปุ๋ยคอกแห้ง ควรใช้ในอัตรา 200 - 250 กิโลกรัม/ไร่/เดือน
ปุ๋ยคอกสด ควรใช้ในอัตรา 100 - 125 กิโลกรัม/ไร่/เดือน
ปุ๋ยพืชสด ควรใช้ในอัตรา 1,200 - 1,500 กิโลกรัม/ไร่/เดือน
ปุ๋ยหมัก ควรใช้ในอัตรา 600 - 700 กิโลกรัม/ไร่/เดือน
วิธีทำาอาหารปลาธรรมชาติ
1. ใช้ไม้หลักไม้ไผ่หรือไม้ทัำวไปปักบริเวณมุมบ่อให้เป็นรูปสีำเหลีำยมขนาดกว้าง 2 เมตร ยาว 4 เมตร แล้วให้ใช้ไม้ซีก
ขัดรอบหลัก เพืำอกันวัสดุ (ฟาง,หญ้า) ไม่ให้กระจาย
2. ใช้ฟางข้าว หรือหญ้าแห้ง จากท้องนาขนไปวางในคอกสีำเหลีำยมอัดให้แน่นประมาณ 20 - 30 เซนติเมตร แล้วนำาปุ๋ย
คอกแห้ง (ขี้ววั , ขี้ควาย, ขีไ้ ก่, ขีห้ มู) วางบนฟางหญ้าทีำอัดไว้แล้วนำาฟางข้าวหรือหญ้าแห้งทับไปอีกเป็นชั้นทีำ 2 และ 3
ทำาแบบวิธีแรกให้สูงประมาณ 1 - 1.5 เมตร
3. นำานำ้าปุ๋ยหมักชีวภาพ สาดไปบนกองปุ๋ยให้ทัำว กองละ 1 ขวด
4. ชนิดปลาทีำเลี้ยง คือ ปลากินพืช เช่น ตะเพียน นิล ไน ยีสำ ก นวลจันทร์ ฯลฯ 3,000 ตัว/ไร่
5. ผลผลิตจะได้ 600 - 800 กิโลกรัม/ไร่ (6 - 8 เดือน)
หมายเหตุ การทำาคอกฟางข้าวดังกล่าว อาจจะทำา 3 - 4 จุด รอบบริเวณบ่อปลาในเนื้อทีำ 1 ไร่ เพืำอเพิำมอาหารแบบ
ธรรมชาติในบ่อปลา

นำำาหมักชีวภาพแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิำงแวดล้อมควรเริำมต้นแก้ตั้งแต่ในครัวเรือน โดยนำาเศษอาหารมาทำานำ้าหมักชีวภาพเพืำอใช่ประโยชน์ หรือก่อน
จะนำาขยะเปียกไปทิ้ง ควรฉีดพ่นนำ้าหมักชีวภาพเสียก่อนเพืำอป้องกันกลิำนเหม็นและแมลงวันปัญหาเรืำองขยะเปียกและ
นำ้าเสียในชุมชนนำ้าหมักชีวภาพสามารถช่วยได้ โดยฉีดพ่นขยะเปียกทีำมีกลิำนเหม็นในอัตราส่วนเข็มข้น (1 : 1,000) จะ
ช่วยลดกลิำนเหม็นและแมลงวันได้แหล่งนำ้าในชนทีำเน่าเสียจนสัตว์นำ้าตาย ใส่นำ้าหมักชีวภาพและปุ๋ยหมักชีวภา
พบ่อยๆ ก็จะช่วยป้องกันและแก้ไขปัญหาทีำเกิดขึ้นได้
เป็นปลานำ้าจืดของไทยชนิดหนึ่งมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า
Carias macrocephalus พบว่ามีการแพร่กระจายทั่วไปเกือบทุกภาค ของประเทศไทย
และในประเทศใกล้เคียงเช่น มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ พม่า และ
บังกลาเทศ ฯลฯ ปลาดุกอุยเป็นปลาที่มร ี สชาติดี ประชาชนชาวไทยโดย ทั่วไป
นิยมรับประทานแต่มีราคาค่อนข้างสูงต่อมาเกษตรกรนิยมเลี้ยงปลาดุกด้าน
ปลาดุกบิ๊กอุย(สำาหรับปลาดุกบิ๊กอุยซึ่งเป็นปลาดุกลูกผสมจากพ่อปลาดุกอัฟริกัน
กับแม่ปลาดุกอุยซึ่งให้ผลผลิตและมีความต้านทานโรคสูง มีอต ั ราการเจริญ
เติบโตเร็ว) ทำาให้เกษตรกรหันมาให้ความสนใจเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยกันอย่างแพร่
หลาย ทั่วทุกภูมิภาค แต่อย่างไรก็ตามปลาดุกอุยก็นับว่ามีความสำาคัญอย่างยิ่ง
เนื่องจากเป็นที่ต้องการของเกษตรกรผู้เพาะพันธุ์ปลาโดยวิธีผสมเทียมในการ
ผลิตลูกปลา ดุกบิ๊กอุย เนื่องจากต้องใช้เป็นแม่พันธุ์ และผู้บริโภคที่พอใจใน
คุณภาพของเนื้อปลาดุกอุยที่ออ ่ นนุ่มและเหลืองน่ารับประทาน

ปลาดุกอุยเป็นปลาที่อาศัยอยูต
่ ามแม่นำ้า ลำาคลอง หนอง บึง ท้องทุ่งนา มี
อุปนิสัยการกินอาหารแบบไม่เลือก ส่วนใหญ่ในธรรมชาติมักจะกินพวก ซาก
สัตว์ทเี่ น่าเปื่อย หนอน แมลงและลูกปลาเล็กๆ เป็นอาหาร

ปลาดุกอุยเป็นปลาไม่มเี กล็ด รูปร่างเรียวยาว ด้านข้างแบน หัวแบนลง


กะโหลกท้ายทอยป้านและโค้งมน เงื่ยงที่ครีบหูมีฟันเลื่อยด้านนอกและ ด้านใน
ครีบหลัง ครีบก้น ครีบหางแยกจากกัน ปลายครีบหางกลมมน มีหนวด 4 คู่ มี
อวัยวะพิเศาช่วยในการหายใจอยู่บริเวณช่องเหงือกมีทรวดทรงคล้ายต้นไม้
เล็กๆ ลำาตัวมีสีนำ้าตาลจนดำาถึงเข้มซึ่งขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม เป็นปลาตระกูล
Clarias เช่นเดียวกันกับปลาดุกด้าน แต่ปลาดุกอุยแตกต่างจากปลาดุกด้านทีต ่ รง
บริเวณปลายกระดูกท้ายทอยมีลักษณะมนโค้ง นอกจากนี้ปลาดุกอุยเป็นปลาที่
แข็งแรงอดทนต่อการขาดออกซิเจนได้ดีเหมือนกับปลาหมอ ปลาช่อน ปลาดุก
ด้าน และปลาสลิด ฯลฯ
เมือ
่ มองจากภายนอก ด้านรูปร่างในช่วงนอกฤดู
ผสมพันธุ์จะสังเกตความแตกต่างระหว่างเพศผู้กับเพศเมียได้ยาก เพราะมีรูป
ร่างลักษณะที่เหมือนกันมากแต่ปลาชนิดนี้มล ี ักษณะของอวัยวะเพศแตกต่าง
กันระหว่างเพศผู้กับเพศเมียตรงทีส ่ ่วนล่างของปลาใกล้กับทวารโดยเมื่อจับปลา
หงาย ท้องจะเห็นอวัยวะเพศได้อย่างชัดเจนอยูต ่ รงส่วนล่างของทวาร ปลาเพศ
ผู้มีลักษณะเป็นติ่งเนื้อเรียวยาวและหลายแหลม ส่วนเพศเมียจะมีอวัยวะเป็น
ติ่งเนื้อค่อน ข้างกลมอยูท่ างตอนใต้ทวารหนักและมีขนาดสั้นกว่า สำาหรับใน
ช่วงฤดูผสมพันธุ์อาจบอกลักษณะแตกต่างกันได้ โดยดูที่บริเวณลำาตัวของปลา
ปลาดุกอุยเพศเมีย จะมีส่วนท้องป่องออกมาทั้งสองข้างเมื่อมองดูจากด้านบน
ส่วนปลาเพศผู้จะมีลำาตัวเรียวยาว ท้องไม่ป่องเหมือนปลาเพศเมีย

1. ปลาดุกอุยเป็นปลาทีม ่ ีอายุเจริญพันธุ์ค่อนข้างเร็ว ภายในระยะเวลา 6


เดือน ก็จะเจริญเติบโตเต็มวันซึ่งสามารถนำามาเพาะพันธุ์ได้ สำาหรับปลาดุก อุย
ในธรรมชาติจะเริม ่ เพาะขยายพันธุ์ได้ตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงประมาณปลาย
เดือนพฤศจิกายน รวมเป็นช่วงเวลาขยายพันธุ์ในรอบปีเป็นเวลา 8-9 เดือน
2. ปลาดุกอุยเป็นปลาทีเ่ ลือกคู่คู่ใครคูม
่ ัน เมือ
่ ปลาดุกพร้อมวางไข่แล้วจะ
จับคู่กับปลาเพศผู้เพื่อการผสมพันธุ์ การวางไข่ในธรรมชาติแม่ปลาจะ วาง ไข่
ในหลุมโพรงหรือดินใต้นำ้า ปลาจะใช้ส่วนลำาตัวและหางกวาดเศษดินเศษโคลน
ออกจากหลุมจนหมดเหลือแต่ดินแข็งๆ เพื่อที่จะให้ไข่เกาะติดได้ ไข่ปลาดุกอุย
จะมี สีนำ้าตาลอ่อน จนถึงสีนำ้าตาลเข้มเกือบดำา จำานวนไข่จะมีประมาณ 2,000-5,000
ฟอง ขึ้นอยู่กับขนาดและความสมบูรณ์ของแม่ปลา ปลาจะดูแลฟักไข่และเลีย ้ ง
ลูก ระยะหนึ่ง หากพบแหล่งวางไข่ของปลาดุกอุยซึ่งสังเกตเห็นว่าพ่อแม่ปลาจะ
ว่ายนำ้าเข้าออกบริเวณนั้นอยู่ระยะหนึ่งโดยมีพฤติกรรมเช่นเดียวกันกับปลาดุก
ด้าน ช่วง เวลาที่พบปลาชนิดนี้วางไข่ในธรรมชาติจะพบในฤดูฝน ฤดูนำ้าหลาก
หรือช่วงที่เปลี่ยนถ่ายนำ้าใหม่ในบ่อ เนื่องจากปลาดุกอุยเป็นปลาที่แข็งแรง
ทนทานกิน อาหารง่าย เจริญเติบโตเร็วและอยูร ่ วมกันได้อย่างหนาแน่น เป็น
ปลาที่ได้รับความนิยมจากผู้บริโภค จึงมีราคาแพงทำาให้มีการเพาะเลีย ้ งเป็น
อาชีพได้ดีในระดับ หนึ่ง

พ่อแม่พันธุ์ปลาส่วนใหญ่จะได้จากธรรมชาติบ่อปลาสลิดบ่อปลาที่เลี้ยง
ผสมผสาน โดยรวบรวมในช่วงฤดูแล้งปลาที่ได้ส่วนใหญ่จะมีความสมบูรณ์ ่์
ทางเพศพร้อมทีจ ่ ะนำามาเพาะพันธุ์ได้ ส่วนอีกวิธีหนึ่งคือได้พ่อแม่พันธ์จากการ
้ งขึ้นมาเอง เมื่อมีอายุได้ประมาณ 8 เดือน จะจับขึ้นมาคัดเพื่อเพาะพันธุ์
ขุนเลีย
ในรอบ 1 ปี แม่ปลาตัวหนึ่งนำามาเพาะพันธุ์ได้ประมาณ 2-3 ครั้ง อายุการใช้งาน
ของแม่ปลาแต่ละรุ่นจะใช้ได้ไม่เกิน 3 ปี
ในการเพาะฟักโดยวิธีผสมเทียมหากแม่ปลาดุกอุยไม่บอบชำ้ามากอาจนำา
มาผสมเทียมได้ 2-3 ครั้ง/ปี การเพาะพันธุ์ปลาดุกอุยในอดีตใช้ฮอร์โมน สกัด
จำาพวก Gonadotrophim hormone (H.C.G) ผสมกับต่อมใต้สมองปลาในอัตรา H.C.G. 100-150
I.U. กับต่อมใต้สมองปลาสวาย ปลาไนหรือปลา อื่นๆ อัตราส่วน 0.7-1 โดสต่อแม่
ปลาทีม ่ ีนำ้าหนักรวม 1 กิโลกรัม โดยฉีดเข้าบริเวณกล้ามเนื้อส่วนหลังของตัว
ปลาเพื่อเร่งให้แม่ปลาไข่สุกพร้อมที่จะวางไข่ซึ่งใช้ ่้เวลาประมาณ 13-16 ชัว ่ โมง
ปัจจุบันการเพาะพันธุ์ปลาดุกอุยโดยวิธีผสมเทียมใช้ฮอร์โนสังเคราะห์
เช่น Superfact (Buseralin acetate) ในอัตราส่วน 20 ไมโครกรัมผสมกับ Motilium ( Domperidone)
0.5-1 เม็ด ต่อแม่ ปลานำ้าหนัก 1 กิโลกรัม ปลาดุกอุย จะวางไข่ในระยะเวลา 13-16
ชั่วโมง เช่นเดียวกับการใช้ฮอร์โมนสกัด แต่วิธีการใช้ฮอร์โมนสังเคราะห์ง่าย
และประหยัดกว่า

ไข่ปลาที่ดีจะไหลออกจากช่องเพศของปลาเพศเมียได้ง่ายไข่แต่ละเม็ดจะ
แยกออกจากกัน ไม่ติดเป็นกระจุก ไข่ทร ี่ ีดได้จะเป็นสีนำ้าตาลจนถึงสีนำ้า ตาลเข้ม
และควรรีดไข่ออกจากแม่ปลาได้ไม่น้อยกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ จึงจะเป็นไข่ที่ดีและ
จะต้องไม่มเี ลือดหรือของเหลวชนิดอื่นเจือปน เมื่อได้ไข่ปลามากพอแล้ว (ส่วน
ใหญ่จะรีดไข่จากแม่ปลาหลายๆแม่มารวมกัน) นำาไข่ไปผสมกับนำ้าเชื้อเพศผู้ ซึ่ง
แกะเอาถุงนำ้าเชือ ้ มากจากช่องท้องของปลาเพศผู้ นำามาวางบนผ้ามุ้งเขียวแล้ว
ขยี้ในนำ้าทีเ่ ตรียมไว้คั้นเอานำ้าเชือ
้ ออกมาเทราดผสมกับไข่ คนไข่กับนำ้าเชือ ้ คลุก
เคล้ากันให้ทั่วเสร็จแล้วเติมนำ้าและล้างให้สะอาด 2-3 ครั้ง จึงนำาไข่ไปฟัก
ปล่อยพ่อแม่ปลาให้ผสมกันเองในถัง
ซีเมนต์หรือบ่อดินที่เตรียมไว้ กรณีนี้จะไม่ตอ ้ งเสียพ่อแม่พันธุ์ไม่บอบชำ้าแต่จะ
ได้ลูกปลาจำานวน น้อยไม่เหมาะกับการทำาธุรกิจเพาะพันธุ์ปลาจำาหน่าย โดย
ต้องการลูกปลาดุกอุยเสริมบ่อเลี้ยงปลาในธรรมชาติวิธีนี้จะได้ผลดีในระดับ
หนึ่ง ทั้งนี้ต้องเริ่มปล่อยปลาดุก ก่อนที่จะปล่อยปลาชนิดอื่น 10-20 วัน การเพาะ
พันธุ์วิธีดังกล่าวจะมีขอ ้ เสียหากที่คับแคบปลาจะทำาร้ายกันเองเนื่องจากการ
แย่งคู่ เพราะไข่ปลาจะติดกับพื้นภาชนะ นั้น แต่ควรจะคำานวณเวลาให้พ่อแม่
ปลาผสมกันเองในช่วงเวลากลางคืน พ่อแม่ปลาจะได้ไม่ตกใจและไม่เครียด
ไข่ปลาดุกอุยเป็นไข่ตด ิ ชนิดไม่ติดแน่นนักเมื่อหลุดจาก วัสดุทเี่ กาะแล้วจะไม่
เกาะติดอีก ทำาให้เลือกรูปแบบของการฟักได้

2
การฟักไข่ปลาดุกอุยมีลักษณะเช่นเดียวกับ
การฟักไข่ปลาครึ่งลอยครึ่งจมทั่วๆ ไป ซึ่งมีนำ้าดันให้ไข่ลอยตัวจากก้นกรวย
อย่าง สมำ่าเสมอไข่ที่ได้รับการผสมหรือไขเสียจะสามารถดูดออกทิ้งได้เป็นระ
ยะๆ โดยวิธีกาลักนำ้า การฟักไข่ปลาดุกอุยลักษณะนี้จะฟักไข่ได้อัตรารอดสูงและ
ใช้นำ้ามาก พอสมควร แต่ก็สามารถวนกลับมาใช้ใหม่ได้ ไข่ฟักออกเป็นตัวหมด
จะใช้เวลาประมาณ 24-30 ชั่วโมง ขึ้นอยู่กับอุณหภูมข ิ องนำ้านำาลูกปลาวัยอ่อนที่ได้
ไปอนุบาล ในภาชนะอื่นต่อไป ในระยะนี้ลูกปลาวัยอ่อนค่อยๆ เคลื่อนย้ายไปซุก
อยูต
่ ามมุมหนึ่งมุมใดของบ่อและรวมตัวกันเป็นกระจุก เมือ ่ ไข่แดงยุบหมดแล้ว
ลูกปลาจะเริ่ม ลอยตัวว่ายไปมาเพื่อหาอาหาร และเคลือ ่ นไหวรวดเร็วมากใน
ตอนกลางคืนซึ่งมีแสงสว่างน้อย เพราะปลาดุกอุยเป็นปลากินอาหารตอนกลาง
คืน โดยอุปนิสัยและ กินอาหารจุกว่าตอนกลางวัน
คือนำาไข่ที่ผสมแล้วไป
โรยไว้ให้เกาะติดกับอวนมุ้งไนลอนสีเขียวที่เตรียมไว้โดยโรยไข่ให้กระจาย
ติดตาข่ายอย่าง สมำ่าเสมอ เมือ่ ฟักไข่เป็นตัวแล้วให้ลดระดับนำ้าลงตำ่ากว่าอวนมุ้ง
ไนลอนประมาณ 1 เซนติเมตร จากนั้นยกอวนมุ้งไนลอนซึ่งมีไข่เสียและเปลือก
ไข่ออกจากบ่อเพื่อป้อง กันนำ้าเน่าเสีย แล้วเติมนำ้าให้เท่ากับระดับเดิม การฟักไข่
วิธีนี้ควรจะมีการระบายนำ้าอย่างสมำ่าเสมอจึงจะได้ผลดี สำาหรับเกษตรบางราย
สามารถจัดระบบการหมุนเวียน นำ้าได้ดีโดยโรยไข่ที่ผสมแล้วให้เกาะติดกับถัง
ซีเมนต์ไปเลยก็ได้ การฟักไข่วิธีหลังนี้จะต้องใช้พื้นที่บ่อมาก ข้อสังเกต หากนำ้า
ในบ่อไม่เน่าเสียลูกปลาดุกอุยที่ไข่แดง ยังไม่ยุบจะซุกตัวกันเป็นกระจุกอยูต ่ าม
มุมบ่อ แต่ถ้าหากนำ้าเน่าเสียปลาจะลอยตัวและไหลไปตามนำ้าการเพาะฟัก ใน
ปัจจุบันนิยมวิธีที่ 2

มีวิธีแตกต่างกัน โดยทั่วไปจะอนุบาลในบ่อซีเมนต์ขนาด 2x3 เมตร นำ้าลึก


ประมาณ 20-30 ซม. ความจุของบ่อขนาดดังกล่าวสามารถอนุบาล ลูก ปลาได้
ตั้งแต่ 10,000-20,000 ตัวทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการดูแลและการถ่ายนำ้า อาหารที่ให้คือไร
แดง ในระยะเริม ่ ต้นหลังจากที่ลูกปลาฟักออกเป็นตัวประมาณ 3 วัน หลัง จาก
นั้นจะทยอยให้กินอาหารสำาเร็จรูปพวกพาวเดอร์ฟีด(powder-feed)หรือไข่ตุ๋น
อนุบาลลูกปลาประมาณ 12-15 วัน ลูกปลาจะมีขนาด 2-3 ซม.สามารถ นำาไป เลีย ้ ง
เป็นปลาเนื้อ นอกจากนี้ยังมีการอนุบาลที่นิยมกันมากอีกวิธีหนึ่ง คือ การ
อนุบาลในบ่อดินทั่วๆ ไป ขนาด 400-1,600 ตารางเมตร
ในระยะแรกเติมนำ้าเข้าบ่อที่ใส่ปูนขาวและกำาจัดศัตรูปลาเรียบร้อยแล้วให้
ระดับนำ้าประมาณ 30-50 ซม. หลังจากนั้นค่อยๆ เติมนำ้าเพิ่มขึ้นในระยะ ต่อมาการ
อนุบาลแบบนี้จะอนุบาลลูกปลาได้จำานวนมากและลูกปลาเติบโตเร็ว เนื่องจาก
ในบ่อดินจะเกิดอาหารธรรมชาติมากมายหลายชนิด ส่วนอาหารใช้ ชนิด
เดียวกันกับที่อนุบาลในบ่อซีเมนต์
การให้อาหารควรเน้นให้ระยะเวลาพลบคำ่าเป็นหลัก เพราะเวลานี้
ลูกปลาจะตื่นตัวมากตามสัญญาณของสัตว์หากินกลางคืน การอนุบาลลูกปลา
ดุก วัยอ่อนปัญหาหลักคือ โรคปลา เนือ ่ งจากการเลีย
้ งอย่างหนาแน่นจะเกิดโรค
บ่อยมากจึงต้องเอาใจใส่ในเรือ ่ งความสะอาด การให้อาหารมากเกินไปเศษ
อาหารจะเหลือ มากเกิดการหมักหมด บางครั้งต้องใช้นำ้ายาเคมีและยาปฏิชีวนะ
เข้าช่วยบ้าง ทั้งนี้ตอ ้ งดูแลอย่างใกล้ชด ิ ปัญหาจะเกิดมากในช่วงฝนตกชุก
อากาศเย็นลูกปลาจะอ่อนแอ เติบโตช้า เป็นโรคง่าย ตรงกันข้ามหากอนุบาลใน
ช่วงระยะเวลาที่อากาศร้อนฝนไม่ตกติดต่อกัน ลูกปลาดุกจะกินอาหารได้มาก
และเติบโตเร็ว แตกต่างกับการเลี้ยงใน ช่วงฤดูฝนตกชุกซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่า
ปลาดุกจะกลัวฝนและชอบอากาศร้อน
ฉะนั้นการอนุบาลลูกปลาดุกอุยและการนำาลูกปลาดุกมาเลี้ยง ควรคำานึง
ถึงเรือ่ งเวลาเช่นกันในช่วงระยะเวลาที่ฝนตกชุกบางครั้งจำาเป็นต้องใช้ปูนขาว
ละลายนำ้าสาดให้ทั่วๆ บ่อควบคู่กันไปด้วย เพื่อปรับสภาพนำ้าให้ปกติซึ่งจะใช้ใน
อัตราส่วน 60 กก./ไร่ โดยทยอยแบ่งใส่ประมาณ 3 ครั้งๆ ละ 20 กก./ไร่ ติดต่อกัน
เป็นเวลา 3 วัน จะช่วยให้คุณภาพนำ้าดีขึ้นและความเป็นกรดของนำ้าลดลง การ
อนุบาลในบ่อดินนี้จะใช้เวลาประมาณ 3-4 สัปดาห์ จะได้ลุกปลามีขนาด
ความยาว 5-7 ซม. ทยอยนำาออกจำาหน่ายหรือเลี้ยงต่อไป
ในการอนุบาลลูกปลาทั้งสองวิธีขา้ งต้นอีกประการ
หนึ่งก็คือ จะต้องกำาจัดลูกปลาดุกอุยรุ่นก่อนๆ ให้หมด หากมีการใช้บ่อ อนุบาล
ลูกปลาซำ้าหรือการใช้ลูกปลาดุกอุยทีม ่ ีอายุและขนาดต่างกันมาเลีย
้ งรวมกัน
ลูกปลาจะเสียหายมากเนื่องจากการกินกันเอง ฉะนั้นตามซอกมุมรอยแตกหรือ
ที่ๆ มีนำ้า ขังเพียงเล็กน้อยในการล้างทำาความสะอาดบ่อแต่ละครั้ง โดยเฉพาะ
บ่อดินมักจะกำาจัดปลารุ่นก่อนๆ ไม่หมดปลารุ่นหลังจะถูกปลารุ่นก่อนๆ กัดกิน
เสียหายเป็น จำานวนมากและเช่นเดียวกันหากการอนุบาลใช้ระยะเวลามากกว่า
ที่กล่าว ลูกปลาตัวใหญ่จะกินลูกปลาตัวเล็ก เนื่องจากปลามีการเจริญเติบโต
แตกต่างกันทำาให้ลูกปลา เหลือน้อยมีปริมาณลดลงตามลำาดับการเลี้ยงปลาดุก
ในระยะแรกๆ ที่มีการเพาะพันธุ์ปลาดุกอุยขึ้นมาได้ใหม่ๆ และอนุบาลลูกปลาให้
มีขนาด 2-3 ซม.แล้วจึงนำาลูกปลา ไปเลี้ยงในบ่อดินอัตราการปล่อยค่อนข้างหนา
แน่น ประมาณ 10-20 ตัวต่อตารางเมตรหรือ 16,000-32,000 ตัวต่อไร่ หรืออาจ
มากกว่านี้ ความหนาแน่นที่พอ เหมาะนอกจากจะหวังผลในแง่ของผลผลิตต่อ
ไร่แล้วยัง มีผลต่อการกินอาหารของปลาในบ่อมาก เพราะลูกปลาจะเหนี่ยว
นำาพากันกินอาหาร ได้ดีซึ่งเป็นธรรมชาติของปลาทั่วๆไปอาหารที่ให้กับการ
เลีย้ งปลาดุกอุยในบ่อดินนี้เช่นเดียวกับการอนุบาลลูกปลาวัยอ่อนและจะทยอย
ปนใส้ไก่หรืออื่นๆที่ราคา ถูก และหาได้ตามท้องถิ่นให้ทีละน้อยและเพิม ่ ขึ้น
เรือ
่ ยๆในระยะ เวลาต่อมา สำาหรับการเปลีย ่ นอาหารจะต้องหัดให้ปลากินโดยใช้
ระยะเวลาพอสมควร ในกรณีที่เป็น อาหารสดจำาพวกปลาเป็ดนำามาผสมรำา
ละเอียด อัตราส่วน 9:1
 ปลาอายุ 41-60 วัน ให้อาหาร 6-8% ของนำ้าหนักปลา
 ปลาอายุ 61-80 วัน ให้อาหาร 5-6% ของนำ้าหนักปลา
 ปลาอายุ 81-120 วัน ให้อาหาร 4-5% ของนำ้าหนักปลา
สังเกตว่าอาหารที่ให้ปลา กินเหลือตกค้างในบ่อหรือไม ่่อาหารที่เหลือ
จะลอยเป็นกลุ่มๆ ตามผิวนำ้า แสดงว่าปลากินไม่หมดจะทำาให้นำ้าเน่าเสียและสิ้น
เปลืองค่าใช้จา่ ยจึง ต้องลดปริมาณอาหาร

เมือ
่ เลีย
้ งปลาไประยะหนึ่งนำ้าในบ่อจะมีคุณภาพเสื่อมลง เนื่องจากสิ่งขับ
ถ่ายออกจากตัวปลา และเศษอาหารเหลือตกค้างในบ่อจำาเป็นต้องมีการ เปลี่ยน
นำ้าโดยระบายนำ้าออกประมาณ 3/4 ของบ่อ และเติมนำ้าใหม่เข้าแทนที่ทั้งนี้การ
ถ่ายเทนำ้าอาจสังเกตว่า ถ้าปลากินอาหารน้อยลงจากปกติหรือมีอาหารเหลือ
ลอย อยู่ในบ่อมากก็แสดงว่าถึงเวลาที่ต้องถ่ายเทนำ้า หรือนำ้าในบ่อมีกลิ่นเหม็น
มากสีของนำ้าเปลี่ยนเป็นสีขาวขุ่นคล้ายนำ้านมต้องรีบเปลี่ยนนำ้าทันที หากไม่อาจ
ถ่ายเทนำ้าได้ใน ช่วงนั้นควรใช้เกลือแกงอัตรา 3-4 กิโลกรัมต่อนำ้า 1 ลูกบาศก์เมตร
สาดให้ทั่วบ่อ หลังจากนั้น 3-4 วัน จึงเปลี่ยนนำ้าใหม่
การถ่ายเทนำ้าในบ่อจะไม่บ่อยครั้งเมื่อปลามีขนาดเล็กควรใช้วิธีการเพิ่ม
นำ้าทดแทน ปลาที่เติบโตขึ้นการถ่ายเทนำ้าแต่ละเดือนก็จะมากขึ้นตามไป ด้วย
และถ้าปริมาณนำ้าฝนไหลลงบ่อมากๆ ควรระบายนำ้าออกจากบ่อประมาณ 3/4
ของบ่อ แล้วเติมนำ้าใหม่ให้ได้ปริมาณเท่าเดิม ต่อจากนั้นใช้เกลือแกงในอัตรา
150 กิโลกรัมต่อไร่สาดให้ทั่วบ่อ
หลังจากปล่อยปลาลงเลี้ยงและใช้ฟอร์มาลีน
สาดกระจายทั่วบ่อความเข้มข้น 25-40 ส่วนล้าน สองสัปดาห์ทำาซำ้าอีกครั้งเพื่อ
กำาจัดพวกปลิงใสทีเ่ กาะอยูต ่ ามเหงือกและครีบ ครั้งที่ 3 จะห่างจากครั้งที่ 2
ประมาณ 1 เดือน

ปลาดุกที่เลีย้ งจะเริม ่ ทยอยจับได้ตั้งแต่ปลาอายุ 8-10 เดือน ซึ่งจะมีขนาด


6-10 ตัว/กก. แต่ยังมีขนาดเล็กไม่ตรงกับความต้องการของตลาด สีสัน ภายนอก
จะดูดีสู้ปลาจากธรรมชาติไม่ได้ แต่เมือ ่ นำามาบริโภครสชาติจะไม่ต่างกัน เนื้อ
ปลาเมื่อสุกแล้วจะดูนิ่มและเหลืองน่ารับประทาน
การเลีย ้ งปลาดุกอุยชนิดเดียวกันนี้จะเลีย ้ งกันอย่างแพร่หลายอยู่ระยะ
หนึ่งแล้วหายไป ต่อมามีการนำาปลาดุกอุยไปปล่อยเลี้ยง รวมกับปลานิล ปลา
สวาย ปลาช่อน แต่จะปล่อยปลาดุกอุยตัวโต โดยไม่ได้ปล่อยปลาดุกอุยลงเลี้ยง
เป็นปลาหลักเพียงแต่ปล่อยลงไปสมทบใน ปริมาณไม่มากนักก็จะได้ปลาขนาด
ใหญ่สส ี ันดีขึ้นไม่แตกต่างจากปลาธรรมชาติและจำาหน่ายได้ราคาดี เกษตรกร
บางรายนำาปลาดุกอุยไปปล่อย ร่วมกับในนาปลาสลิดโดยหวังผลข้างต้น ซึ่งได้
ปลาดีเช่นเดียวกัน
ทั้งนี้ในปัจจุบันผู้เลีย
้ งปลาดุกทั่วประเทศมักนิยมเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุย ซึ่ง
เป็นปลาที่ได้จากการผสมข้ามพันธุ์ระหว่างปลาดุก รัสเซียหรือปลาดุกอัฟริกัน
เพศผู้กับปลาดุกอุยเพศเมียปลาดุกลูกผสมที่ได้จะเติบโตเร็ว มีความต้านทาน
โรคสูง รูปร่างสีสันดีและเนื้อมีรสชาติใกล้เคียงกับปลาดุกอุย การเลีย ้ งปลาชนิด
นี้ปัจจุบัน ประสบผลสำาเร็จยึดเป็นอาชีพหลักได้ทำาให้การเลี้ยงแพร่กระจาย
ทั่วไป โดยเฉพาะในเขตพื้นที่ที่หาอาหารปลาได้งา่ ยราคาถูกและฝนไม่ตกชุก
มากนัก จนกระทั่ง ปัจจุบัน ปลาดุกบิ๊กอุยได้เข้ามาแทนที่การเลี้ยงปลาดุกด้าน
อย่างสิ้นเชิง และไม่พบผู้เลี้ยงปลาดุกด้านเป็นการค้าซึ่งในอดีตมีอยู่มากมายได้
หายไปหมดสิ้นจากประเทศ ไทยในขณะนี้
โรคทีเ่ กิดจากขึ้นกับปลาดุกอาจเกิดจากการขาดสารอาหารเช่น วิตามิน
โรคทีเ่ กิดจากพยาธิประเภทปลิงใส เชื้อรา และโรคทีเ่ กิดจากบักเตรีแอโรโม
นาส

การป้องกันไม่ให้เกิดโรคเป็นสิ่งทีด
่ ีโดยให้ความสนใจเกี่ยวกับคุณสมบัติ
ของนำ้า ความเป็นกรดเป็นด่างและเตรียมสารเคมี อาทิ ปูนขาว เกลือแกง เพื่อ
ปรับสภาพนำ้า

ต้นทุนการเลี้ยงปลาแบ่งอกได้เป็น 2 ประเภท คือ


1. ได้แก่ ค่าทีด
่ ิน ค่าเช่า สิ่งก่อสร้าง ค่าแรงงาน
ประจำา อุปกรณ์ราคาแพงและค่าเสือ ่ มราคาทรัพย์สิน ต้นทุนส่วนนี้จะคงที่ไม่ว่า
ผล ผลิตจะเพิ่มขึ้นหรือลดลง ดังนั้นถ้าได้ผลผลิตมากต้นทุนคงที่ตอ ่ กิโลกรัมก็
จะลดน้อยลง ในทางตรงกันข้ามถ้าผลผลิตตำ่าต้นทุนคงทีต ่ ่อกิโลกรัมจะเพิ่มขึ้น
ซึ่ง เกษตรกรส่วนใหญ่มักลืมนึกถึงต้นทุนส่วนนี้
2. ได้แก่ ค่าพันธุ์ปลา ค่าอาหาร สารเคมี ยา
นำ้ามันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น กระแสไฟฟ้า ค่าซ่อมแซมอุปกรณ์ต่างๆ ค่าแรงงาน
ชั่ว คราวและภาชนะอุปกรณ์ที่เสื่อมสภาพ ต้นทุนผันแปรนี้เป็นต้นทุนส่วน
ใหญ่ในการเลี้ยงปลาแต่ละรุ่น โดยพบว่าต้นทุนค่าอาหารจะสูงถึง 70-85% ของ
ต้นทุน ทั้งหมด

การตลาด เป็นปัญหาใหญ่ที่มอี ิทธิพลต่อการเลี้ยงปลามากทีส ่ ุด ตลาดปลา


ดุกนั้นเป็นในลักษณะทีม่ ีคนกลางเป็นผู้ตระเวนจับปลาโดยตรงจากบ่อ เลีย ้ ง
แล้วนำาไปส่งพ่อค้าขายปลีกตามทีต
่ ่างๆ ตลาดใหญ่จะอยู่ทจ ี่ ังหวัดอ่างทอง
อำาเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา กรุงเทพฯ ภาคอีสาน ภาคเหนือ ผู้จับปลา
มี บทบาทค่อนข้างสูงในการกำาหนดราคาปลาร่วมกับความต้องการของตลาด
ราคาปลาดุกเปลี่ยนแปลงค่อนข้างรวดเร็ว ขึ้นกับปริมาณผลผลิตที่ออกสู่ตลาด
และฤดู กาล โดยทั่วไปพบว่าช่วงเดือนกุมภาพันธ์ -เดือนเมษายน ราคาปลาดุก
มักจะราคาถูกเนื่องจากมีปลาธรรมชาติออกสู่ตลาดมาก การเพิ่มปริมาณและ
มูลค่าก็คือการ ขยายตลาดต่างประเทศ การถนอมและแปรรูปในลักษณะผลิต
ภัณฑ์ใหม่ๆ ซึ่งเป็นการกระจายผลผลิตอีกทางหนึ่ง

ขัำนตอนการเลีำยง
อัตราปล่อยปลาดุกลูกผสม (บิ๊กอุย) ลูกปลาขนาด 2-3 ซม. ควรปล่อยในอัตราประมาณ 40 - 100 ตัว/
ตรม. ซึำงขึน้ อยู่กับกรรมวิธี ีในการเลี้ยง คือ ชนิดของอาการขนาดของบ่อและระบบการเปลีำยนถ่ายนำ้าซึำงปกติทัำวๆไป
อัตราปล่อยเลี้ยงประมาณ 50 ตัว/ตรม. และเพืำอป้องกันโรคซึำงอาจ จะติดมากับลูกปลา ใช้นำ้ายาฟอร์มาลินใส่ในบ่อ
เลี้ยง อัตราความเข้มข้นประมาณ 30 ส่วนในล้าน (3 ลิตร/นำ้า 100 ตัน) ในวันทีำปล่อยลูกปลาไม่จำาเป็นต้องให้ อาหาร
ควรเริำมให้อาหารในวันรุ่งขึ้น
การให้อาหาร เมืำอปล่อยลูกปลาดุกผสมลงในบ่อดินแล้ว อาหารทีำให้ในช่วงทีำลูกปลาดุกมีขนาดเล็ก (2-
3 ซม.) ควรให้อาหารผสมคลุก นำ้าปัน้ เป็นก้อนให้ลูกปลากิน โดยให้กินวันละ 2 ครั้ง หว่านให้กินทัำวบ่อโดยเฉพาะใน
บริเวณขอบบ่อ เมืำอลูกปลามีขนาดโตขึ้นความยาวประมาณ 5-7 ซม. สามารถฝึกให้กินอาหารเม็ดได้ หลังจากนั้นเมืำอ
ปลาโตขึ้นจนมีความยาว 15 ซม.ขึ้นไป จะให้อาหารเม็ดเพียงอย่างเดียวหรืออาหารเสริมชนิดต่าง ๆ ได้ เช่น ปลาเป็ด
ผสมรำาละเอียดอัตรา 9 : 1 หรือให้อาหารทีำลดต้นทุน เช่น อาหารผสมบดจากส่วนผสมต่างๆเช่น กระดูกไก่ ไส้ไก่
เศษขนมปัง เศษเส้นหมีำ เศษเลือด หมู เลือดไก่ เศษเกี้ยว หรือเศษอาหารว่างๆเท่าทีำสามารถหาได้นำามาบดรวมกินแล้ว
ผสมให้ปลากินแต่การให้อาหารประเภทนี้จะต้องระวัง เรืำองคุณภาพของ นำ้าในบ่อเลี้ยงให้ดี เมืำอเลี้ยงปลาได้ประมาณ
3-4 เดือนปลาจะมีขนาดประมาณ 200-400 กรัม/ตัว ซึำงผลผลิตทีำได้จะประมาณ 10 - 14 ตัน/ไร่ อัตรารอด ตาย
ประมาณ 40- 70 %

การถ่ายเทนำำา เมืำอตอนเริำมเลี้ยงใหม่ๆระดับความลึกของนำ้าในบ่อควรมีค่าประมาณ 30 - 40 ซม. เมืำอ


ลูกปลาเจริญเติบโตขึ้นในเดือน แรกจึงเพิำมระดับนำ้าสูงเป็นประมาณ 50 -60 ซม. หลังจากย่างเข้าเดือนทีำสองควรเพิำม
ระดับนำ้าให้สูงขึ้น 10 ชม./อาทิตย์ จนระดับนำ้าในบ่อมีความลึก 1.20 - 1.50 เมตร การถ่ายเทนำ้าควรเริำมตั้งแต่การเลี้ยง
ผ่านไปประมาณ 1 เดือน โดยถ่ายนำ้าประมาณ 20 % ของนำ้าในบ่อ 3 วัน/ครั้ง หรือถ้านำ้าในบ่ เริำมเสียจะ ต้องถ่ายนำ้า
มากกว่าปกติ
การป้องกันโรค การเกิดโรคของปลาดุกทีำเลี้ยงมักจะเกิดจากปัญหาคุณภาพของนำ้าในบ่อเลี้ยงไม่ดี ซึำง
อาจเกิดจากสาเหตุของการให้ อาหารมากเกินไปจนอาหารเหลือเน่าเสีย เราสามารถป้องกันไม่ให้เกิดโรคได้โดยต้อง
หมัำนสังเกตว่าเมือปลาหยุดกินอาหารจะต้องหยุดให้อาหารทันที เพราะ ปลาดุกลูกผสมมีนิสัยชอบกินอาหารทีำให้
ใหม่ โดยถึงแม้จะกินอิำมแล้วถ้าให้อาหารใหม่อีกก็จะคายหรือสำารอกอาหารเก่าทิ้งแล้วกินอาหารให้ใหม่อีกซึำง
ปริมาณ อาหาร ทีำให้ไม่ควรเกิน 4 - 5 % ของนำ้าหนักตัวปลา

1. ควรเตรียมบ่อและนำ้าตามวิธีการที่เหมาะสมก่อนปล่อยลูกปลา
2. ชือ
้ พันธุ์ปลาจากแหล่งที่เชือ
่ ถือได้ว่าแข็งแรงและปราศจากโรค
3. หมั่นตรวจดูอาการของปลาอย่างสมำ่าเสมอถ้าเห็นอาการผิดปกติต้อง
รีบหาสาเหตุและแก้ไขโดยเร็ว
4. หลังจากปล่อยปลาลงเลี้ยงแล้ว 3-4 วันควรสาดนำ้ายาฟอร์มาลิน 2-3
ลิตร/ปริมาตร นำ้า 100 ตัน และหากปลาที่เลีย ้ งเกิดโรคพยาธิภาย นอกให้แก้ไข
โดยสาดนำ้ายาฟอร์มาลินในอัตรา 4 - 5 ลิตร/ปริมาตรนำ้า 100 ตัน
5. เปลีย่ นถ่ายนำ้าจากระดับก้นบ่ออย่างสมำ่าเสมอ
6. อย่าให้อาหารจนเหลือ
ในกรณีทม ี่ ีการป้องกันอย่างดีแล้วแต่ปลาก็ยังป่วยเป็นโรค ซึ่งมักจะ
แสดงอาการให้เห็น โดยแบ่งอาการของโรคเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้
1. การติดเชื้อจากแบคทีเรีย จะมีการตกเลือด มีแผลตามลำาตัวและครีบ
ครีบกร่อน ตาขุ่น หนวดหงิก กกหูบวม ท้องบวมมีนำ้าในช่องท้อง กินอาหาร
น้อยลงหรือไม่กินอาหาร ลอยตัว
2. อาการจากปรสิตเข้าเกาะตัวปลา จะมีเมือกมาก มีแผลตามลำาตัว ตก
เลือด ครีบเปื่อย จุดสีขาวตามลำาตัว สีตามลำาตัวซีดหรือเข้มผิดปกติ เหงือกซีด
ว่ายนำ้าทุรนทุราย ควงสว่านหรือไม่ตรงทิศทาง
3. อาการจากอาหารมีคุณภาพไม่เหมาะสม คือ ขาดวิตามินบีกะโหลก
ร้าว บริเวณใต้คางจะมีการตกเลือด ตัวคด กินอาหารน้อยลงถ้าขาด วิตามินบี
ปลาจะว่ายนำ้าตัวเกรงและชักกระตุก
4. อาการจากคุณภาพนำ้าในบ่อไม่ดี ปลาจะว่ายนำ้าขึ้นลงเร็วกว่าปกติ
ลอยหัวครีบกร่อนเปื่อย หนวดหงิก เหงือกซีดและบวม ลำาตัวซีดไม่กิน อาหาร
ท้องบวม มีแผลตามตัว
ในการรักษาโรคปลาควรจะได้พิจารณาให้รอบคอบก่อน
การตัดสินใจเลือกใช้ยาหรือสารเคมี สาเหตุของโรค ระยะรักษา ค่าใช้จ่าย ใน
การรักษา

่์

กำาจัดแบคทีเรียบาง 0.1-0.5%่่ แช่ตลอด 0.5-1.0 % แช่


ชนิดเชื้อราและปรสิต ภายใต้ การดูแลอย่างใกล้ชิด
เกลือ
บางชนิดลด
ความเครียดของปลา
ฆ่าเชือ้ ก่อนปล่อยปลา 60-100 กิโลกรัม/ไร่ ละลายนำ้า
ปูนขาว ปรับ PH ของดินและ แล้วสาดให้ ทั่วบ่อ
นำ้า
ฆ่าเชือ ้ อุปกรณ์ต่าง ๆ 10 พีพีเอ็ม แช่ 30 นาที แล้วล้าง
คลอรีน ที่ใช้กับบ่อเลีย ้ งปลา ด้วยนำ้า สะอาดก่อนใช้
ดิพเทอร์เร็กซ์ กำาจัดปลิงใส เห็บปลา 0.25-0.5 พีพีเอ็ม แช่ตลอด
หนอนสมอ
กำาจัดปรสิตภายนอก 25-50 พีพีเอ็มแช่ตลอด ระหว่าง
ฟอร์มาลีน ทั่วไป การใช้ควร ระวังการขาด
ออกซิเจนในนำ้า
กำาจัดแบคทีเรีย ผสมกับอาหารในอัตรา 3-5
กรัม/อาหาร 1 กิโลกรัม ให้กิน
ออกซีเตตร้า นาน 7-10 วันติดต่อกัน แช่ใน
ซัยคลิน
อัตรา 10-20 กรัมต่อนำ้า 1 ตัน
นาน 5-7 วัน
กำาจัดแบคทีเรีย ผสมกับอาหารอัตรา 1 กรัม
คลอแรมฟินิ อาหาร 1 กิโลกรัม หนึ่งสัปดาห์
คอล บางครั้งก็ใช้ไม่ได้ผลเนื่องจาก
เชื้อ แบคทีเรียดื้อยา
(Tilapia nilotica ) เป็นปลานำ้าจืดชนิดหนึ่งซึ่งมีคณุ ค่าทาง
เศรษฐกิจนับตั้งแต่ปี 2508 เป็นต้นมา สามารถเลีย ้ งได้ในทุกสภาพ การเพาะเลี้ยง
ระยะเวลา 1 ปี มีอต ั ราการเติบโต ถึงขนาด 500 กรัม รสชาติดม ี ีผู้นิยมบริโภคกัน
อย่างกว้างขวาง ส่วนขนาดปลานิลที่ตลาดต้องการจะมีนำ้าหนัก ตัวละ 200-300
กรัม จากคุณสมบัตข ิ องปลานิลซึ่งเลีย ้ งง่าย เจริญเติบโตเร็ว แต่ปัจจุบัน ปลานิล
พันธุ์แท้ค่อนข้างจะหายาก กรมประมงจึงได้ ดำาเนินการปรับ ปรุงพันธุ์ปลา ให้
ได้ปลานิลทีม่ ีลักษณะสายพันธุ์ดี อาทิ การเจริญเติบโต ปริมาณความดกของไข่
ผลผลิตและ ความต้านทานโรค เป็นต้น ดังนั้น ผู้เลีย ้ งปลานิล จะได้มีความ
มั่นใจในการเลี้ยงปลานิล เพื่อเพิ่มผลผลิตสัตว์นำ้าให้เพียงพอต่อการบริโภคต่อ
ไป

ปลานิล เป็นปลานำ้าจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในตระกูลชิคลิดี (Cichlidae) มีถิ่นกำาเนิด


เดิมอยู่ในทวีปแอฟริกา พบทั่วไปตามหนอง บึง และทะเล สาบ ใน
ประเทศซูดาน ยูกันดา แทนแกนยีกา โดยที่ปลาชนิดนี้เจริญเติบโตเร็วและเลี้ยง
ง่าย เหมาะสมทีจ ่ ะนำามาเพาะเลีย
้ งในบ่อได้เป็นอย่างดีจึงได้รับความ นิยมและ
เลีย
้ งกันอย่างแพร่หลายในภาคพื้นเอเซีย แม้แต่ในสหรัฐอเมริกาก็นิยมเลี้ยง
ปลาชนิดนี้ รูปร่างลักษณะของปลานิลคล้ายกับปลาหมอเทศ แต่ลักษณะ พิเศษ
ของปลานิลมีดังนี้คือ ริมฝีปากบนและล่างเสมอกัน ที่บริเวณแก้มมีเกล็ด 4 แถว
ตามลำาตัวมีลายพาดขวางจำานวน 9-10 แถบ นอกจากนี้ลักษณะทั่วไปมี ดังนี้ ครีบ
หลังมีเพียง 1 ครีบ ประกอบด้วยก้านครีบแข็งและก้านครีบอ่อนเป็นจำานวนมาก
ครีบก้นประกอบด้วยก้านครีบแข็งและอ่อน เช่นกันมีเกล็ดตามแนว เส้นข้างตัว
33 เกล็ด ลำาตัวมีสีเขียวปนนำ้าตาล ตรงกลางเกล็ดมีสีเข้ม ที่กระดูกแก้มมีมีจุดสี
เข้มอยูจ่ ุดหนึ่ง บริเวณส่วนอ่อนของครีบหลัง ครีบก้นและครีบหาง นั้นจะมีจุดสี
ขาวและสีดำาตัดขวางแลดูคล้ายลายข้าวตอกอยู่โดยทั่วไป
ในประเทศไทยพบปลานิลสีเหลืองขาว-ส้มซึ่งเป็นการกลายพันธุ์จากปลา
นิลสีปกติหรือเป็นการผสมข้ามพันธุ์ระหว่างปลานิลกับปลาหมอเทศ ซึ่ง
นอกจากสีภายนอกที่แตกต่างจากปลานิลธรรมดาแล้วภายในตัวปลาที่ผนังช่อง
ท้องยังเป็นสีขาวเงินคล้ายผนังช่องท้องของปลากินเนื้อ และสีของเนื้อปลา เป็น
สีขาวชมพูคล้ายปลากะพงแดงซึ่งเป็นที่นิยมรับประทานในต่างประเทศ มีชื่อ
เรียกเป็นที่รู้จักกันว่า “ปลานิลแดง”
ปลานิล มีนิสย ่ วมกันเป็นฝูง (ยกเว้นเวลาสืบพันธุ์)มีความอดทน
ั ชอบอยูร
และปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี จากการศึกษาพบว่าปลานิล ทนต่อความ
เค็มได้ถึง 20 ส่วนในพัน ทนต่อค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ได้ดีในช่วง 6.5-8.3 และ
สามารถทนต่ออุณหภูมิได้ถึง 40 องศาเซลเซียส แต่ใน อุณหภูมิทต ี่ ำ่ากว่า 10 องศา
เซลเซียส พบว่าปลานิลปรับตัวและเจริญเติบโตได้ไม่ดีนัก ทั้งนี้เป็นเพราะถิ่น
กำาเนิดเดิมของปลาชนิดนี้ อยู่ในเขตร้อน

ลักษณะ ตามปกติแล้วรูปร่างภายนอกของปลานิล ตัวผู้และตัวเมีย จะมี


ลักษณะคล้ายคลึงกันมาก แต่จะสังเกตลักษณะเพศได้ก็โดยการดู อวัยวะเพศที่
บริเวณใกล้กับช่องทวาร โดยตัวผู้จะมีอวัยวะเพศในลักษณะเรียวราวยื่นออก
มา แต่สำาหรับตัวเมียมีลักษณะเป็นรูค่อนข้างใหญ่และกลมขนาดปลา ที่จะดูเพศ
ได้ชัดเจนนั้นต้องเป็นปลาที่มข ี นาดยาวตั้งแต่ 10 เซนติเมตรขึ้นไป สำาหรับปลาที่
มีขนาดโตเต็มที่นั้น เราจะสังเกตเพศได้อีกวิธีหนึ่งด้วย การดูสีที่ ลำาตัว ซึ่งปลา
ตัวผู้ที่ใต้คางและลำาตัวจะมีสเี ข้มต่างกับตัวเมีย ยิ่งเมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์สีจะยิ่ง
เข้มขึ้น
การผสมพันธุ์และวางไข่ ปลานิลสามารถผสมพันธุ์ได้ตลอดปี โดยใช้เวลา
2-3 เดือน/ครั้ง แต่ถ้าอาหารเพียงพอและเหมาะสมใน ระยะเวลา 1 ปี จะผสมพันธุ์
ได้ 5-6 ครั้ง ขนาดอายุและช่วงการสืบพันธุ์ของปลาแต่ละตัวจะแตกต่างกันไป
ตามสภาพแวดล้อม และสภาพทางสรีรวิทยาของ ปลาเอง การวิวัฒนาการของ
รังไข่และถุงนำ้าเชื้อของปลานิล พบว่าปลานิลจะมีไข่และนำ้าเชือ ้ เมือ
่ มี
ความยาว 6.5 ซม.
โดยปกติปลานิลที่ยังโตไม่ได้ขนาดผสมพันธุ์ ุ่่์หรือสภาพแวดล้อมไม่
เหมาะสม เพื่อการวางไข่ ปลาจะรวมกันอยู่เป็นฝูง แต่ภายหลังที่ปลามี ขนาดที่
จะสืบพันธุ์ได้ ปลาตัวผู้จะแยกออกจากฝูงแล้วเริม ่ สร้าง รังโดยเลือกเอาบริเวณ
เชิงลาดหรือก้นบ่อที่มีระดับนำ้าลึกระหว่าง 0.5-1 เมตร วิธีการสร้างรัง นั้นปลาจะ
ปักหัวลงโดยที่ตัวของมันอยู่ในระดับตั้งฉากกับพื้น ดินแล้วใช้ปากพร้อมกับการ
เคลือ่ นไหวของลำาตัวที่เขี่ยดินตะกอนออก จากนั้นจะอมดินตะกอน งับเศษ
สิ่งของต่าง ๆ ออกไปทิ้งนอกรังทำาเช่นนี้จนกว่าจะได้รัง ทีม ่ ีลักษณะค่อนข้าง
กลม เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 20-35 ซม. ลึกประมาณ 3-6 ซม. ความ กว้างและ
ลึกของรังไข่ขึ้นอยู่กับขนาดของพ่อปลา หลังจากสร้าง รังเสร็จเรียบร้อยแล้ว
มันพยายามจะไล่ปลาตัวอื่น ๆ ให้ออกไปนอกรัศมีของรังไข่ประมาณ 2-3 เมตร
ขณะเดียวกันพ่อปลาที่สร้างรังจะแผ่ครีบหลังและอ้า ปากกว้าง ในขณะทีม ่ ีปลา
ตัวเมียว่ายนำ้าเข้ามาใกล้ ๆ รัง และเมือ่ เลือกตัวเมียได้ถูกใจแล้วก็จะ แสดง
อาการจับคู่โดยว่ายนำ้าเคล้าคู่กันไป โดยใช้หางดีดและกัดกัน เบา ๆ การเคล้า
เคลียดังกล่าวใช้เวลาไม่นานนัก ปลาตัวผู้ก็จะใช้บริเวณหน้าผากดุน ทีใ่ ต้ ท้อง
ของตัวเมียเพื่อเป็นการกระตุ้นเร่งเร้าให้ตัวเมียวางไข่ ซึ่งตัวเมียจะวางไข่ครั้ง
ละ 10-15 ฟอง ปริมาณไข่ที่วางรวมกันแต่ละครั้งมีประมาณ 50-600 ฟอง ทั้งนี้ขึ้น
อยู่กับขนาดของแม่ปลาเมือ ่ ปลาวางไข่แต่ละครั้งปลาตัวผู้จะว่ายนำ้าไปเหนือไข่
พร้อมกับปล่อยนำ้าเชื้อลงไป ทำาเช่นนี้จนกว่าการผสมพันธุ์แล้วเสร็จ โดยใช้เวลา
1-2 ชั่วโมง ปลาตัวเมียเก็บไข่ที่ได้รับการผสมแล้วอมไว้ในปากและว่ายออกจาก
รัง ส่วนปลาตัวผู้ก็จะคอยหาโอกาส เคล้าเคลียกับปลาตัวเมียอื่น ต่อไป
การฟักไข่ ไข่ปลาที่อมไว้ด้วยปลาตัวเมียจะวิวัฒนาการขึ้นตามลำาดับโดย
แม่ปลาจะขยับปากให้นำ้าไหลเข้าออกในช่องปากอยู่เสมอ เพื่อ ช่วยให้ไข่ที่อมไว้
ได้รับนำ้าที่สะอาด ทั้งยังเป็นการป้องกันศัตรูที่จะมากินไข่ ระยะเวลาที่ปลาตัว
เมียใช้ฟักไข่แตกต่างกันตามอุณหภูมข ิ องนำ้า โดยในนำ้าที่มี อุณหภูมิ 27 องศา
เซลเซียส ไข่จะวิวัฒนาการเป็นลูกปลาวัยอ่อนภายใน 8 วัน ซึ่งในระยะเวลาดัง
กล่าวนี้ถุงอาหารยังไม่ยุบ และจะยุบเมือ ่ ลูกปลามีอายุครบ 13-14 วัน นับจากวันที่
แม่ปลาวางไข่ ในช่วงระยะเวลาทีล ่ ูกปลาฟักออกเป็นตัวใหม่ ๆ ลูกปลานิลวัย
อ่อนจะเกาะรวมตัวกันเป็นกลุ่ม โดยว่ายวนเวียนอยู่บริเวณ หัวของแม่ปลา
และเข้าไปหลบซ่อนอยู่ในช่องปากเมื่อมีภัยหรือถูกรบกวนโดยปลานิลด้วย
กันเอง เมื่อถุงอาหารยุบลง ลูกปลานิลจะเริ่มกินอาหารจำาพวกพืชและ ไรนำ้า
ขนาดเล็กได้ และหลังจาก 3 สัปดาห์ไปแล้ว ลูกปลาก็จะกระจายแตกฝูงไปหากิน
เลีย
้ งตัวเองได้โดยลำาพัง

การเพาะพันธุ์ปลานิลให้ได้ผลดีและมีประสิทธิภาพ ต้องได้รับการเอาใจ
ใส่และมีการปฏิบัติในด้านต่างๆ เช่น การเตรียมบ่อการเลีย
้ งพ่อแม่ ่่พันธุ์ การ
ตรวจสอบลูกปลา และการอนุบาลลูกปลา สำาหรับการเพาะปลานิลอาจทำาได้ทั้ง
ในบ่อดินและบ่อปูนซีเมนต์ และ กระชังไนล่อนตาถี่ ดังวิธีการต่อไปนี้

บ่อเพาะปลานิลควรเป็นบ่อรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีเนื้อที่ตั้งแต่
50-1600 ตารางเมตร สามารถเก็บกักนำ้าได้ระดับสูง 1 เมตร บ่อควรมี เชิงลาดตาม
ความเหมาะสม เพื่อป้องกันดินพังทลาย และมีชานบ่อกว้าง 1-2 เมตร ถ้าเป็นบ่อ
เก่าก็ควรวิดนำ้าและสาดเลนขึ้น ตกแต่งภายในบ่อให้ดินแน่น ใส่ โล่ติ๊นกำาจัด
ศัตรูของปลาอัตราส่วนใช้โล่ติ๊นแห้ง 1 กก./ปริมาตรของนำ้า 100 ลูกบาศก์เมตร
โรยปูนขาวให้ทั่วบ่อ 1 กก./พื้นที่บ่อ 10 ตรม. ใส่ปุ๋ยคอกแห้ง 300 กก./ไร่ ตากบ่อทิ้ง
ไว้ประมาณ 2-3 วัน จึงเปิดหรือสูบนำ้าเข้าบ่อผ่านผ้ากรองหรือตะแกรงตาถี่ให้มี
ระดับสูงประมาณ 1 เมตร การใช้บ่อดินเพาะปลานิล จะมีประสิทธิภาพดีกว่าวิธี
อื่น เพราะเป็นบ่อที่มลี ักษณะคล้ายคลึงตามธรรมชาติ และการผลิตลูกปลานิล
จากบ่อดินจะได้ผลผลิตสูง ต้นทุนตำ่ากว่าวิธีอื่น
ก็สามารถใช้ผลิตลูกปลานิลได้ รูปร่างของบ่อ
จะเป็นสี่เหลีย่ มผืนผ้า หรือรูปกลมก็ได้ มีความลึกประมาณ 1 เมตรพื้นที่ผิวนำ้า
ตั้งแต่ 10 ตารางเมตร ขึ้นทำาความสะอาดบ่อและเติมนำ้าที่กรองด้วยผ้าไนล่อน
หรือมุ้งลวดตาถี่ ให้มีระดับนำ้าสูงประมาณ 80 ซม. ถ้าใช้เครื่องเป่าลมช่วยเพิ่ม
ออกซิเจนในนำ้า จะทำาให้การเพาะปลานิลด้วยวิธีนี้ได้ผลมากขึ้น อนึ่ง การเพาะ
ปลานิลด้วยบ่อซีเมนต์ ถ้าจะให้ได้ลูกปลามากก็ต้องใช้บ่อขนาดใหญ่ ซึ่งต้องเสีย
ค่าใช้จ่ายในการลงทุนสูง
ขนาดของกระชังที่ใช้ประมาณ ๕ x ๘ x
๒ เมตร วางกระชังในบ่อดินหรือในหนองบึง อ่างเก็บนำ้า ให้พื้นกระชังอยู่ ตำ่า
กว่าระดับนำ้า ประมาณ 1 เมตร ใช้หลักไม้ 4 หลัก ผูกตรงมุม 4 มุม ยึดปากและพื้น
กระชังให้แน่น เพื่อให้กระชังขึงตึง การเพาะปลานิลด้วยวิธีนี้มีความ เหมาะสม
ที่จะใช้ผลิตลูกปลาในกรณีซึ่งเกษตรกรไม่มีพื้นที่ดินก็สามารถจะเลี้ยงปลาได้
เช่น เลี้ยงในอ่างเก็บนำ้าหนองบึงและลำานำ้าต่าง ๆ เป็นต้น

การคัดเลือกพ่อแม่ปลานิล จากการสังเกตจากลักษณะภายนอกของปลาที่
สมบูรณ์ปราศจากเชือ ้ โรคและบาดแผล สำาหรับพ่อแม่ปลาที่พร้อม จะวางไข่นั้น
สังเกตได้จากอวัยวะเพศถ้าเป็นปลาตัวเมียและมีสช ี มพูแดงเรือ
่ ส่วนปลาตัวผู้ก็
สังเกตได้จากสีของตัวปลาที่เข้มสดโดยเปรียบเทียบกับปลานิลตัว ผูอ้ ื่น ๆ ทีจ
่ ับ
ขึ้นมา ขนาดของปลาตัวผู้และตัวเมียควรมีขนาดไล่เลี่ยกันคือมีความยาวตั้งแต่
15-25 เซนติเมตร นำ้าหนักตั้งแต่ 150-200 กรัม

ปริมาณพ่อแม่ปลาที่จะนำาไปปล่อยในบ่อเพาะ 1 ตัว/4 ตารางเมตร หรือไร่


ละจำานวน 400 ตัว ควรปล่อยในอัตราส่วนพ่อปลา 2 ตัว/แม่ปลา 3 ตัว เนื่องจากได้
สังเกตจากพฤติกรรมในการผสมพันธุ์ของปลาชนิดนี้ ปลาตัวผู้มีสมรรถภาพที่
จะผสมพันธุ์กับปลาตัวเมียอื่น ๆ ได้อีก ดังนั้นการเพิ่มอัตรา ส่วนของปลาตัว
เมียให้มากขึ้นคาดว่าจะได้ลูกปลานิลเพิ่มขึ้นส่วนการเพาะปลานิลในกระชังใช้
อัตราส่วนของปลา 6 ตัว/ตารางเมตรโดยใช้ตัวผู้ 1 ตัว/ตัวเมีย 3-5 ตัว การเพาะ
ปลานิลแต่ละรุ่นจะใช้เวลาประมาณ 2 เดือน จึงเปลี่ยนพ่อแม่ปลารุ่นใหม่ต่อไป

การเลี้ยงปลานิลมีความจำาเป็นที่จะต้องให้อาหารสมทบ หรืออาหารผสม
ได้แก่ ปลายข้าว สาหร่าย รำาละเอียด ในอัตราส่วน 1:2:3 โดยให้ อาหารดังกล่าว
แก่พ่อแม่ปลานิลประมาณ ๒% ของนำ้าหนักตัว ทั้งนี้เพื่อให้ปลานิลใช้เป็น
พลังงาน ซึ่งต้องใช้มากกว่าในช่วงการผสมพันธุ์ส่วนปุ๋ยคอกแห้งก็ ต้องใส่ใน
อัตราส่วนประมาณ 100-200 กก./ไร่/เดือน ทั้งนีเ้ พื่อเพิ่มพูนอาหารธรรมชาติในบ่อ
ได้แก่ พืชนำ้าขนาดเล็กๆ ไร่นำ้าและตัวอ่อน อันจะเป็นประโยชน์ ต่อลูกปลานิลวัย
อ่อนที่หลังจากถุงอาหารยุบตัวลง และจะต้องดำารงชีวิตอยู่ในบ่อเพาะดังกล่าว
ประมาณ 1 สัปดาห์ ก่อนที่จะย้ายไปเลี้ยงในบ่ออนุบาล ถ้าในบ่อ ขาดอาหาร
ธรรมชาติดังกล่าวผลผลิตลูกปลานิลจะได้น้อย เพราะขาดอาหารทีจ ่ ำาเป็นเบื้อง
ต้นหลังจากถุงอาหารได้ยุบตัวลงใหม่ ๆ ก่อนทีล ่ ูกปลานิลจะสามารถ กินอาหาร
สมทบอื่น ๆ ได้ อาหารสมทบที่หาได้งา่ ยคือ รำาข้าว ซึ่งควรปรับปรุงคุณภาพให้ดี
ยิ่งขึ้นโดยใช้ปลาป่น กากถั่ว และวิตามินเป็นส่วนผสม นอกจากนี้ แหนเป็ดและ
สาหร่ายหลายชนิดก็สามารถจะใช้เป็นอาหารเสริมแก่พ่อแม่ปลานิลได้เป็นอย่าง
ดี ในกรณีที่ใช้กระชังไนล่อนตาถี่เพาะพันธุ์ปลานิลก็ควรให้ อาหาร สมทบแก่
พ่อแม่ปลาอย่างเดียว

บ่อดินควรมีขนาดประมาณ 200 ตรม. ถ้าเป็นบ่อรูปสี่เหลีย ่ ม


ผืนผ้าจะสะดวกในการจับย้ายลูกปลา นำ้าในบ่อควรมีระดับความลึก ประมาณ 1
เมตร บ่ออนุบาลปลานิลควรเตรียมไว้ให้มจ ี ำานวนมากพอ เพื่อให้เลีย ้ งลูกปลา
ขนาดเดียวกันที่ย้ายมาจากบ่อเพาะ การเตรียมบ่ออนุบาลควรจัดการ ล่วงหน้า
ประมาณ 1 สัปดาห์ ก่อนที่นำาลูกปลูกมาเลี้ยง การเตรียมบ่ออนุบาลนั้นปฏิบัติวิธี
เดียวกันกับการเตรียมบ่อที่ใช้เพาะปลานิล บ่อขนาดดังกล่าวนี้จะใช้ อนุบาล
ลูกปลานิลขนาด 1-2 ซม. ได้ครั้งละประมาณ 50,000 ตัว การอนุบาลลูกปลานิล
นอกจากใช้ปุ๋ยเพาะอาหารธรรมชาติแล้ว จำาเป็นต้องใช้อาหารสมทบ เช่น รำา
ละเอียด กากถั่ว อีกวันละ 2 ครั้ง พร้อมทั้งสังเกตความอุดมสมบูรณ์ของอาหาร
ธรรมชาติ จากสีของนำ้าซึ่งมีสีออ ่ น หรือจะใช้ถุงลากแพลงก์ตอนตรวจ ดู
ปริมาณของไรนำ้าก็ได้ ถ้ามีปริมาณน้อยก็ควรเติมปุ๋ยคอกลงเสริมในช่วง ระยะ
เวลา 5-6 สัปดาห์ ลูกปลาจะโตมีขนาด 3-5 ซม. ซึ่งเป็นขนาดที่เหมาะสมจะ นำาไป
เลีย้ งเป็นปลาขนาดใหญ่นาข้าวใช้เป็นบ่ออนุบาล
นาข้าวที่ได้เสริมคัน
ดินให้แน่นเพื่อเก็บกักนำ้าให้มีระดับสูงประมาณ 50 ซม.โดยใช้ดินที่ขุดขึ้นโดย
รอบคัน นา ไปเสริมซึ่งจะมีคูขนาดเล็กโดยรอบพร้อมมีบ่อขนาดเล็กประมาณ
2x5 เมตร ลึก 1 เมตร ในด้านคันนาทีล ่ าดเอียงตำ่าสุดเป็นที่รวบรวมลูกปลาขณะ
จับ พื้น ที่นา ดังกล่าวก็สามารถจะเป็นนาอนุบาลลูกปลานิลได้หลังจากปักดำา
ข้าว 10 วัน หรือภายหลัง ทีเ่ ก็บเกี่ยวข้าวแล้วส่วนการให้อาหาร และปุ๋ยก็ปฏิบัติ
เช่นเดียว กับบ่อ อนุบาล การป้องกันศัตรูของปลานิลในนาข้าวควรใช้อวนไน
ล่อนตาถี่สูงประมาณ ๑ เมตร ทำาเป็นรั้วล้อมรอบเพื่อป้องกันศัตรูของปลา
จำาพวก กบ งู เป็นต้น
บ่ออนุบาลลูกปลานิลและบ่อเพาะปลานิลจะใช้ขนาด
เดียวกันก็ได้ ซึ่งจะสามารถใช้บ่ออนุบาลลูกปลาวัยอ่อนได้ตารางเมตรละ
ประมาณ 300 ตัว ในเวลา 4-6 สัปดาห์ โดยใช้เครื่องเป่าลมช่วย และเปลี่ยนถ่ายนำ้า
ประมาณ ครึ่งบ่อ สัปดาห์ละครั้ง ให้อาหารสมทบวันละ 3 เวลา เมื่อลูก ปลาที่
เลีย ้ งโตขึ้นมีขนาด ๓-๕ ซม.
ขนาด 3x3x2 เมตร ซึ่งสามารถจะใช้
อนุบาลลูกปลาวัยอ่อนได้จำานวนครั้งละ 3,000-5000 ตัว โดยให้ไข่แดงต้ม บด ให้
ละเอียด วันละ 3-4 ครั้ง หลังจากถุงอาหารของลูกปลายุบตัวลงใหม่ ๆ เป็นเวลา
ประมาณ 1 สัปดาห์ หลังจากนั้นจึงให้รำาละเอียด 3 ส่วน ผสมกับปลา ป่นบดให้
ละเอียดอัตรา 1 ส่วนติดต่อกันเป็นระยะเวลาประมาณ 4-5 สัปดาห์ ลูกปลาจะโต
ขึ้นมีขนาด 3-5 ซม. ซึ่งสามารถนำาไปเลี้ยงให้เป็นปลาขนาดใหญ่ หรือจำาหน่าย
การอนุบาลลูกปลานิลอาจจะใช้บ่อเพาะพันธุ์อนุบาลเลยก็ได้ เพือ ่ เป็นการ
ประหยัด โดยซ้อนเอาพ่อแม่พันธุ์ออกไปเลีย ้ งไว้ต่างหาก
ปลานิล เป็นปลาที่ประชาชนนิยมเลี้ยงกันมากชนิดหนึ่ง ทั้งในรูปแบบการ
ค้าและเลี้ยงไว้บริโภคในครัวเรือน ทัง้ นี้เนื่องจากปลานิลเป็นปลา ที่เลีย ้ งง่าย
กินอาหารได้แทบทุกชนิด เนือ ้ มีรสชาติดีตลาดมีความต้องการสูง ส่วนในเรื่อง
ราคาทีจ ่ ำาหน่ายนั้นค่อนข้างตำ่า เมื่อเปรียบเทียบกับปลาชนิดอื่น ๆ เช่น ปลา
ตะเพียนขาว ปลาสวาย ฯลฯ ดังนั้น การเลีย ้ งปลาชนิดนี้เพื่อผลิตจำาหน่าย จึงมี
ความจำาเป็นที่ จะต้องพิจารณาในด้านอาหารปลาที่จะนำามาใช้เลี้ยงเป็น หลัก
กล่าวคือ ต้องเป็นอาหารที่หาได้ง่าย ราคาตำ่าเพื่อลดต้นทุนการผลิตให้ มากที่สุด
นอกจากนั้นการเลี้ยงปลาชนิดนี้ มีความจำาเป็นในด้านการจัดการฟาร์มที่
เหมาะสมเพราะปลานิลเป็นปลาทีอ ่ อกลูกดกถ้าปลาในบ่อมีความหนาแน่นมาก
ก็จะไม่เจริญเติบโต ดังนั้นการเลี้ยงทีจ ่ ะให้ได้ผลดีเป็นที่พอใจก็จำาเป็นต้อง
ปฏิบัติ ให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ ตามประเภทของการเลี้ยงและขั้นตอนต่อไป
นี้
บ่อทีเ่ ลี้ยงปลานิลควรเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าเพื่อสะดวกใน
การจับเนื้อที่ตั้งแต่ 200 ตารางเมตรขึ้นไป ใช้เศษอาหารเลี้ยงจาก โรง ครัว ปุ๋ย
คอก อาหารสมทบอื่น ๆ ที่หาได้ง่าย เช่น แทนเป็ด สาหร่าย เศษพืชผักต่าง ๆ
ปริมาณปลาที่ผลิตได้ก็เพียงพอสำาหรับบริโภคในครอบครัว ส่วน การ เลีย ้ งปลา
นิลเพื่อการค้าควรใช้บ่อขนาดใหญ่ตั้งแต่ 0.5-3.0 ไร่ ควรจะมีหลายบ่อเพื่อทยอย
จับปลาเป็นรายวัน รายสัปดาห์ และรายเดือนเพื่อให้ได้เงินสด มาใช้จา่ ยเป็น
เงินทุนหมุนเวียนสำาหรับค่าอาหารปลา เงินเดือนคนงาน ค่าใช้จา่ ยอื่น ๆ
ปัจจุบันการเลีย ้ งปลานิลในบ่อดินแบ่งได้4 ประเภท ตามลักษณะของ การเลีย ้ ง
ดังนี้
โดยปล่อยลูกปลาขนาด
เท่ากันลงเลีย ้ งพร้อมกันใช้เวลาเลีย ้ ง 6-12 เดือน แล้ววิดจับหมดทั้งบ่อ

โดยใช้อวนจับปลาขนาดใหญ่คัดเฉพาะขนาดปลาทีต
่ ลาดต้องการจำาหน่าย
ปล่อย ให้ปลา ขนาดเล็กเจริญเติบโต

เช่น ปลาสวาย ปลาตะเพียน ปลาจีน ฯลฯ เพื่อใช้ประโยชน์จากอาหาร หรือเลี้ยง


ร่วมกับปลากิน เนื้อเพื่อกำาจัดลูกปลาที่ไม่ต้องการ ขณะเดียวกันจะได้ปลากิน
เนื้อเป็นผลพลอยได้ เช่น การเลี้ยงปลานิลร่วมกับปลากราย และการเลี้ยงปลา
นิลร่วมกับปลาช่อน
โดยวิธีแยกเพศปลา
หรือเปลี่ยนเพศ ปลาเป็นเพศเดียวกัน เพื่อป้องกันการแพร่พันธุ์ในบ่อ ส่วนมาก
นิยม เลี้ยงเฉพาะปลาเพศผู้ ซึ่งมีการเจริญเติบโตเร็วกว่าเพศเมีย การขุดบ่อ
เลีย
้ งปลาในปัจจุบันนิยมใช้เครือ ่ งจักรกล เช่น รถแทรกเตอร์ รถตักขุดดิน
เพราะเสียค่า ใช้จา่ ยตำ่ากว่าใช้แรงจากคนขุดเป็นอัน มาก นอกจากนี้ยังปฏิบัติ
งานได้รวดเร็วตลอดจนการสร้างคันดินก็สามารถอัดให้แน่น ป้องกันการรั่วซึม
ของนำ้าได้เป็น อย่างดี ความลึกของบ่อประมาณ 1 เมตร มีเชิงลาดประมาณ 45
องศา เพือ ่ ป้องกันการพังทลายของดิน และมีชายบ่อกว้างประมาณ 1-2 เมตร
ตามขนาด ความกว้างยาว ของบ่อที่เหมาะสม ถ้าบ่ออยู่ใกล้แหล่งนำ้า เช่น คู
คลอง แม่นำ้า หรือในเขตชลประทาน ควรสร้างท่อระบายนำ้าทิ้งที่พื้นบ่ออีกด้าน
หนึ่ง โดยจัด ระบบนำ้าเข้าออกคนละทาง เป็นการลดค่าใช้จ่ายในการสูบนำ้า แต่
ถ้าบ่อนั้นไม่สามารถจะทำาท่อชักนำ้าและระบายนำ้าได ่้จำาเป็นต้องใช้เครื่องสูบ
นำ้า

1. เช่น กก
หญ้า ผักตบชวาให้หมด โดยนำามากองสุมไว้แห้งแล้วนำามาใช้เป็นปุ๋ยหมักใน
ขณะที่ปล่อย ปลาลงเลี้ยง ถ้าในบ่อเก่ามีเลนมากจำาเป็นต้องสาดเลนขึ้นโดยนำา
ไปเสริมคันดินที่ชำารุด หรือใช้เป็นปุ๋ยแก่พืช ผัก ผลไม้ บริเวณใกล้เคียงพร้อมทั้ง
ตกแต่งเชิง ลาดและคันดินให้แน่นด้วย
2. ได้แก่ ปลาจำาพวกกินเนื้อ
เช่น ปลาช่อน ปลาชะโด ปลาหมอ ปลาดุก นอกจากนี้กม ็ ีสัตว์จำาพวก กบ เขียด งู
เป็นต้น ดังนั้น ก่อนทีจ ่ ะปล่อยปลานิลลงเลี้ยงจึงจำาเป็นต้อง กำาจัดศัตรูดังกล่าว
เสียก่อนโดยวิธีระบายนำ้าออกให้เหลือน้อยทีส ่ ุด การกำาจัดศัตรูของปลาอาจใช้
โล่ติ๊นสดหรือแห้งประมาณ 1 กิโลกรัม ปริมาณของนำ้าในบ่อ 100 ลูกบาศก์เมตร
คือทุบหรือบดโล่ติ๊นให้ละเอียด นำาลงแช่นำ้าประมาณ 1-2 ปี๊บ ขยำาโล่ติ๊นเพื่อ ให้
นำ้าสีขาวออกมาหลาย ๆ ครั้งจนหมดนำาไปสาดให้ทั่วบ่อศัตรูพวกปลาจะลอยหัว
ขึ้นมาภายหลังโล่ติ๊น ประมาณ 30 นาที ใช้สวิงจับขึ้นมาใช้บริโภคได้ที่ เหลือ ตาย
พื้นบ่อจะลอยในวันรุ่งขึ้น ส่วนศัตรูจำาพวกกบเขียดงู จะหนีออกจากบ่อไป และ
ก่อนปล่อยปลาลงเลี้ยงควรจะทิ้งระยะไว้ประมาณ 7 วัน เพื่อให้ฤทธิ์ ของโล่ติ๊น
สลายตัวไปหมดเสียก่อน
3. โดยปกติแล้วอุปนิสัยในการกินอาหารของปลา
นิลจะกินอาหารจำาพวกแพลงก์ตอนพืชและสัตว์ เศษวัสดุเน่าเปื่อยตามพื้นบ่อ
แหน สาหร่าย ฯลฯ ดังนั้น ในบ่อเลีย ้ งปลาควรให้อาหารธรรมชาติดังกล่าวเกิด
ขึ้นอยูเ่ สมอ จึงจำาเป็นต้องใส่ปุ๋ยลงไปเพื่อละลายเป็นธาตุอาหาร ซึ่งพืชนำ้าขนาด
เล็กจำาเป็นใช้ในการปรุงอาหารและเจริญเติบโตโดยกระบวนการสังเคราะห์
แสง ซึ่งเป็นโซ่อาหาร อันดับต่อไป คือ แพลงก์ตอนสัตว์ ได้แก่ ไรนำ้า และตัว
อ่อน ของแมลง ปุ๋ยที่ใช้ได้แก่มูลวัว ควาย หมู เป็ด ไก่ นอกจากปุ๋ยที่ได้จากมูล
สัตว์แล้วก็อาจใช้ปุ๋ยหมักจำาพวกหญ้าและฟางข้าวปุ๋ยพืชสดต่าง ๆ ได้เช่น
เดียวกัน
ควรใส่
ประมาณ 250-300 กก./ไร่/เดือน ส่วนในระยะหลังควรลดลงเพียงครึ่งหนึ่งหรือ
สังเกตจาก สีของนำ้าในบ่อ ถ้ายังมีสีเขียวอ่อนแสดงว่ามีอาหาร ธรรมชาติเพียง
พอ ถ้านำ้าใสปราศจากอาหาร ธรรมชาติกเ็ พิ่มอัตราส่วนให้มากขึ้น และในกรณี
ที่หาปุ๋ยคอก ไม่ได้ก็อาจใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ สูตร 15:15:15 ใส่ประมาณ 5 กก./ไร่/
เดือน ก็ได้ วิธีใส่ปุ๋ย ถ้าเป็นปุ๋ยคอกควรตากบ่อให้แห้งเสียก่อน เพราะปุ๋ยสดจะ
ทำาให้นำ้า มีแก๊สจำาพวกแอมโมเนียละลายอยู่ในนำ้ามาก เป็นอันตรายต่อปลา การ
ใส่ปุ๋ยคอกใช้วิธีหว่านลงไปในบ่อให้ละลายนำ้าทั่ว ๆ บ่อ ส่วนปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยสด
นั้น ควร กองสุมไว้ตามมุมบ่อ 2-3 แห่ง โดยมีไม้ปักล้อมเป็นคอกรอบกองปุ๋ยเพื่อ
ป้องกันมิให้ส่วนที่ยังไม่สลายตัวกระจัดกระจาย
4. ในบ่อดินขึ้นอยู่กับคุณภาพนำ้า
อาหาร และการจัดการเป็นสำาคัญโดยทั่วไปจะปล่อยลูกปลาขนาด 3-5 ซม. ลง
้ ง ในอัตรา 1-3 ตัว/ตารางเมตร หรือ 2,000-5000 ตัว/ไร่
เลีย
5. การใส่ปุ๋ยเป็นการให้อาหารแก่ปลานิลที่
สำาคัญมากวิธีหนึ่งเพราะจะได้อาหารธรรมชาติที่มีโปรตีนสูงและราคาถูกแต่
เพื่อ เป็นการเร่งให้ปลาทีเ่ ลี้ยงเจริญเติบโตเร็วขึ้นหรือถูกต้องตามหลักวิชาการ
จึงควรให้อาหารจำาพวกคาร์โบไฮเดรทเป็นอาหารสมบทด้วย เช่น รำา ปลายข้าว
กากมะพร้าว มันสำาปะหลัง หั่นต้มให้สุกและเศษเหลือของอาหารทีม ่ ีโปรตีนสูง
เช่น กากถั่วเหลืองจากโรงทำาเต้าหู้กากถั่วลิสง อาหารผสมซึ่งมีปลาป่น รำาข้าว
ปลายข้าวมีจำานวนโปรตีนประมาณ 20% เศษอาหารที่เหลือจากโรงครัวหรือ
ภัตตาคาร อาหารประเภทพืชผักเช่นแหนเป็ด สาหร่าย ผักตบชวาสับให้ละเอียด
เป็นต้น อาหารสมทบเหล่านี้ควรเลือกชนิดที่มีราคาถูกและหาได้สะดวก ส่วน
ปริมาณที่ให้ก็ไม่ควรเกิน 4% ของนำ้าหนักปลาที่เลีย ้ ง หรือจะใช้วิธีสังเกตจาก
ปลาทีข ่ ึ้นมากินอาหารจากจุดที่ให้เป็นประจำา คือ ถ้ายังมีปลานิลออกันอยู่มาก
เพื่อรอกินอาหารก็เพิ่มจำานวนอาหารมากขึ้นตามลำาดับทุก 1-2 สัปดาห์ ในการให้
อาหารสมทบมีขอ ้ พึงควรระวัง คือ ถ้าปลากินไม่หมด อาหารจมพื้นบ่อ หรือ
ละลายนำ้ามากก็จะทำาให้เกิดความเสียหายขึ้นหลายประการ เช่น เสียค่าใช้จ่าย
ไป โดยเปล่าประโยชน์ ทำาให้นำ้าเน่าเสียเป็นอันตรายต่อปลาที่เลีย ้ ง และหรือ
ต้องเพิ่มค่าใช้จ่ายในการสูบถ่าย เปลี่ยนนำ้าบ่อย ๆ เป็นต้น

วัตถุประสงค์เพื่อใช้มูลสัตว์เป็นอาหารและปุ๋ยในบ่อเป็นการใช้ประโยชน์
แบบผสมผสานระหว่างการเลีย ้ งปลากับการเลี้ยงสัตว์อื่น ๆ โดยเศษ อาหารที่
เหลือจากการย่อยหรือตกหล่นจากที่ให้อาหารจะ เป็นอาหารของปลาโดยตรง
ในขณะทีม ่ ูลของสัตว์จะเป็นปุ๋ยและ ให้แร่ธาตุสารอาหารแก่พืชนำ้าซึ่ง เป็น
อาหารของปลา เป็นการลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและแก้ปัญหามลภาวะได้วิธีการ
เลีย้ งสัตว์ร่วมกับปลาอาจใช้วิธีสร้างคอกสัตว์บนบ่อปลาเพื่อให้มูลไหลลงบ่อ
ปลาโดยตรง หรือสร้างคอกสัตว์ไว้บนคันบ่อ แล้วนำามูลสัตว์มาใส่ลงบ่อในอัตรา
ที่เหมาะสม ในประเทศไทยนิยมเลีย ้ งสุกร จำานวน 10 ตัว หรือเป็ด ไก่ไข่ จำานวน
200 ตัว ต่อบ่อปลาพื้นที่นำ้า 1 ไร่

การเลี้ยงปลานิลโดยใช้แหล่งนำ้าธรรมชาติทั้งบริเวณนำ้ากร่อยและนำ้าจืด
ุ ภาพนำ้าดีพอกระชังส่วนใหญ่ที่ใช้กัน โดยทั่วไป จะมีขนาด กว้าง 20 เมตร
ที่มีคณ
ยาว 25 เมตร ลึก 5 เมตร สามารถจะนำามาใช้ติดตั้ง 2 รูปแบบคือ
2.1 สร้างโดยใช้
ไม้ไผ่ทั้งลำาปักลงในแหล่งนำ้าควรมีไม้ไผ่ผูกเป็นแนวนอนหรือเสมอผิว นำ้าที่
ระดับ ประมาณ 1-2 เมตร เพื่อยึดลำาไผ่ที่ปักลงในดินให้แน่นกระชังตอนบนและ
ล่างควรร้อยเชือกคร่าวเพื่อใช้ยึดตัวกระชังให้ขึงตึง โดยเฉพาะตรงมุม 4 มุมของ
กระชังทั้งด้านล่างและด้านบน การวางกระชังก็ควรวางให้เป็นกลุ่ม โดยเว้น
ระยะห่างกัน ให้นำ้าไหลผ่านได้สะดวก อวนที่ใช้ทำากระชังเป็นอวนไนล่อนช่อง
ตา แตกต่างกันตามขนาดของปลานิลทีจ ่ ะเลี้ยง คือขนาดช่องตา 1/4 นิ้ว 8/8 นิ้ว
ขนาด 1/2 นิ้ว และอวนตาถีส ่ ำาหรับเพาะและเลี้ยงลูกปลาวัยอ่อน
2.2 ลักษณะของกระชังก็เหมือนกับกระชัง
โดยทั่วไป แต่ไม่ใช่เสาปักยึดติดอยู่กับที่ ส่วนบนของกระชังผูกติดทุ่น ลอย ซึ่งใช้
ไม้ไผ่หรือแท่งโฟม มุมทั้ง 4 ด้านล่างใช้แท่งปูนซีเมนต์หรือก้อนหินผูกกับเชือก
คร่าวถ่วงให้กระชังจม ถ้าเลี้ยงปลาหลายกระชังก็ใช้เชือกผูกโยงติดกัน ไว้เป็นก
ลุ่ม
ปลา
นิลที่เลี้ยงในกระชังในแหล่งนำ้าทีม ่ ีคุณภาพนำ้าดีสามารถปล่อยปลาได้หนาแน่น
คือ 40-100 ตัว/ ตรม. โดยให้อาหารสมทบที่เหมาะสม เช่น ปลายข้าวหรือมัน
สำาปะหลัง รำาข้าว ปลาป่น และพืชผักต่างๆ โดยมีอัตราส่วนของโปรตีนประมาณ
20% สำาหรับ วิธท ี ำาอาหารผสมดังกล่าว คือ ต้มเฉพาะปลายข้าว หรือมัน
สำาปะหลังให้สุกแล้วนำามาคลุกเคล้ากับรำา ปลาป่น และพืชผักต่างๆ แล้วปั้นเป็น
ก้อน เพื่อมิให้ละลาย นำ้าได้ง่ายก่อนที่ปลาจะกิน

ปลานิล เป็นปลาทีม ่ ีการเจริญเติบโตเร็ว เมื่อได้รับการเลีย


้ งดูอย่างถูกต้อง
จะมีขนาดเฉลี่ย 500 กรัม ในเวลา 1 ปี ผลผลิตไม่น้อยหว่า 500 กก./ไร่/ปี ในกรณีที่
เลีย
้ งในกระชังที่คุณภาพนำ้าดีมีอาหารสมทบอย่างสมบูรณ์ สามารถให้ผลผลิต
ไม่น้อยกว่า 5 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร

( .) ( )
ุ ( )
3 10 30
6 20 200
9 25 350
12 30 500

ระยะเวลาการจับจำาหน่าย ไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับขนาดของปลานิลและ
ความต้องการของตลาด โดยทั่วไปเป็นปลานิลที่ปล่อยลงเลีย ้ งในบ่อรุ่น
เดียวกัน ก็จะใช้เวลา 1 ปี จึงจะจับจำาหน่ายเพราะปลานิลที่ได้มีนำ้าหนัก
ประมาณ 2-3 ตัวต่อกิโลกรัม ซึ่งเป็นปลาที่ตลาดต้องการส่วนปลานิลที่ปล่อยลง
เลีย
้ ง หลายรุ่นในบ่อเดียวกัน ระยะเวลาการจับจำาหน่ายก็ขึ้นอยู่กับราคาปลา
และความต้องการของผู้ซื้อ การจับปลานิลทำาได้ 2 วิธี ดังนี้
1. จะใช้อวนตาห่างจับปลา
เพราะจะได้ปลาที่มข ี นาดใหญ่ตามที่ต้องการ การตีอวนจับปลากระทำาโดยผู้จับ
จำาหน่ายและยืนเรียงแถวหน้ากระดานโดยมีระยะห่างกันประมาณ 4.5 เมตร
โดยอยู่ทางด้านหนึ่งของบ่อแล้วแล้วลากอวนไปยังอีกด้านหนึ่งของบ่อตาม
ความยาวแล้วยกอวนข้น หลังจากนั้นก็นำาสวิงตักปลาใส่เข่งเพื่อชั่งขาย ทำาเช่น
นี้เรื่อยไปจนได้ปริมาณตามที่ตอ ้ งการ ส่วนปลาเล็กก็คงปล่อยเลี้ยงในบ่อต่อไป
การลากอวนแต่ละครั้งจะมีปลาเบญจพรรณเป็นผลพลอยได้เสมอ เช่น ปลาดุก
ปลาหลด ปลาตะเพียน ปลาช่อน เป็นต้น การคัดขนาดของปลากระทำาได้ 2 วิธี
ถ้านำาปลาไปจำาหน่ายที่องค์การสะพานปลา องค์การสะพานปลาก็จะจัดการคัด
ขนาดให้ แต่ถ้าเกษตรกรผูเ้ ลี้ยงปลาจำาหน่ายปลาที่ปากบ่อ ก็จำาเป็นต้องทำาการ
คัดขนาดปลากันเอง
2. ก่อนทำาการจับปลาจะต้องสูบ
นำ้าออกจากบ่อให้เหลือน้อยแล้วจึงตีอวนจับปลา เช่นเดียวกับวิธีแรก จน
กระทั่ง ปลาเหลือจำานวนน้อยจึงสูบนำ้าออกจากบ่ออีกครั้งหนึ่งและขณะ
เดียวกันก็ตีนำ้าไล่ปลาให้ไปรวมกันอยู่ในร่องบ่อร่องบ่อนี้จะเป็นส่วนที่ลึกอยู่
ด้านหนึ่งของบ่อเมื่อ นำ้าในบ่อแห้ง ปลาก็จะมารวมกันอยู่ที่ร่องบ่อ และ
เกษตรกรผู้เลีย ้ งปลาก็จับปลาขึ้นจำาหน่ายต่อไป การจับปลาลักษณะนี้ส่วนใหญ่
จะทำาทุกปีในฤดูแล้งเพื่อตาก บ่อให้แห้งและเริ่มต้นเลี้ยงปลาในฤดูการผลิตต่อ
ไป
ตลาดของปลานิลส่วนใหญ่ยังใช้บริโภคภายในประเทศ อย่างไรก็ตามมี
โรงงานห้องเย็นเริม ่ รับซื้อปลานิล ปลานิลแดง เพื่อแปรรูปส่งออก จำาหน่ายต่าง
ประเทศเช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา อิตาลี ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย เป็นต้น โดย
โรงงานจะรับซื้อปลาขนาด 400 กรัม ขึน ้ ไป เพื่อแช่แข็งส่งออกทั้ง ตัว และรับซื้อ
ปลาขนาด 100-400 กรัม เพื่อแล่เฉพาะเนื้อแช่แข็งหรือนำาไปแปรรูปเพื่อส่งออกต่อ
ไป

ท่อนำ้าล้น

You might also like