You are on page 1of 10

แนวทางการจัดการเรียนการสอนโดยใช้

กระบวนการวิจัย
การเรียนการสอนโดยใช้การวิจัยประกอบด้วยองค์ประกอบ
ด้านผ้้ใช้และด้านการใช้ องค์ประกอบด้านผ้้ใช้จำาแนกเป็ นคร้และ
นักเรียน ด้านการใช้จำาแนกเป็ นการใช้ผลการวิจัยและการใช้
กระบวนการวิจัย ทำาให้เกิดแนวทางในการจัดการเรียนการสอนโดย
ใช้การวิจัย 4 แนวทาง ดังแสดงในแผนภาพที่ …

ครู นักเรียน

การใช้ผล แนวทางที่ 1 แนวทางที่ 2


การวิจัย
การใช้
กระบวนการ แนวทางที่ 3 แนวทางที่ 4
วิจัย

แนวทางที่ 1 : คร้ใช้ผลการวิจัยในการ
เรียนการสอน

แนวทางที่ 2 : นักเรียนใช้ผลการวิจัยใน
การเรียนร้้

แนวทางที่ 3 : คร้ใช้กระบวนการวิจัยใน
การเรียนการสอน
แนวทางที่ 4 : นักเรียนใช้กระบวนการ
วิจัยในการเรียนร้้

แผนภาพที่ .... แนวทางการใช้การวิจัยในการเรียน


การสอน

แนวทางการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการ
้ นี้ เป็ นการใช้แนวทางที่ 3 และแนวทางที่ 4
วิจัยในครัง คือ
ครูจัดการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการวิจัยและนักเรียน
เรียนรู้โดยใช้กระบวนการวิจัย ดังตัวอย่างการสอนตามแนวทาง
ที่ 3 และแนวทางที่ 4 ที่นำาเสนอต่อไปนี้

บทบาทครูตามแนวทางที่ 3 (ครูใช้กระบวนการวิจัยใน

การเรียนรู้)

ตารางที่ ... บทบาทครูในการจัดการเรียนการสอน


แบบครูใช้กระบวนการวิจัย
กระบวนการวิจัย บทบาทครู
1. ตั้งคำาถาม คร้จะทำาอย่างไร นักเรียนจึงจะสามารถตั้ง
คำาถามได้ตรงตามประเด็นที่ต้องการเรียนร้้
(Question) • คร้จัดหรือสร้างสถานการณ์ท่ีกระต้้น
ให้นักเรียนเกิดความสังสัย อยากร้ค ้ ำา
ตอบ หรืออยากหาเหต้ผล
• คร้สอนและฝึ กทักษะการสังเกต การ
ตั้งคำาถามตามสภาพปั ญหา ที่
สามารถนำาไปส่ก ้ ารค้นคว้าหาคำาตอบ
ได้
คร้ จ ะทำา อย่ า งไร นั ก เรี ย นจึ ง จะสามารถ
เตรียมการค้นหาคำาตอบได้
2. เตรียมการค้นหาคำา • คร้สอนและฝึ กให้นักเรียนวางแผน
เตรียมการค้นหาคำาตอบอย่างเป็ น
ตอบ (Plan) ระบบ โดยมีการไตร่ตรองหาเหต้ผล
เพื่อคาดการณ์คำาตอบ และเตรียม
การค้นคว้าหาข้อม้ลหรือหลักฐานมา
ตรวจสอบความคิดเริ่มแรก เพื่อ
ปรับปร้งจนได้คำาตอบที่น่าเชื่อถือ เป็ น
ที่ยอมรับได้
คร้จะทำาอย่างไร นักเรียนจึงจะสามารถ
ดำาเนิ นการค้นหาและตรวจสอบคำาตอบได้
อย่างน่ าเชื่อถือ
3. ดำาเนิ นการค้นหา • คร้สอนและฝึ กนักเรียนให้ดำาเนิ นการ
และตรวจสอบคำาตอบ ค้นหาคำาตอบตามแผนที่วางไว้ โดยมี
การตรวจสอบและปรับปร้งจนได้คำา
(Action, Observation ตอบที่สามารถขจัดความขัดแย้งทาง
& Reflection) ความคิดระหว่างบ้คคล ภายในตนเอง
และระหว่างความคิดกับหลักฐานเชิง
ประจักษ์
คร้จะทำาอย่างไร นักเรียนจึงจะสามารถ
สร้ปผลและนำาเสนอผลการค้นหาคำาตอบ
ได้
• คร้สอนและฝึ กให้นักเรียนสามารถ
4. สร้ปและนำาเสนอผล สร้ปและนำาเสนอผลการค้นหาคำาตอบ
ด้วยวิธีการที่เหมาะสม น่ าสนใจ
การค้นหาคำาตอบ
(Conclusion &
Presentation)

ตัวอย่างการสอนโดยครูใช้กระบวนการวิจัย
คร้ใช้กระบวนการวิจัยในการจัดการเรียนการสอนแบบ
บ้รณาการ เรื่อง “การเจริญเติบโตของพืช” ซึ่งเนื้ อหาประกอบ
ด้วยเรื่องการเพาะเมล็ดและการเจริญเติบโตของพืช ทักษะ
กระบวนการวิจัยที่คร้ใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอนคือ ทักษะการ
สังเกต การบันทึกข้อม้ล การเปรียบเทียบข้อม้ล และการสร้ป
ลงความเห็น ซึ่งคร้สามารถบ้รณาการคณิตศาสตร์เข้าไปได้ เช่น
การเขียนกราฟ การคำานวณ การส่้มตัวอย่าง และบ้รณาการ
ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ เรื่องการเขียนคำาศัพท์ บ้รณาการศิลปะ
เรื่องการวาดภาพ บ้รณาการเกษตร คือการคัดเลือกเมล็ดพันธ์้ และ
การปล้กพืช เป็ นต้น
คร้สามารถจัดการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการวิจัย ตาม
ขั้นตอนหลัก 4 ขั้นตอน ดังนี้

้ ที่ 1
ขัน ตัง
้ คำาถาม คร้จะใช้กระบวนการหรือจัด
สถานการณ์อย่างไรที่จะกระต้้นให้นักเรียนสนใจ เกิดความสงสัย
อยากร้้คำาตอบ เช่น อยากร้้ว่า
- เมล็ดพันธ์้ท่ีมีลักษณะแตกต่างกัน เมล็ดพันธ์้ใดน่ า
จะงอกได้ดีท่ีส้ด
- เมล็ดพันธ์้จะงอกได้ดีต้องอาศัยปั จจัยอะไรบ้าง เช่น
นำ้า แสง อ้ณหภ้มิ ดิน ปุ ้ย
ฯลฯ
้ ที่ 2
ขัน เตรียมการค้นหาคำาตอบ คร้ออกแบบให้
นักเรียนเกิดการเรียนร้้ผ่านกระบวนการทดลอง โดยมีการบ้รณาการ
คณิตศาสตร์ ได้แก่ การเขียนกราฟ การคำานวณ บ้รณาการ
ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ได้แก่ การเขียนคำาศัพท์ บ้รณาการศิลปะ
ได้แก่ การวาดภาพ และบ้รณาการงานเกษตร ได้แก่การคัดเลือก
เมล็ดพันธ์้และการปล้กพืช คร้จัดเตรียมวัสด้อ้ปกรณ์ ได้แก่เมล็ด
พันธ์้จากแหล่ง 3 แหล่ง และกระดาษฟาง ตลอดจนเตรียมความ
พร้อมให้กับนักเรียนโดยฝึ กทักษะการสังเกต การบันทึก การเปรียบ
เทียบข้อม้ล การสร้ป ลงความเห็น และให้นักเรียนนำาความร้้และ
ประสบการณ์เดิมที่เกี่ยวข้องมาคาดคะเนคำาตอบ และออกแบบการ
ทดลอง
้ ที่ 3
ขัน ดำาเนิ นการค้นหาและตรวจสอบคำาตอบ คร้
ให้นักเรียนดำาเนิ นการค้นหาคำาตอบตามกิจกรรมที่เตรียมไว้ในขั้น
ตอนที่ 2 โดยคร้ส่้มเมล็ดพันธ์้มา 100 เมล็ด ให้นักเรียนสังเกต

ลักษณะของเมล็ดพันธ์ท่ีส่้มได้ นำากระดาษฟางมา 1 แผ่น คำานวณ

หาพื้นที่ ตีตาราง 100 ช่อง ใช้กระดาษฟางวางทับ พรมนำ้าให้


ช่้ม ทิ้งไว้ในแสงและอ้ณหภ้มิท่ีพอเหมาะ มีการควบค้มให้ได้รับนำ้า
เท่ากัน แสงเท่ากัน อ้ณหภ้มิเท่ากัน สังเกตการงอก จดบันทึก
วาดลักษณะการเจริญเติบโต บันทึกจำานวนต้นกล้าที่ส่้มมาจาก
แต่ละแหล่งที่งอกขึ้นมาว่าเป็ นอย่างไร เขียนกราฟแสดงการงอก
เปรียบเทียบลักษณะของเมล็ดพันธ์ท่ีงอกและไม่งอก ว่ามีลก ั ษณะ
อย่างไร ส่้มมาจากแหล่งใด ตรวจสอบคำาตอบและปรับปร้งตาม
หลักฐานข้อม้ลที่ปรากฎ จนได้คำาตอบซึ่งเป็ นที่ยอมรับของคร้และ
เพื่อน ๆ
้ ที่ 4
ขัน สรุปและนำาเสนอผลการค้นหาคำาตอบ ให้

นักเรียนสร้ปผลการทดลองเพาะเมล็ดพันธ์้ท่ีมาจากแหล่งต่างกัน 3
แหล่ง และนำาเสนอให้เห็นลำาดับขั้นตอนของการค้นหาคำาตอบ การ
ตรวจสอบ และการปรับปร้ง ด้วยวิธีการนำาเสนอที่น่าสนใจ เหมาะ
กับวัยและระดับการศึกษาของนักเรียน เช่น จัดทำารายงาน จัดป้ าย
นิ เทศ นำาเสนอในร้ปดิจิทัล หรือนำาเสนอโดยวิธีพ้ด วิธีตอบปั ญหา
ตอบข้อสงสัย เป็ นต้น
บทบาทของครูและนักเรียนตามแนวทางที่ 4 (นักเรียน

ใช้กระบวนการวิจัยในการเรียนร้)ู

ตารางที่ ... บทบาทครูและนักเรียนในการจัดการ


เรียนการสอนแบบนักเรียนใช้กระบวนการวิจัย
ในการเรียนรู้
กระบวนการ บทบาทนักเรียน
บทบาทครู
วิจัย
1. ตั้งคำาถาม • คร้กระต้น
้ ความ • คิดประเด็นปั ญหาที่ตน
สนใจของ สนใจ
(Question) นักเรียนให้เกิด • ตั้งคำาถามตามประเด็น
ความสงสัย ใคร่ ปั ญหาที่ตนสนใจ
หาคำาตอบ
• คร้สนับสน้นให้
นักเรียนนำา
คำาถามที่ตรง
ประเด็นของ
ปั ญหา ซึ่งคาดว่า
จะนำาไปส่้การ
ค้นหาคำาตอบ
ของปั ญหาได้ ไป
ทำาการวิจัย
• คร้กระต้้นให้ • นักเรียนสำารวจความร้แ ้ ละ
2. เตรียมการ นักเรียนนึ กถึง ประสบการณ์ท่ีคาดว่าอาจ
ค้นหาคำาตอบ ความร้้หรือ นำาไปส่้การได้มาซึ่งคำา
ประสบการณ์ท่ี ตอบ
(Plan)
คาดว่าเกี่ยวข้อง • นักเรียนคาดคะเนคำาตอบ
กับปั ญหา ตามข้อม้ลที่มีอย่้และ
• คร้ฝึก ออกแบบการทดลองหรือ
กระบวนการวิจัย การสืบค้นข้อม้ลเพื่อตรวจ
ให้แก่นักเรียน สอบคำาตอบ
• คร้ให้นักเรียน • นักเรียนดำาเนิ นการค้นหา
3. ดำาเนิ นการ เรียนร้้ผ่าน คำาตอบ ตามกิจกรรมที่
ค้นหาและ กระบวนการวิจัย ออกแบบไว้ ตรวจสอบ
ตรวจสอบคำา และสังเกต และปรับปร้งจนได้คำาตอบ
พฤติกรรมของ ที่ไม่มีข้อขัดแย้งและไม่ขัด
ตอบ (Action, นักเรียน กับหลักฐานเชิงประจักษ์
Observation • นักเรียนทบทวนขั้นตอน
การค้นหาคำาตอบ การ
& Reflection) • คร้และนักเรียน ตรวจสอบคำาตอบ และ
ร่วมกันอภิปราย การปรับปร้งจนได้คำาตอบ
4. สร้ปและนำา และสร้ป ส้ดท้าย และนำาเสนอใน
เสนอผลการ กระบวนการวิจัย ร้ปแบบที่น่าสนใจ เหมาะ
ค้นหาคำาตอบ และผลการวิจัยที่ สมกับวัย และระดับการ
เกิดขึ้น ศึกษา
(Conclusion • คร้ยกตัวอย่างวิธี
& นำาเสนอ

Presentation)
ตัวอย่างการเรียนรู้โดยนักเรียนใช้กระบวนการวิจัย
นักเรียนใช้กระบวนการวิจัยในการเรียนร้้ คือนักเรียนเป็ นผ้้
ทำาการวิจัย โดยคร้กระต้้นให้นักเรียนเกิดความสงสัย ตั้งคำาถาม
เตรียมการค้นหาคำาตอบ ดำาเนิ นการค้นหาและตรวจสอบคำาตอบ
สร้ปและนำาเสนอผลการค้นหาคำาตอบ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ที่กำาลังเรียนวิทยาศาสตร์
เรื่องตัวนำาความร้อนและฉนวน เกิดความสนใจ และสงสัยว่า บ้าน
เราเป็ นเมืองร้อน ทำาอย่างไรจึงจะให้มีบ้านที่เย็น ๆ
นักเรียนสามารถหาคำาตอบโดยใช้กระบวนการวิจัย ตามขั้น
ตอนหลัก 4 ขั้นตอน ดังนี้

้ ที่ 1
ขัน ตัง
้ คำาถาม เพื่อให้ได้บ้านที่เย็นสบาย นักเรียน
อาจตั้งคำาถาม ดังนี้
- มีวิธีการอย่างไรที่จะทำาให้อิฐที่นำามาสร้างบ้าน
ป้ องกันความร้อนได้ดี

้ ที่ 2
ขัน เตรียมการค้นหาคำาตอบ ความร้้และ
ประสบการณ์เดิมของนักเรียนทำาให้นักเรียนเกิดความคิดขึ้นมาว่า ถ้า
นำาวัสด้เหลือใช้ เช่น เปลือกผลไม้มาช่วย เปลือกผลไม้น่าจะเป็ น
ฉนวนกันความร้อนได้ดี คร้จึงสนับสน้นให้นักเรียนวางแผนเตรียม
การค้นหาคำาตอบเป็ นกล่้ม โดยคร้ทำาหน้าที่ให้คำาปรึกษาแนะนำา
นักเรียนอภิปรายกันถึงเปลือกผลไม้ท่ีน่าจะนำามาใช้ แต่ละกล่้มคาด
คะเนคำาตอบไม่เหมือนกันด้วยเหต้ผลที่ต่างกัน และออกแบบการ
ทดลองกันเอง โดยมีการเลือกใช้เปลือกแตงโม ท้เรียน และเปลือก
ผลไม้รวม
้ ที่ 3
ขัน ดำาเนิ นการค้นหาและตรวจสอบคำาตอบ
นักเรียนแต่ละกล่้มดำาเนิ นการค้นหาคำาตอบตามกิจกรรมที่เตรียมไว้
ในขั้นตอนที่ 2 โดยสับเปลือกผลไม้เข้าเครื่องปั่ นและผสมกับป้น
เทลงบล็อก นำาไปตากแดดแรง ๆ แล้วนำาเทอร์โมมิเตอร์ไปวัด
อ้ณหภ้มิของป้นผสมเปลือกผลไม้ป่ั นในขณะที่ป้นยังไม่ทันแข็งตัว
บันทึกอ้ณหภ้มท ิ ่ีวัดได้ เปรียบเทียบอ้ณหภ้มิของป้นผสมเปลือกผลไม้
ต่างชนิ ดกัน ว่า ชนิ ดใดร้อนมากที่ส้ด ชนิ ดใดร้อนน้อยที่ส้ด นักเรียน
แต่ละกล่้มปรับเปลี่ยนคำาตอบตามหลักฐานข้อม้ลที่ปรากฎจริง ได้
คำาตอบส้ดท้ายเป็ นที่ยอมรับของนักเรียนท้กกล่้ม
้ ที่ 4
ขัน สรุปและนำาเสนอผลการค้นหาคำาตอบ
นักเรียนสร้ปผลที่ได้จากการเปรียบเทียบอ้ณหภ้มิของป้นผสมเปลือก
ผลไม้ป่ั นต่างชนิ ดกันในขั้นที่ 3 และนำาเสนอให้เห็นลำาดับขั้นตอน
ของการค้นหาคำาตอบ การตรวจสอบและปรับปร้งคำาตอบ ด้วยวิธี
การนำาเสนอที่น่าสนใจ เหมาะกับวัยและระดับการศึกษาเช่น จัดทำา
รายงาน จัดป้ ายนิ เทศ นำาเสนอโดยวิธีตอบปั ญหา หรือ นำาเสนอใน
แบบดิจิทัล วีดิทัศน์ เป็ นต้น

You might also like