You are on page 1of 19

1

แนวดำำเนิ นกำรสร้ำงวัฒนธรรมกำรวิจัย

เอกสาร แนวดำาเนิ นการสร้างวัฒนธรรมการวิจัย เล่มนี้ประกอบด้วย


1. บทนำ า
2. นิ ยามศัพท์

3. ภาพความสำาเร็จและเป้ าหมาย
4. แนวดำาเนิ นการโครงการ (Road map)
5. แนวทางการพัฒนาบุคลากร
6. แนวทางการนิ เทศ ติดตาม และประเมินผล
7. การประเมินผลการดำาเนิ นงาน
แต่ละหัวข้อมีรายละเอียดดังนี้

1. บทนำ ำ

2. นิ ยำมศัพท์เฉพำะ
กระบวนกำรวิจัย หมายถึง การแสวงหาความร้้อย่างเป็ นระบบ คือ มี
การตัง้ คำาถาม (Question) เตรียมการค้นหาคำาตอบ (Plan) ดำาเนิ นการ
ค้นหาและตรวจสอบคำาตอบ (Action, Observa tion and Reflection)
และการสรุปและนำ าเสนอผลการค้นหาคำาตอบ (Conclusion and
presentation)
กำรตรวจสอบคำำตอบ (Reflection) หมายถึง การพิจารณาตรวจสอบ
การดำาเนิ นงานเป็ นระยะ ๆ และปรับปรุง จนได้คำาตอบที่สามารถขจัดความ
ขัดแย้งทางความคิดภายในตน หรือความขัดแย้งทางความคิดระหว่างบุคคล
หรือความขัดแย้งระหว่างความคิดกับหลักฐานเชิงประจักษ์
วัฒนธรรมกำรวิจัย หมายถึง การที่กลุ่มบุคคลหรือสังคมที่มีการ
ค้นคว้าหาความร้้อย่างเป็ นระบบ โดยใช้การตัง้ คำาถาม (Question) เตรียม
หาคำาตอบ (Plan) ดำาเนิ นการค้นหาคำาตอบ (Action) สังเกตผลที่เกิดขึ้น
2

(Observation) มีการตรวจสอบความถ้กต้องเหมาะสมเป็ นระยะ


(Reflection) และมีการนำ าเสนอแลกเปลี่ยนการศึกษาค้นคว้าและสิ่งที่ค้น
พบ (Show and share) ซึ่งกลุ่มคน หรือสังคมดังกล่าวมีการปฏิบัติอย่าง
สมำา่ เสมอในชีวิตประจำาวันเป็ นวิถีชีวิตปกติ
กำรสร้ำงวัฒนธรรมกำรวิจัย หมายถึง การส่งเสริมและพัฒนา
บุคลากรในหน่ วยงาน(นั กเรียน คร้ ผ้บ
้ ริหาร ศึกษานิ เทศก์ และนั ก
วิชาการ) ให้มีความเชื่อ ความศรัทธาและตระหนั กในคุณค่าของการวิจัยว่า
เป็ นกระบวนการที่น่าเชื่อถือ ในการนำ าไปใช้ในการแก้ปัญหา หรือ
พัฒนาการเรียนร้้ และพัฒนางานได้อย่างเป็ นระบบ และสร้างวิถีการทำางาน
ของคนในองค์กร ด้วยกระบวนการวิจัยเพื่อปล้กฝั งให้มีจิตวิจัย(Research
mind set) ในการทำางาน โดยใช้นวัตกรรม หรือผลที่ได้จากการวิจัย จน
ปรากฏผลการพัฒนาที่เป็ นร้ปธรรม
กำรจัดกำรเรียนร้้โดยใช้กระบวนกำรวิจัย หมายถึง การจัดกิจกรรม
ให้ผ้เรียนดำาเนิ นการศึกษาค้นคว้าหาคำาตอบเพื่อตอบปั ญหาที่ต้องการอย่าง
เป็ นระบบ โดยมีการตัง้ คำาถาม (Question) เตรียมการค้นหาคำาตอบ (Plan)
ดำาเนิ นการค้นหาและตรวจสอบคำาตอบ (Action, Observation and
Reflection) สรุปและนำ าเสนอผลการค้นหาคำาตอบ
(Conclusion and Presentation)
กำรเรียนร้้โดยใช้กระบวนกำรวิจัย หมายถึง การที่ผ้เรียนสร้างองค์
้ ตอน คือมีการตัง้ คำาถาม (Question)
ความร้้ หรือเรียนร้้ส่ิงต่าง ๆ อย่างมีขัน
เตรียมการค้นหาคำาตอบ(Plan) ดำาเนิ นการค้นหาและตรวจสอบคำาตอบ
(Action, Observation and Reflection) สรุปและนำ าเสนอผลการค้นหา
คำาตอบ(Conclusion and Presentation) ทุกครัง้ ในการเรียนร้้ส่ิงต่าง ๆ
กำรจัดบรรยำกำศที่เอื้อต่อกำรเรียนร้้โดยใช้กระบวนกำรวิจัย หมาย
ถึง การจัดสภาพสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ สิ่งอำานวยความสะดวก และ
บรรยากาศเชิงบวกภายในและภายนอกสถานศึกษา ที่ส่งเสริมสนั บสนุน
ให้เกิดการเรียนร้้ของนั กเรียน
เครือข่ำยวัฒนธรรมกำรวิจัย หมายถึง โรงเรียนที่มีความสมัครใจที่จะ
ร่วมพัฒนาผ้้เรียนให้เรียนร้้โดยใช้กระบวนการวิจัย
3

บุคลำกรทำงกำรศึกษำ หมายถึง ผ้้บริหาร ศน. นั กวิชาการ คร้ ที่ทำา


หน้ าที่ ส่งเสริมพัฒนา การเรียนร้้โดยใช้กระบวนการวิจัย
ทักษะกำรใช้กระบวนกำรวิจัยในกำรปฏิบัติงำนและพัฒนำงำน
หมายถึง การที่นักเรียนนำ ากระบวนการวิจัยมาใช้ในการปฏิบัติงานและ
พัฒนางานต่าง ๆ
ประสบกำรณ์กำรใช้กระบวนกำรวิจัยในกำรปฏิบัติงำนและพัฒนำ
งำน หมายถึง ความร้้ ความเข้าใจ และความสามารถในการเรียนร้้ โดยใช้
กระบวนการวิจัยมาปฏิบัติงาน และพัฒนางาน ที่มีสัง่ สมตลอดมา
ทีมภำค หมายถึง คณะทำางานระดับภาค ประกอบด้วยหัวหน้ า
โครงการระดับภาค นั กวิจัย คณะทำางาน และคณะที่ปรึกษา ที่เป็ นผ้้รบ
ั ผิด
ชอบด้แลโครงการให้มีการดำาเนิ นงานจนประสบผลตลอดโครงการ แต่ละ
ภาคภ้มิศาสตร์ ประกอบด้วย ทีมภาคเหนื อ ทีมภาคกลาง ทีมภาคอีสาน
และทีมภาคใต้และภาคตะวันออก
้ นะ (Coach) ให้โรงเรียนและคร้
ผ้้นิเทศ หมายถึง ผ้้ทำาหน้ าที่ชีแ
สามารถสร้างวัฒนธรรมการวิจัยในโรงเรียนได้อย่างเห็นเป็ นร้ปธรรม

3. ภำพควำมสำำเร็จด้ำนกำรเรียนร้้โดยใช้กำรวิจัย (ร้้ได้อย่างไร ด้จากอะไร)

ภำพควำมสำำเร็จและเป้ ำหมำย
เป้ าหมาย ด้จากอะไร ร้ไ้ ด้อย่างไร
นั กเรียน -Input -สังเกต
กลุ่มเป้ า
หมายทุก -บรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนร้้ -ซักถาม
คน - แหล่งเรียนร้ห้ ลากหลายตามความ -สัมภาษณ์
ต้องการผ้้เรียน -ค้นหาอธิบายคำา
ทัง้ ภายในและนอกห้องเรียน
ตอบ
-Process
-เขียนรายงาน
- การเรียนร้้ของนั กเรียนโดยใช้
4
กระบวนการวิจัย -นำ าเสนอผลการ
- มีการเผยแพร่การดำาเนิ นการผ่านสื่อ ศึกษาวิจัย
ต่างๆ -ชิน
้ งาน
- มีการแลกเปลี่ยนเรียนร้ก
้ ารวิจัย
-ภาพกิจกรรม
- มีรายงานความก้าวหน้ าผลการวิจัย
-เวทีแลกเปลี่ยน
- จัดคาราวานวิจัยเรียนร้้ทัง้ ในและ เรียนร้้
นอกโรงเรียน -ชุมนุม ชมรมการ
-Output วิจัย
- มีรายงานความก้าวหน้ าในการเรียนร้้ -เครื่องมือวิจัย
การวิจัย ฯลฯ
- คุณภาพนั กเรียนพัฒนาส้งขึ้น
-Outcome
-ใช้กระบวนการวิจัยในชีวิตประจำาวัน
และต่อเนื่ อง
- มีรป
้ แบบการเรียนร้ก
้ ารวิจัย
- ได้แนวคิดและการแก้ปัญหาในการ
วิจัย
- มีกลุ่ม/ชุมนุม/ชมรมการวิจัยตาม
ความสนใจของ นั กเรียน
- นั กเรียนมีความมัน
่ ใจและมี
พัฒนาการในการเรียนร้้โดยมีผล
งานการเรียนร้้จากการวิจัยเพิ่มขึ้น
- นั กเรียนได้รับการปล้กฝั งวัฒนธรรม
การวิจัย
- Impact
-มีเครือข่ายการเรียนร้ก
้ ารวิจัยของ
นั กเรียน
-มีกลุ่ม/ชุมนุม/ชมรมการวิจัยตามความ
สนใจของนั กเรียน
5

- นั กเรียนมีความมัน
่ ใจและมี
พัฒนาการในการเรียนร้้โดยมีผล
งานการเรียนร้้จากการวิจัยเพิ่มขึ้น

ภำพควำมสำำเร็จและเป้ ำหมำย

ภาพความสำาเร็จ(ด้
เป้ าหมาย ภาพความสำาเร็จ (ร้ไ้ ด้อย่างไร)
จากอะไร)
คร้ 279 -Input -การสังเกต
คน -จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนร้้ของ -ซักถาม
นั กเรียน -สัมภาษณ์
- จัดแหล่งเรียนร้้หลากหลายทัง้ ภายใน
-เขียนรายงาน
และนอก
ห้องเรียน -นำ าเสนอผลการ
-Process จัดการเรียนร้้ -ชิน

- จัดทำาแผนการเรียนร้้สร้างวัฒนธรรม งาน
วิจัย -ภาพกิจกรรม
- มีวิธีการจัดการเรียนร้้ด้วย -เวทีแลกเปลี่ยน
กระบวนการวิจัย เรียนร้้
- ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนร้้การดำาเนิ น -ชุมนุม ชมรมการ
งานของคร้กลุ่มเป้ าหมาย วิจัย
-นำ าความร้้ความเข้าใจไปจัดการเรียนร้้ -แผนการจัดการ
การวิจัย เรียนร้ว้ ิจัย
-รายงานความก้าวหน้ าในการดำาเนิ น -เอกสารประกอบ
งานและการจัดการเรียนร้้การวิจัย การวิจัย
-แลกเปลี่ยนเรียนร้ก ้ ารดำาเนิ นงานของ -ข้อม้ลนั กเรียนเป้ า
คร้ หมาย
-สรุปการดำาเนิ นงานและรวบรวมผล ฯลฯ
งานที่เกิดจากการเรียนร้้โดยใช้การวิจัย
6

- จัดคาราวานวิจัยเรียนร้้ทัง้ ในและ
นอกเขตพื้นที่
- เผยแพร่ผ่านสื่อสารมวลชนในท้อง
ถิ่นและระดับชาติ
-Output
- มีผลการจัดการเรียนร้้ท่ีชัดเจน
- มีการเก็บรวบรวมข้อม้ลนั กเรียน
- มีกลุ่ม/ชุมนุม/ชมรมการวิจัยตาม
ความสนใจของคร้
- มีนักเรียนกลุ่มเป้ าหมายการสร้าง
วัฒนธรรมการวิจัย ของนั กเรียน
- มีโครงการสร้างวัฒนธรรมการวิจัยให้
นั กเรียน
- มีการปรับแผนการจัดการเรียนร้้ให้
เหมาะสมกับศักยภาพนั กเรียน
-การตอบสนองของนั กเรียนต่อคร้ใน
จัดการเรียนร้้
-ได้รป
้ แบบสร้างวัฒนธรรมการวิจัยให้
นั กเรียน

ภำพควำมสำำเร็จและเป้ ำหมำย (ต่อ)

ภาพความสำาเร็จ(ด้
เป้ าหมาย ภาพความสำาเร็จ (ร้้ได้อย่างไร)
จากอะไร)
-Outcome
- คร้ทบทวนการจัดการเรียนร้้การวิจัย
อย่้เสมอ
-ได้แนวคิดพัฒนาและการแก้ปัญหา
ในการดำาเนิ นงาน
7

-ได้ผลงานที่เกิดจากการเรียนร้้โดยใช้
การวิจัยของนั กเรียน
- Impact
-คร้สร้างเครือข่ายวัฒนธรรมวิจัย
-คร้มีความมัน
่ ใจและมีพัฒนาการใน
การจัดการเรียนร้้เพิ่มขึ้น
ผ้้บริหาร Input -การสังเกต
279 คน
- สนั บสนุน ส่งเสริมให้จัดบรรยากาศ -ซักถาม
ต่อการเรียนร้้ -สัมภาษณ์
- การบริหารจัดการให้จด
ั การเรียนร้้
-การเขียนรายงาน
วิจัยอย่างต่อเนื่ อง
-ชิน
้ งาน
- จัดหาแหล่งเรียนร้้ในห้องเรียนและ
นอกห้องเรียน -ภาพกิจกรรม
-Process -เวทีแลกเปลี่ยน
- จัดทำาแผนงานโครงการสร้าง เรียนร้้
วัฒนธรรมวิจัย -ชุมนุม ชมรมการ
- ประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างความ วิจัย
เข้าใจเกี่ยวกับการสร้างวัฒนธรรมการ -เครื่องมือวิจัย
วิจัยในโรงเรียน การจัดกิจกรรมการ -เอกสารประกอบ
เรียนร้้โดยใช้การวิจัย และปรับ
การวิจัย
แผนการจัดการเรียนร้้ให้กลุ่มเป้ า
หมาย -ข้อม้ลคร้ นั กเรียน
-ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนร้้การดำาเนิ น เป้ าหมาย
ฯลฯ
งานของโรงเรียนกลุ่มเป้ าหมาย
-สรุปรายงานผลความก้าวหน้ าและ
ความสำาเร็จของการดำาเนิ นงาน
-จัดคาราวานวิจัยเรียนร้้ทัง้ ในและนอก
เขตพื้นที่
-มีการเผยแพร่ผลการดำาเนิ นงานผ่าน
สื่อทัง้ ในระดับท้องถิ่นและระดับชาติ
8

ภำพควำมสำำเร็จและเป้ ำหมำย (ต่อ)

ภาพความสำาเร็จ(ด้
เป้ าหมาย ภาพความสำาเร็จ (ร้ไ้ ด้อย่างไร)
จากอะไร)
-Output
-คร้จด
ั กระบวนการวิจัยในการเรียนร้้
ให้นักเรียน
-นั กเรียนได้รับการเรียนร้้การวิจัย
อย่างต่อเนื่ อง
-มีเอกสารประกอบการดำาเนิ นงาน
และเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อม้ลคร้
-มีคร้กลุ่มเป้ าหมาย และผ้้รับผิดชอบ
การดำาเนิ นงานที่ชัดเจนและเหมาะสม
-มีโครงการสร้างวัฒนธรรมการวิจัย
ของโรงเรียน
ที่สอดคล้องกับนโยบาย
-รายงานผลการดำาเนิ นงานการเรียนร้้
-Outcome
-คร้ นั กเรียนใช้กระบวนการวิจัยใน
ชีวิตประจำาวัน
-ได้แนวคิดและการแก้ปัญหาในการ
ดำาเนิ นงาน
- Impact
-สร้างเครือข่ายวัฒนธรรมวิจัยให้
9
โรงเรียน
-ผ้้บริหารมีความมัน
่ ใจในการดำาเนิ น
งานเพิ่มขึ้น
-โรงเรียนเกิดความภาคภ้มิใจในผล
งานของตนเอง
ศึกษานิ เทศ -Input -การสังเกต
ก์
- มีแนวทางการจัดบรรยากาศที่เอื้อ -ซักถาม
93 คน
ต่อการเรียนร้้ -สัมภาษณ์
- เสนอแนะแหล่งเรียนร้้สำาหรับการ
-การอธิบายคำาตอบที่
วิจัยนั กเรียน
ค้นพบ
-Process
-การเขียนรายงาน
- มีแผนการนิ เทศการจัดการเรียนร้้
-นำ าเสนอผลการ
และการบริหารจัดการ
ศึกษาวิจัย
- ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำาแนวการ
-ชิน
้ งาน
สร้างวัฒนธรรมการวิจัย
-ภาพกิจกรรม
- ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำาเอกสาร
และเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อม้ล -เวทีแลกเปลี่ยน
-ประชุมปฏิบัติการบรรณาธิการกิจ หา เรียนร้้
คุณภาพเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อม้ล -ชุมนุม ชมรมการ
และเอกสารโครงการ วิจัย
-เครื่องมือนิ เทศ
ติดตาม และประเมิน
ผล

ภำพควำมสำำเร็จและเป้ ำหมำย (ต่อ)

ภาพความสำาเร็จ(ด้
เป้ าหมาย ภาพความสำาเร็จ (ร้ไ้ ด้อย่างไร)
จากอะไร)
-มีกลุ่มเป้ าหมายนิ เทศ และผ้้รับผิด -แผนการจัดการ
ชอบการดำาเนิ นงานที่ชัดเจนและ เรียนร้ว้ ิจัย
10
เหมาะสม -เอกสารประกอบ
- นิ เทศ ติดตาม และประเมินผล การวิจัย
- สรุปความก้าวหน้ าการดำาเนิ นงาน -ข้อม้ลคร้ นั กเรียน
และเผยแพร่ เป้ าหมาย
- จัดคาราวานวิจัยเรียนร้้ทัง้ ในและ ฯลฯ
นอกเขตพื้นที่
-เผยแพร่ผ่านสื่อสารมวลชนในท้อง
ถิ่นและระดับชาติ
-สนั บสนุน ส่งเสริมปฏิบัติการสร้าง
วัฒนธรรมการวิจัยให้นักเรียน
- นำ าเสนอผลการดำาเนิ นงานระดับ
ชาติ
- เผยแพร่ผ่านสื่อสารมวลชนในท้อง
ถิ่นและระดับชาติ
-Output
- คร้จด
ั การเรียนร้้การวิจัยให้นักเรียน
- ผ้้บริหารมีการบริหารจัดการ
กระบวนการวิจัยในโรงเรียน
-มีกลุ่ม/ชุมนุม/ชมรมการวิจัยตาม
ความสนใจของคร้
-Outcome
- คร้จดั การเรียนร้้การวิจัยให้นักเรียน
อย่างต่อเนื่ อง
-นั กเรียนใช้กระบวนการวิจัยในชีวิต
ประจำาวัน
-ศึกษานิ เทศก์และผ้้เกี่ยวข้องมีความ
มัน
่ ใจในการดำาเนิ นงานเพิ่มขึ้น
- Impact
- ประสานสร้างเครือข่ายวัฒนธรรม
11
วิจัยให้โรงเรียน
-ได้แนวคิดและการแก้ปัญหาในการ
ดำาเนิ นงาน

องค์ประกอบ ตัวชีว้ ัด แหล่งข้อม้ล


นร. คร้ ผ้้ ศน.
บริหำ

+โรงเ
รียน
INPUT การบริหารจัดการ

บรรยากาศ
แหล่งเรียนร้้
PROCESS การส่งเสริมของผ้้บริหาร
การนิ เทศ การสนั บสนุน 
การจัดการเรียนร้้ของคร้

การนิ เทศของศึกษานิ เทศก์ 
OUTPUT นั กเรียนใช้กระบวนการวิจัย
ในการเรียนร้้ 
OUTCOM นั กเรียน ใช้กระบวนการวิจัย

ในชีวิตประจำาวัน 
E
IMPACT สร้างเครือข่ายวัฒนธรรมวิจัย   
ให้โรงเรียน

4. Road map/ กรอบแนวดำำเนิ นกำร

ระยะที่ 1 เตรียมพร้อม (ตค. 53 - มีค. 54) : ผ้้รับผิดชอบ - สนก.


12

1. สนก. วางแผนการดำาเนิ นงาน


2. สนก. ประสานงานหน่ วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง (คณะผ้้
วิจัย/ อาจารย์มหาวิทยาลัย/ ศน. เขต)
3. สนก. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำาแนวการสร้างวัฒนธรรมการ
วิจัย
4. สนก. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำาเอกสารและเครื่องมือเก็บ
รวบรวมข้อม้ล
5. สนก. ประชุมปฏิบัติการบรรณาธิการกิจ หาคุณภาพเครื่องมือเก็บ
รวบรวมข้อม้ลและเอกสารโครงการ
6. สนก. ประชุมชีแ
้ จงและสร้างความเข้าใจและฝึ กปฏิบัติการจัด
กิจกรรมสร้างวัฒนธรรมการวิจัยให้คณะผ้้วิจัย/ อาจารย์มหาวิทยาลัย/
ศน.เขต
เป้ ำหมำย
1. มีแผนและแนวการดำาเนิ นงานที่ชัดเจนปฏิบัติได้จริง

2. มีเอกสารประกอบการดำาเนิ นงาน และเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อม้ล


ที่มีคุณภาพ
3. มีกลุ่มเป้ าหมาย และผ้้รับผิดชอบการดำาเนิ นงานที่ชัดเจนและ
เหมาะสม
4. ั ของนั กเรียนที่คณะผ้้วิจัย/
มีเป้ าหมายการสร้างวัฒนธรรมการวิจย
อาจารย์มหาวิทยาลัย/ ศน. เขต เข้าใจตรงกัน
5.มีโครงการสร้างวัฒนธรรมการวิจัยให้นักเรียนแต่ละเขตพื้นที่การ
ศึกษาที่สอดคล้องกับนโยบาย
ระยะที่ 2 ลงมือปฏิบัติ (เมย. 54 - กย. 54) : ผ้้รับผิดชอบ –
โรงเรียน/ ทีมภำคและสนก.
1. สนก. ประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างความเข้าใจและจัดทำาโครงการ
เกี่ยวกับการสร้างวัฒนธรรมการวิจัยในโรงเรียน (บุคลากรกลุ่มเป้ าหมาย
คือ คร้ 279 คน ผ้้บริหาร 279 คน และ ศน. 93 คน)
13

2. โรงเรียนกลุ่มเป้ าหมายปฏิบัติการสร้างวัฒนธรรมการวิจัยให้
นั กเรียน
3. อาจารย์มหาวิทยาลัย/ นั กวิชาการอิสระ/ ศน.และผ้้บริหาร
โรงเรียน นิ เทศ ติดตาม และประเมินผล
4. ทีมภาค สรุปความก้าวหน้ าการดำาเนิ นงานและเผยแพร่

เป้ ำหมำย
1. บุคลากรผ้้ปฏิบัติงานมีความร้้ความเข้าใจการดำาเนิ นงานจัดการ
เรียนร้้โดยใช้การวิจัยการจัดกิจกรรมการเรียนร้้โดยใช้การวิจัย และปรับ
แผนการจัดการเรียนร้้ (คร้ 279 คน ผ้้บริหาร 279 คน และศน.
93 คน)
2. คร้มีแผนและจัดการเรียนร้้ตามแผนการจัดการเรียนร้้โดยใช้การ
วิจัย
3. นั กเรียนเรียนร้้โดยใช้การวิจัย
4. ผ้้บริหารมีแผนปฏิบัติการที่สนั บสนุนการสร้างวัฒนธรรมการวิจัย
5. ศน. มีแผนการนิ เทศ ติดตามการบริหารและการจัดการเรียนร้้
โดยใช้การวิจัย
6. มีรายงานความก้าวหน้ าในการดำาเนิ นงานและการจัดการเรียนร้้
โดยใช้การวิจัย
7. มีการเผยแพร่การดำาเนิ นการผ่านสื่อต่าง ๆ

ระยะที่ 3 แลกเปลี่ยนเรียนร้้ (ตค. 54 - มีค. 55) : ผ้้รับผิดชอบ –


สนก. /โรงเรียนและทีมภำค
1. โรงเรียนกลุ่มเป้ าหมายปฏิบัติการสร้างวัฒนธรรมการวิจัยให้
นั กเรียน
2. อาจารย์มหาวิทยาลัย/ นั กวิชาการอิสระ/ ศน.และผ้้บริหาร
โรงเรียน นิ เทศ ติดตาม และประเมินผล
3. ทีมภาค ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนร้้การดำาเนิ นงานของโรงเรียน
ระดับภ้มิภาค
4. ทีมภาค สรุปการดำาเนิ นงานและรวบรวมผลงานที่เกิดจากการ
เรียนร้้โดยใช้การวิจัย
14
เป้ ำหมำย
1. คร้มีร้ปแบบการจัดการเรียนร้้โดยใช้การวิจัย

2.คร้ได้แนวคิดและการแก้ปัญหาในการดำาเนิ นงาน
3. นั กเรียนมีร้ปแบบการเรียนร้้โดยใช้การวิจัย

4. โรงเรียนมีกลุ่ม/ชุมนุม/ชมรมการวิจัยตามความสนใจของนั กเรียน
5. โรงเรียนได้ผลงานที่เกิดจากการเรียนร้้โดยใช้การวิจัยของนั กเรียน

ระยะที่ 4 สร้ำงคำรำวำน (เมย. 55 - กย. 55 ) : ผ้้รับผิดชอบ –


โรงเรียน/ ทีมภำคและสนก.
1. โรงเรียนกลุ่มเป้ าหมายปฏิบัติการสร้างวัฒนธรรมการวิจัยให้
นั กเรียน
2. อาจารย์มหาวิทยาลัย/นั กวิชาการอิสระ/ศน.และผ้้บริหารโรงเรียน
นิ เทศ ติดตามและประเมินผล
3. ทีมภาค จัดคาราวานวิจัยเรียนร้้ทัง้ ในและนอกเขตพื้นที่
4. สนก. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนร้ก
้ ารดำาเนิ นงานของโรงเรียนกลุ่ม
เป้ าหมายและพี่เลีย
้ งระดับชาติ
5. สนก. เผยแพร่การดำาเนิ นงานผ่านสื่อสารมวลชนในท้องถิ่นและ
ระดับชาติ
เป้ ำหมำย
1.โรงเรียนได้เรียนร้้เกี่ยวกับการสร้างวัฒนธรรมการวิจัยให้นักเรียน
2. คร้และบุคลากรที่เกี่ยวข้องมีความมัน ่ ใจในการดำาเนิ นงานและมี
พัฒนาการในการจัดการเรียนเพิ่มขึ้น
3.นั กเรียนมีความมัน ่ ใจและมีพัฒนาการในการเรียนร้้โดยมีผล
งานการเรียนร้จ้ ากการวิจัยเพิ่มขึ้น
4. สนก. มีรายงานความก้าวหน้ าผลการดำาเนิ นงาน และเผยแพร่ผ่าน
สื่อสารมวลชนในท้องถิ่นและระดับชาติ
ระยะที่ 5 สร้ำงเครือข่ำย (ตค. 55 - มีค. 56) : ผ้้รับผิดชอบ –
โรงเรียน และทีมภำค
1. โรงเรียนกลุ่มเป้ าหมายปฏิบัติการสร้างวัฒนธรรมการวิจัยให้
นั กเรียน และสร้างเครือข่ายต่างโรงเรียน
15

2. อาจารย์มหาวิทยาลัย/ นั กวิชาการอิสระ/ ศน.และผ้้บริหาร


โรงเรียน นิ เทศ ติดตาม และประเมินผล
3. ทีมภาค ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนร้้การดำาเนิ นงานของโรงเรียน
ระดับภ้มิภาค
เป้ ำหมำย
1.โรงเรียนได้เรียนร้้เกี่ยวกับการสร้างวัฒนธรรมการวิจัยให้นักเรียน
2.คร้และบุคลากรผ้ป ้ ฏิบัติงานมีความมัน
่ ใจและมีพัฒนาการในการ
ดำาเนิ นงานเพิ่มขึ้น
3.นั กเรียนมีพัฒนาการและมีผลงานการเรียนร้้โดยใช้การวิจัยเพิ่มขึ้น
4.มีจำานวนนั กเรียน/กลุ่ม/ชุมนุม/ชมรมการเรียนร้้โดยใช้การวิจัยตาม
ความสนใจของนั กเรียนเพิ่มขึ้น
5.มีเครือข่ายการเรียนร้้โดยใช้การวิจัยของกลุ่มนั กเรียนและคร้

ระยะที่ 6 มีวัฒนธรรมกำรวิจัย (เมย. 56 - กย. 56) : ผ้้รับผิดชอบ –


โรงเรียน/ ทีมภำคและสนก.
1. โรงเรียนกลุ่มเป้ าหมายปฏิบัติการสร้างวัฒนธรรมการวิจัยให้
นั กเรียน
3. อาจารย์มหาวิทยาลัย/ นั กวิชาการอิสระ/ ศน.และผ้้บริหาร
โรงเรียน นิ เทศ ติดตาม และประเมินผล
4. สนก. ประชุมนำ าเสนอผลการดำาเนิ นงานระดับชาติ
5. สนก. เผยแพร่ผ่านสื่อสารมวลชนในท้องถิ่นและระดับชาติ
เป้ ำหมำย
1. คร้และนั กเรียนมีวัฒนธรรมการวิจัย

2.โรงเรียนเกิดความภาคภ้มิใจในผลงานของตนเอง
3. โรงเรียนได้ร้ปแบบการเรียนร้้ การจัดการเรียนร้้ การนิ เทศและการ
บริหารจัดการการสร้างวัฒนธรรมการวิจัยให้นักเรียน
4. ทีมภาค มีรายงานผลความสำาเร็จของการดำาเนิ นงานในระดับภาค

5. สนก. มีรายงานผลและเผยแพร่ผลการดำาเนิ นงานผ่านสื่อทัง ้ ใน


ระดับชาติ
5. แนวดำำเนิ นกำรพัฒนำบุคลำกร เพื่อนำ ำไปส่้กำรพัฒนำผ้้เรียน
5.1 ผ้้รับกำรพัฒนำ
16

ั การพัฒนา ได้แก่ คร้/ ผ้้บริหารและศึกษานิ เทศก์เขต


ผ้้รบ
5.2 เป้ ำหมำยกำรพัฒนำ
1) เชิงปริมำณ

- ผ้บ
้ ริหารโรงเรียนกลุ่มเป้ าหมาย จำานวนอย่างน้ อย 1
โรงเรียน/เขตพื้นที่กศ.
- คร้ในโรงเรียนกลุ่มเป้ าหมาย จำานวนอย่างน้ อย 2 คน /
โรงเรียน
2) เชิงคุณภำพ
- คร้ในโรงเรียนกลุ่มเป้ าหมายร้อยละ 80 มีแผนการจัดการ
เรียนร้้ท่ีใช้กระบวนการวิจัย
- นร. ในโรงเรียนกลุ่มเป้ าหมายร้อยละ 80 มีผลงานที่เกิดจาก
การเรียนร้้โดยใช้
กระบวนการวิจัย ครบทุกโรงเรียน
5.3 วิธีกำรพัฒนำ

1.การประชุมชีแ
้ จง
2.ศึกษาเอกสาร
3. ประชุมปฏิบัติการ
4. การนิ เทศ ติดตาม
5.การแลกเปลี่ยนเรียนร้้
6.การใช้เทคโนโลยีการสื่อสารทางไกล
6. แนวกำรนิ เทศ ติดตำม และประเมินผล
6.1 ผ้้นิเทศ ติดตำมและประเมินผล

- นั กวิชาการศึกษา
- นั กวิชาการอิสระ
- อาจารย์มหาวิทยาลัย
- ศึกษานิ เทศก์และนั กวิชาการศึกษาสำานั กงานเขตพื้นที่ประถม
ศึกษา
- ศึกษานิ เทศก์และนั กวิชาการศึกษาสำานั กงานเขตพื้นที่
มัธยมศึกษา
- ผ้้อำานวยการโรงเรียนกลุ่มเป้ าหมาย
17
6.2 ผ้้รับกำรนิ เทศ ติดตำมและประเมินผล
- คร้ผ้สอนกลุ่มเป้ าหมาย
- ผ้บ
้ ริหารโรงเรียนกลุ่มเป้ าหมาย
6.3 วิธีกำรนิ เทศ ติดตำมและประเมินผล
- การนิ เทศแบบกัลยาณมิตร
- การสังเกตชัน้ เรียน
- การนิ เทศที่หลากหลาย

6.4 เครื่องมือนิ เทศ ติดตำมและประเมินผล


1. แบบประเมินก่อนการดำาเนิ นงาน
- บริบทของโรงเรียน/ ผ้้บริหาร/ คร้/ นั กเรียนและแหล่งเรียนร้้
- การจัดกิจกรรมการเรียนร้้ของคร้และนั กเรียน
2. แบบประเมินความร้้ แนวคิดเรื่องการวิจย
ั ของผ้้บริหาร/คร้
3. แบบประเมินแนวการปฏิบัติกิจกรรมของนั กเรียน
4. แบบประเมินระหว่างการดำาเนิ นงาน
5. แบบประเมินเมื่อสิน
้ สุดการดำาเนิ นงาน
6. แบบประเมินแผนการจัดการเรียนร้้
7. แบบประเมินแหล่งเรียนร้้ท่ีสนั บสนุนการสร้างวัฒนธรรมการ
วิจัย ชุมชนนั กวิจัย
2. แบบประเมินการดำาเนิ นงานชมรมนั กวิจัย
7 ระยะเวลำในกำรนิ เทศ ติดตำมและประเมินผล
7.1 ระยะที่ 1 เดือนพฤษภาคม – กันยายน 2554 จำานวน 4 ครัง้
ในเดือนพฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม และกันยายน 2554 เดือนละ 1
ครัง้ และการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนร้้ระดับภาค ในเดือนสิงหาคม 2554
ของทีมภาค/ เขตและโรงเรียน
7.2 ระยะที่ 2 เดือนพฤศจิกายน 2554 – มีนาคม 2555 จำานวน 4
ครัง้ ในเดือนพฤศจิกายน ธันวาคม กุมภาพันธ์และมีนาคม 2555 เดือน
18

ละ 1 ครัง้ และการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนร้้ระดับภาค ในเดือนมกราคม


2555 ของทีมภาค/ เขตและโรงเรียน
7.3 ระยะที่ 3 เดือนพฤษภาคม – กันยายน 2555 จำานวน 4 ครัง้
ในเดือนพฤษภาคมมิถุนายน กรกฎาคมและกันยายน 2555 เดือนละ 1
ครัง้ และการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนร้้ระดับภาค ในเดือนสิงหาคม 2555
ของทีมภาค/ เขตและโรงเรียน
7.4 ระยะที่ 4 เดือนพฤศจิกายน 2555 – มีนาคม 2556 จำานวน 4
ครัง้ ในเดือนพฤศจิกายน ธันวาคม กุมภาพันธ์และมีนาคม 2555 เดือน
ละ 1 ครัง้ การสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนร้้ระดับภาค ในเดือนมกราคม
2556 ของทีมภาค/ เขตและโรงเรียน
7.5 ระยะที่ 5 เดือนพฤษภาคม 2556 – กันยายน 2556 จำานวน 4
ครัง้ ในเดือนพฤษภาคมมิถุนายน กรกฎาคมและกันยายน 2556 เดือน
ละ 1 ครัง้ และการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนร้้ระดับภาค ในเดือนสิงหาคม
2556

7. กำรประเมินผลกำรดำำเนิ นงำน (ระยะก่อน ระหว่ำง สิน


้ สุด)
7.1 หัวข้อประเมิน
ประเมินตามภาพความสำาเร็จและเป้ าหมาย
7.2 ระยะเวลำ
1) การประเมินก่อนการดำาเนิ นงาน ช่วงเวลาปฏิบัติงาน ระยะที่
2 (พฤษภาคม 2554)
2) การประเมินระหว่างการดำาเนิ นงาน ช่วงเวลาปฏิบัติงาน ระยะ
ที่ 3 (มีนาคม 2555)
3) การประเมินเมื่อสิน
้ สุดการดำาเนิ นงาน ช่วงเวลาปฏิบัติงาน
ระยะที่ 6 (กันยายน 2556)
7.3 กำรรำยงำนผลกำรดำำเนิ นงำน
19

1) รายงานความก้าวหน้ า ช่วงเวลาปฏิบัติงาน ระยะที่ 2


(กันยายน 2554)
2) รายงานความก้าวหน้ า ช่วงเวลาปฏิบัติงาน ระยะที่ 4
(กันยายน 2555)
3) รายงานผลความสำาเร็จของการดำาเนิ นงาน ช่วงเวลาปฏิบัติงาน

ระยะที่ 6 (กันยายน 2556)

You might also like