You are on page 1of 2

การละเมิดสิ ทธิมนุษยชน

ปัญหาการละเมิดสิ ทธิมนุษยชน  
  แม้จะมีการประกาศสิ ทธิ มนุษยชนขององค์การสหประชาชาติมากว่า
ครึ่ งศตวรรษแล้ว    แต่กย็ งั มีการละเมิดสิ ทธิ มนุษยชนอยูเ่ สมอในหลาย
ภูมิภาคของโลก เช่น ในยูโกสลาเวีย กัมพูชา พม่า จีนรวมถึงประเทศไทย
ด้วยมีการละเมิดสิ ทธิ มนุษยชนในลักษณะที่รุนแรง  เช่น  เหตุการณ์วนั
มหาวิปโยค 14  ตุลาคม  2516
เหตุการณ์  6  ตุลาคม 2519  พฤษภาทมิฬ 2535   การปราบปรามที่มสั ยิด
กรื อเซะและการสลายการชุมนุมที่ตากใบ  พ.ศ. 2547 การฆ่าตัดตอนผูค้ า้ ยา
เสพติด เป็ นต้น      
    องค์การสหประชาชาติถือว่ามีหน้าที่โดยตรงในการแก้ปัญหานี้ โดยใน
บางครั้งก็อาจจะใช้มาตรการที่เข้มข้นขึ้น  เช่น  การปิ ดล้อมทางเศรษฐกิจ
(Sanction)   ดังเช่นที่เคยทำกับประเทศสหภาพแอฟริ กาใต้ระหว่าง
ค.ศ.1980 – 1987 ในกรณี ที่แอฟริ กาใต้ใช้นโยบายแบ่งแยกผิว (Apartheid)  กดขี่คนผิวดำและ
องค์การสหประชาชาติยงั ได้จดั ตั้งหน่วยงานขึ้นมาช่วยเหลือผูถ้ ูกละเมิดสิ ทธิ มนุษยชนทั้งเป็ นหน่วย
งานประจำ เช่น UNHCR และองค์กรมูลนิธิเอกชนอีกหลายหน่วยงานนอกจากบทบาทขององค์การ
สหประชาชาติ ยังมีหน่วยงานอื่น เช่น องค์การสนธิ สญ ั ญาแอตแลนติกเหนือ (NATO)  ที่เข้าไปแทรก
แซงในอดีตประเทศยูโกสลาเวีย ยังมีปัญหาทางด้านสังคมของโลกอีกหลายปั ญหา  เช่น   ปั ญหาความ
ยากจน  ปัญหาโรคภัย ไข้เจ็บ ปัญหาพลังงาน  แต่ปัญหาดังกล่าวยังไม่ถึงขั้นรุ นแรงที่จะเป็ นภัยต่อสังคมโลก

การละเมิดสิ ทธิมนุษยชน

แม้วา่ จะได้มีการให้สตั ยาบันตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิ ทธิ มนุษยชน เพื่อที่จะปกป้ องคุม้ ครองพลเมืองใน


แต่ละประเทศให้ได้รับสิ ทธิข้ นั พื้นฐานเช่นเดียวกันก็ตาม ก็ยงั คงมีการละเมิดสิ ทธิ มนุษยชนในประเทศต่างๆ
ปรากฏอยูต่ ลอดเวลา เช่น หลายประเทศยอมให้มีการตรวจสอบ ว่าได้มีการละเมิดสิ ทธิ มนุษยชนขึ้นใน
ประเทศของตน เช่น อิสราเอลที่ยดึ ครองดินแดนปาเลสไตน์ สาธารณรัฐประชาชนจีน และอีกหลายประเทศ
จากการสำรวจเมื่อปี 1994 องค์กรเอกชนที่มีชื่อว่า Amnesty International (องค์การอภัยโทษนานาชาติ) พบ
ว่าในปี ค.ศ.1993 นั้นใน 53 ประเทศมีการละเมิดสิ ทธิ มนุษยชนอย่างมาก กล่าวคือ มีการกักขังนักโทษ
ทางการเมือง หรื อที่ขยายความให้มีขอบข่ายกว้างขวางมากกว่าเดิมคือ นักโทษแห่งจิตสำนึกที่แตกต่างออก
ไป มีเกินกว่า 1,000,000 คน ที่เสี ยอิสรภาพโดยไม่มีขอ้ กล่าวหาหรื อไม่นำขึ้นไปสู่ การพิพากษาในศาลสถิต
ยุติธรรม
ตัวอย่างในยุโรปคือ การสังหารโหดในบอสเนีย เฮอร์เซโกวินาจนต้องแยกออกมาจากยูโกสลาเวีย ในปี
ค.ศ.1992 มีประชากร 4.6 ล้านคน เป็ นคนมุสลิม ร้อยละ 44 ชาวเซอร์บ ร้อยละ 31 ชาวโครท ร้อยละ 17
นอกจากนั้นเป็ นเชื้อชาติอื่น (ประเด็นการสู้รบคือ ชาวเซอร์บต้องการสร้างรัฐอิสระเชื้ อชาตินิยมขึ้นมา)

ในทวีปเอเซียนั้นได้มีกรณี การละเมิดสิ ทธิ มนุษยชนเป็ นจำนวนมาก สาเหตุส่วนหนึ่งเป็ นเพราะมี


จำนวนประชากรมาก (จีนมีมากเป็ นอันดับหนึ่งของโลก 1200 ล้านคน) อันดับสอง คือ อินเดีย ประมาณ 950
ล้านคน ตัวอย่างในกัมพูชา อัฟกานิสถาน จีน อินโดนีเซี ย (กรณี ติมอร์ตะวันออก)

ในอินเดียมีปัญหาศาสนาในแคชเมียร์และปั นจาบ ส่ วนในพม่า หรื อเมียนม่า (Myanmar) มีปัญหากับ


ชนกลุ่มน้อย 27 กลุ่ม

ในกลุ่มประเทศอเมริ กากลางและอเมริ กาใต้กม็ ีปัญหามาก เช่น ในบราซิ ล เอลซัลวาดอร์ เปรู เม็กซิ โก


และคิวบา

นอกเหนือจากการละเมิดสิ ทธิมนุษยชน โดยรัฐบาลหรื อกลุ่มทางสังคมและการเมืองแล้วยังมีการ


ละเมิดภายในครอบครัว และกลุ่มหรื อหน่วยทางเศรษฐกิจอีกด้วย ภายในครอบครัวมีกรณี การละเมิดสิ ทธิ
เด็ก หรื อการใช้ความรุ นแรงในครอบครัว การกักขังหน่วงเหนี่ยวหรื อบังคับให้ทำงานมากเกินขอบเขตใน
โรงงานต่างๆ ก็มีปรากฏอยูเ่ สมอ เช่น กรณี ที่เกิดขึ้นในโรงงานของคนไทยในมลรัฐแคลิฟอเนีย และผูต้ ก
เป็ นเหยือ่ คือคนไทยด้วยกันเอง

แหล่ งทีม่ า : http://human.tru.ac.th/elearning/local/global04/apartheid.html


: http://www.kullawat.net/civic/1.6.htm

You might also like